SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เปดประตูสู O-Net
    นองๆนักเรียนมัธยมปลาย เตรียมตัวสําหรับที่จะสอบ O-Net ในเดือน กุมภาพันธ หรือ
มีนาคม กันหรือยัง ถายังลองเตรียมตัวกับMath House ในวิชาคณิตศาสตร นองๆคงได
แนวทางกับ โจทยแนว O-Net อยางจุใจ

               ขอบเขตของเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร ในการทดสอบ O-Net
                         กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
           ( ตามสาระการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาขั้นพืนฐาน พ.ศ. 2544)
                                                       ้
   1. เซต
      1.1 สับเซตและเพาเวอรเซต
      1.2 ยูเนียน อินเตอรเซกชันและคอมพลีเมนตของเซต
   2. การใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย
   3. จํานวนจริง
      3.1 สมบัติการบวกและการคูณของจํานวนจริง
      3.2 การแกสมการกําลังสองหนึงตัวแปร
                                       ่
      3.3 คาสัมบูรณ
      3.4 การแกอสมการ
      3.5 รากที่n ของจํานวนจริง
      3.6 เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ
   4. ความสัมพันธและฟงกชัน
      4.1 ความสัมพันธและฟงกชัน
      4.2 ฟงกชนเชิงเสน
                   ั
      4.3 ฟงกชนกําลังสอง
                     ั
      4.4 การแกสมการและอสมการโดยใชกราฟ
      4.5 ฟงกชนเอกซโพเนนเชียล
                       ั
      4.6 ฟงกชนคาสัมบูรณ
                         ั
   5. อัตราสวนตรีโกณมิติ
   6. ลําดับและอนุกรม
      6.1 ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต
      6.2 อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
7. ความนาจะเปน
          7.1 กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
          7.2 ความนาจะเปน
       8. สถิติ
          8.1 สถิติและขอมูล
          8.2 การแจกแจงความถี่ของขอมูล
          8.3 การวัดตําแหนงที่ของขอมูล
          8.4 การวัดคากลางของขอมูล
          8.5 การวัดการกระจายของขอมูล
          8.6 การสํารวจความคิดเห็น

           ตารางวิเคราะหขอสอบ O-Net
           เรื่อง                     ปพ.ศ.2549                     ปพ.ศ. 2550
                            ตอนที่1(ปรนัย) ตอนที่2(อัตนัย) ตอนที่1(ปรนัย) ตอนที่2 (ปรนัย)
1. เซต                             2              1               2               1
2. การใหเหตุผลแบบอุปนัยและ        1              -               -               1
   นิรนัย
3. จํานวนจริงและเลขยกกําลัง        6              1               6               4
4. ความสัมพันธและฟงกชน
                        ั          4              2               2               3
5. อัตราสวนตรีโกณมิติ             3              2               1               2
6. ลําดับและอนุกรม                 6              -               2               2
7. ความนาจะเปน                   1              3               1               2
8. สถิติ                           9              1               6               5

           หมายเหตุ : ขอสอบตอนที่ 2
           1) ปพ.ศ. 2549 เปนขอสอบเติมคําตอบ
           2) ปพ.ศ. 2550 เปนขอสอบแบบเลือกตอบ
สรุปประเด็นสําคัญเตรียมสอบ O-Net เรื่อง เซต
                                       รวบรวมโดย อาจารยสมบูรณ ลักษณะวิมล
                                                     อาจารยประจํา สาขาพระรามสอง

   1 ถา A มีสมาชิก n ตัว สับเซตของ A ทั้งหมด = 2n เซต
                      และ สับเซตแท           = 2n – 1 เซต

   2 การกระทําของเซต
                   A∪B = { x | x ∈A ∨ x∈B}
                   A∩B = { x | x ∈A ∧ x∈B}
                   A – B = { x | x ∈A ∧ x∉B}
                   A′ = { x | x ∈U ∧ x∉A}

   3 คุณสมบัติที่ตองทราบ
                 (1) P(A) ∪P(B)⊂P(A∪B) และ
                 (2) P(A) ∩P(B) = P(A∩B)
                 (3) A∩ (B∪C) = (A∩B) ∪ (A∩C)
                 (4) A ∪ (B∩C) = (A∪B) ∩ (A∪C)
                 (5) (A∩B)′ = A′∪B′ , (A∪B)′ = A′∩B′
                 (6) A – B = A ∩B′ = B′– A′
                 (7) A∩ (A∪B) = A , A ∪ (A∩B) = A
                 (8) A∩ (A′∪B) = A∩B
                 (9) A∪ (A′∩B) = A∪B
                 (10)(A∪B) ∩ (A∪B′) = A
                 (11)(A∩B) ∪ (A∩B′) = A

4 จํานวนสมาชิกของเซต
      n (A∪B∪C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A∩B) – n(A∩C) – n(B∩C) + n(A∩B∩C)
5 สมบัติเกี่ยวกับเซตที่หามลืม
    (1) สมบัติเกี่ยวกับสับเซต
          A⊂B ก็ตอเมือ A∩B = A
                        ่
          A⊂B ก็ตอเมือ A∪B = B
                          ่
          A⊂B ก็ตอเมือ B′⊂A′
                            ่

      (2) สมบัติเกี่ยวกับการกระทํา
          A∪B = φ ก็ตอเมื่อ A= φ และ B= φ
                           
          A∩B = φ ก็ตอเมื่อ A⊂B′ และ B⊂A′
                             
          A – B = φ ก็ตอเมื่อ A⊂B
                         
      (3) สมบัติของเพาเวอรเซต เมื่อ A , B เปนเซตใด ๆ
              1.) x ∈P(A) ↔ x ⊂A
              2.) φ ∈ P(A) และ A∈ P(A)
              3.) φ ⊂ P(A) , {φ}⊂ P(A) และ {A} ⊂ P(A)
              4.) ถาเซต A มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n ตัว
      (4) ให A = {1 , 2 , 3 , … , m} และ B = { 1 , 2 , 3 , … , n} โดยที่ m < n
              1.) ถา A⊂ X⊂B จะมีเซต X ได = 2n-m เซต
              2.) ถา A ∩ X ≠ φ และ X ⊂B จะมีเซต X ได = 2n – 2n-m เซต
      (5) n(A – B) = n(A) – n(A∩B)
      (6) n(A∪B) ′ = n(U) – n(A∪B)
      (7) n[P(A) – P(B)] = n[P(A)] – n[P(A∩B)]
แนวขอสอบเรื่อง เซต
                                       รวบรวมโดย อาจารยสมบูรณ ลักษณะวิมล
                                                             อาจารยประจํา สาขาพระรามสอง

1. กําหนด A , B , C และ D เปนเซตใดๆ (A∩B) – (C∪D) เทากับเซตในขอใด
        1. (A – B) ∩ (C – D)            2. (A – B) ∩ (D – C)
        3. (A – C) ∩ (B – D)            4. (A – C) ∩ (D – B)

แนวคิด        Q(A∩B) – (C∪D) =           (A∩B) ∩ (C∪D )′
                             =           (A∩B) ∩ ( C′ ∩ D′ )
                             =           (A∩ C′ ) ∩ (B ∩ D′ )
              ∴(A∩B) – (C∪D) =           (A – C) ∩ (B - D)



2. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ จงพิจารณาขอความตอไปนี้
                ก. ถา A∩B = φ แลว A ⊂ B′
                ข. ถา A∩B = φ แลว B′ ⊂ A′
   ขอใดสรุปถูกตอง
        1. ก. ถูก และ ข ผิด                2. ก. ผิด และ ข. ถูก
        3. ก. และ ข. ถูก                   4. ก. และ ข. ผิด

แนวคิด        เนื่องจาก A∩B = φ พิจารณาแผนภาพดังนี้
                A                    B               A                     B




                                 A                       B




              จะพบวา A ⊂ B′ แต B′ ⊄ A′
3. กําหนด A = {0, {0}, φ, {φ}, 1} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A
      จํานวนสมาชิกของ P(A) – A เทากับเทาใด
      1. 29                 2. 30                 3. 31                   4. 32

แนวคิด        Q            n(A) = 5
              จะได        n(P(A)) = 25 = 32                ⎯1
              แต A และ P(A) มีสมาชิกซ้ํากัน 3 ตัวคือ {0}, φ, {φ}
              ∴            n(P(A) ∩ A) = 3                  ⎯2
              เนื่องจาก    n[P(A) – A] = n(P(A)) – n(P(A) ∩ A)
              ดังนั้น      n[P(A) – A] = 32 – 3 = 29 ตัว



4. กําหนดให A และ B เปนเซตจํากัดโดยที่ n(A ∪ B) = 67 และ n[(A – B)∪(B – A)] = 58
   ถา n(A) = 32 แลว n(B) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
        1. 28                  2. 35                 3. 39             4. 44

แนวคิด        จากแผนภาพเวนน – ออยเลอร
              จะพบวา n(A ∪ B) = n[(A – B) ∪ (B – A)] + n(A∩B)
                                                                 U
                                       A                     B

                                           A-B         B-A



                                                 A∩B
              แทนคาจะได   67               =   58 + n(A ∩B)
                       ∴    n(A ∩B)          =   67 – 58 = 9         ⎯∗
              เนื่องจาก     n(A ∪ B)         =   n(A) + n(B) - n(A ∩ B)
              จะได         67               =   32 + n(B) – 9
              ดังนั้น       n(B)             =   67 – 32 + 9 = 44
5. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
        1. มีเซตบางเซตไมมีสับเซตแท
        2. ถา A = {1, {1, 2}, φ} แลว A ∩ P(A) ≠ φ
        3. P(φ)∩ P(P(φ)) = φ
        4. มีเซต A ที่ทําใหจํานวนสมาชิกของ P(A) เปนจํานวนเฉพาะ

แนวคิด           พิจารณาแตละขอดังนี้
                 ขอ1 ถูกตอง เพราะวา ถา A = φ จะพบวาสับเซตของ A คือ φ
                        ซึ่งไมใชสับเซตแท
                 ขอ2 ถูกตอง เพราะวา A = {1, {1, 2}, φ}
                        จะได              P(A) = {φ, {1}, {{1, 2}}, {φ}, {1,{1, 2}}, {1, φ},
                                                  {{1, 2}, φ}, {1,{1, 2}, φ}}
                        จะพบวา A ∩ P(A) = {φ} ≠ φ
                 ขอ3 ไมถูกตอง เพราะวา
                                         P(φ) = {φ}
                                       P(P(φ)) = {φ, {φ}}
                        ดังนั้น P(φ)∩P(P(φ) = {φ} ≠ φ
                 ขอ4 ถูกตอง เพราะวา
                        ถา              A      = {1} → A มีสมาชิก 1 ตัว
                        ∴ P(A) มีสมาชิก = 2 = 2 ตัว
                        แสดงวา จํานวนสมาชิกเปนจํานวนเฉพาะ

6. ใหเอกภพสัมพัทธ U = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9} ถา A ∪ B = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7}
    และ A′ = {4 , 6 , 8 , 9} จํานวนสมาชิกของ B – A เทากับขอใด
        1. 1                     2. 2                         3. 3                    4. 4

แนวคิด           จาก U             = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7, 8 , 9}
                 และ A′            = {4 , 6 , 8 , 9}
                 จะได A           = {1 , 2 , 3 , 5 , 7}         ⎯∗
                 จาก A ∪ B         = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7}
                 จะได B – A       = {4 , 6}                     ⎯∗
                 ดังนั้น B – A     มีสมาชิก 2 ตัว
7. จากการสัมภาษณผูชมรายการโทรทัศนจํานวน 220 คน พบวา
                 มี 140 คน ชอบดูรายการ          “เกมสโชว”
                 มี 110 คน ชอบดูรายการ          “เกมสเศรษฐี”
                 มี 105 คน ชอบดูรายการ          “ตีสิบ”
                 มี 45 คน ชอบดูทั้งรายการ “เกมสโชว” และ “ตีสิบ”
                 มี 40 คน ชอบดูทั้งรายการ “เกมสโชว” และ “เกมสเศรษฐี”
                 มี 15 คน ชอบดูทั้งสามรายการ
   ถาไมมีผูชมคนใดที่ไมชอบดูทั้งสามรายการเลย จงหาจํานวนผูชมรายการโทรทัศนที่ชอบดู
   รายการดังกลาวอยางนอยสองรายการ
        1. 80 คน                  2. 110 คน             3. 120 คน           4. 130 คน

แนวคิด        ให    A แทนเซตของผูชมรายการ “เกมสโชว”
                           ∴n(A) = 140
                     B แทนเซตของผูชมรายการ “เกมสเศรษฐี”
                           ∴n(B) = 110
                     C แทนเซตของผูชมรายการ “ตีสิบ”
                           ∴n(C) = 105
              จะได n(A∩ B) = 40, n(A ∩ C) = 45, n(A∩B∩C) = 15
              เขียนแผนภาพไดดังรูป
                                       A(140)                          B(110)
                                                          25       a
                                                          15
                                                     30        b
                                                          c
                                            C(105)
                                                                       U(220)

              จากแผนภาพ      a+b+c            = 80
              แต            a+b              = 70
              ∴              c                = 10
              จะได          b                = n(C) – c – 30 – 15
                                              = 105 – 10 – 45
                                              = 50
              ดังนั้น ผูชมรายการโทรทัศนที่ชอบดูรายการอยางนอยสองรายการเทากับ
                      30 + 15 + 25 + 50 = 120 คน
8. จากการสํารวจการประกอบอาชีพการประมงทําสวนยางพาราและทําสวนผลไมของชาวบานใน
   หมูบานแหงหนึ่งของจังหวัดระยอง ซึ่งมีอยูทั้งหมด 108 ครอบครัวพบวา
                มี 38 ครอบครัว ไมไดประกอบอาชีพทั้งสามนี้
                มี 16 ครอบครัว ที่ประกอบอาชีพทั้งสามนี้
                มี 29 ครอบครัว ที่ประกอบอาชีพเพียงอยางเดียวในสามอยางนี้
   ขอใดตอไปนี้เปนจํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองในสามอยางนี้
         1. 25                  2. 41                    3. 45            4. 63

แนวคิด          ให     U แทนเซตของครอบครัวทั้งหมด
                               ∴n(U) = 108
                        A แทนเซตของครอบครัวที่ไมไดประกอบอาชีพนี้
                               ∴n(A) = 38
                        B แทนเซตของครอบครัวที่ประกอบอาชีพนี้ 1 อยาง
                               ∴n(B) = 29
                        C แทนเซตของครอบครัวที่ประกอบอาชีพนี้อยางนอย 2 ใน 3 อยางนี้
                จะได n(U) = n(A) + n(B) + n(C)
                ∴ n(C) = 108 – 38 - 29
                             = 41
                ดังนั้น จํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองในสามอยางนี้เทากับ
                        41 ครอบครัว

9. นักการเมืองกลุมหนึ่งมี 50 คน แตละคนมีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรหรือสังคมศาสตร
   หรือศิลปศาสตรอยางนอยหนึ่งดาน จากแฟมประวัตพบอีกวามี 33 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษา
                                                  ิ
   ดานสังคมศาสตรและในจํานวนนี้มี 8 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษาทางดานวิทยาศาสตรดวย
   มี 17 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษาทางดานศิลปศาสตรและในจํานวนนี้มี 2 คน ทีมีพื้นฐาน
                                                                               ่
   การศึกษาทางดานวิทยาศาสตรดวย ถาไมปรากฏวามีผูที่มีพื้นฐานการศึกษาทั้งดานสังคมศาสตร
   และศิลปศาสตรแลว นักการเมืองที่มีพนฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรมีกี่คน
                                       ื้
        1. 25 คน                2. 20 คน                 3. 18 คน                4. 10 คน

แนวคิด          ให     A แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตร
                        B แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานสังคมศาสตร
                        C แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานศิลปศาสตร
เขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรไดดังนี้

                                      B (33)               C (17)
                                                     0
                                                     0 2
                                                   8


                                               A
                                                                U

              จากแผนภาพ
                       จะเห็นไดวานักการเมืองที่มพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรอยางเดียว
                                                  ี
                       มี 50 – 33 – 17 = 0 คน
              ดังนั้น นักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรมี 0 + 8 + 2 = 10 คน



10. นักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 50 คน แตละคนตองเรียนวิชาคณิตศาสตรหรือวิชาภาษาอังกฤษ
    อยางนอย 1 วิชา ถามีนักเรียนเรียนวิชาคณิตศาสตร 29 คน และเรียนภาษาอังกฤษ 32 คน
    แลวจํานวนนักเรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษมีจํานวนเทากับขอใด
        1. 11 คน                 2. 13 คน               3. 14 คน            4. 15 คน

แนวคิด        ให      A แทนเซตของนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร
                              ∴ n(A) = 29
                       B แทนเซตของนักเรียนที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ
                              ∴ n(B) = 32
              เมื่อ n(A ∪ B)            = 50 คน ตองการหา n(A ∩B) = ?
              จาก n(A ∪ B)              = n(A) + n(B) - n(A ∩B)
              แทนคาจะได 50            = 29 + 32 - n(A ∩B)
              ∴ n(A ∩B)                 = 29 + 32 – 50 = 11
              ดังนั้น จํานวนนักเรียนที่เรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษมีเทากับ 11 คน
เก็งแนวขอสอบ O-Net เรือง เซต
                                              ่

1. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U เดียวกัน
        ขอใดตอไปนีถูก
                     ้
        1. ถา A ∩ B = φ แลว A = φ และ B = φ
        2. ถา A ∪ B = φ แลวไมจําเปนที่ A = φ และ B = φ
        3. ถา A - B = φ แลว A = φ และ B = φ
        4. ถา A ∩ B = A ∪ B แลว A = B

2. ถาสับเซตทั้งหมดของเซต A คือ φ, {1}, {2}, {1, 2}
   และสับเซตทั้งหมดของ B คือ φ, {2}, {3}, {2, 3}
         แลว A ∩B คือเซตในขอใด
         1. φ                 2. {1}                3. {2}                 4. {3}

3. กําหนด A และ B เปนเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน โดย n(A∩B) = 2 และ n(A∪B) = 10
    แลวขอใดตอไปนี้เปนจํานวนสมาชิกของ B – A
        1. 3 ตัว               2. 4 ตัว             3. 5 ตัว           4. 6 ตัว

4. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้
                ก. n(A∩B) = n(A) + n(B) – n(A ∪ B)
                ข. n(A∪B) = n(A - B) + n(A∩ B) + n(B – A)
    ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
        1. ขอ ก. และ ขอ ข. ถูก                   2. ขอ ก. ผิด และ ขอ ข. ถูก
        3. ขอ ก. ถูก และ ขอ ข. ผิด               4. ขอ ก. และ ขอ ข. ผิด

5. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ ถา n(A ∪ B) = 10, n(A - B) = 3 และ n(B - A) = 5
    แลว n(A ∩B) เทากับขอใดตอไปนี้
        1. 1                 2. 2               3. 3                  4. 4
6. กําหนด A , B และ C เปนเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U เดียวกัน และ n(A) = 50 ,
     n(B) = 40 , n(C) = 30 , n(A ∩B) = 15 , n(B∩C) = 13 , n(A∩C) = 17
    และ n(A ∪ B ∪ C) = 80 จงหา n(A ∩B∩C)
        1. 5                   2. 6               3. 7                 4. 8

7. ถา A , B เปนเซตอนันตและ C เปนเซตจํากัด แลวเซตในขอใดตอไปนี้เปนเซตอนันต
        1. (A ∩ C) ∪ (B ∩C)                          2. A ∪ (B∩C)
        3. (C - B) ∪ (C - A)                         4. (A∪B)∩C

8. ให A = {φ, 0, 1, {1}} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A
        B คือคอมพลีเมนตของ A และ
        C คือคอมพลีเมนตของ P(A)
    จํานวนสมาชิกของ ( B′ ∩C) ∪ (B∩ C′ ) เทากับขอใด
        1. 12                2. 14                 3. 16                        4. 20

9. ในสํานักงานกาชาดสากลแหงหนึ่งมีเจาที่ 18 คน แตละคนพูดภาษารัสเซีย หรือ ภาษาอังกฤษ
    หรือ ภาษาฝรั่งเศส มีเพียงคนเดียวที่พดภาษารัสเซีย ภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษไดทั้งสาม
                                        ู
    ภาษา มี 3 คนพูดภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษได มี 13 คนที่พูดภาษารัสเซียได และใน
    13 คนนี้มี 5 คนที่พูดภาษาอังกฤษได มี 9 คนทีพูดภาษาฝรั่งเศสได ไมมีเจาหนาที่คนใดที่
                                                   ่
    พูดภาษาอังกฤษไดเพียงภาษาเดียว มีเจาหนาทีกี่คนที่พูดภาษาฝรั่งเศสไดเพียงภาษาเดียว
                                                ่
        1. 2                   2. 3                    3. 4                     4. 5

10. ในการสํารวจนักเรียนทีไดฝกหัดวายน้ําเปน 3 เดือนมาแลว จํานวน 40 คน พบวาวายน้ํา
                           ่
    ทากบได 20 คน วายน้าทาผีเสื้อได 19 คน และวายไมไดไมวาทากบหรือทาผีเสื้อ 7 คน
                             ํ
    มีนักเรียนทั้งหมดกี่คนทีสามารถวายน้าไดทั้งทากบและทาผีเสื้อ
                               ่         ํ
         1. 4                    2. 6                   3. 8                     4. 10
เฉลยเก็งแนวขอสอบ O-Net เรื่อง เซต


     1. ขอ 4   2. ขอ 3   3. ขอ 2   4. ขอ 1   5. ขอ 2
     6. ขอ 1   7. ขอ 2   8. ขอ 3   9. ขอ 2   10. ขอ 2




     พบกับเฉลยละเอียดไดที่…
     MATH HOUSE โทร 02-413-2556 -7

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4พัน พัน
 
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลายCoo Ca Nit Sad
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์kruthanapornkodnara
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามsawed kodnara
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงkroojaja
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายpeter dontoom
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นทับทิม เจริญตา
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 

Was ist angesagt? (20)

เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น(การหารลงตัว)ระดับชั้น ม.4
 
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริงค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
ค่ารากที่ N ของจำนวนจริง
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 

Andere mochten auch

ข้อสอบโอเน็ต51
ข้อสอบโอเน็ต51ข้อสอบโอเน็ต51
ข้อสอบโอเน็ต51junji jun
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2ทับทิม เจริญตา
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กNichaya100376
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 

Andere mochten auch (6)

ข้อสอบโอเน็ต51
ข้อสอบโอเน็ต51ข้อสอบโอเน็ต51
ข้อสอบโอเน็ต51
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 

Ähnlich wie แนวข้อสอบ

Ähnlich wie แนวข้อสอบ (20)

O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
Pat1 มีค57
Pat1 มีค57 Pat1 มีค57
Pat1 มีค57
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
Set
SetSet
Set
 
Set
SetSet
Set
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
Integer
IntegerInteger
Integer
 
Integer
IntegerInteger
Integer
 
Brandssummercamp 2012 feb55_math
Brandssummercamp 2012 feb55_mathBrandssummercamp 2012 feb55_math
Brandssummercamp 2012 feb55_math
 
Set problem2 p
Set problem2 pSet problem2 p
Set problem2 p
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 

แนวข้อสอบ

  • 1. เปดประตูสู O-Net นองๆนักเรียนมัธยมปลาย เตรียมตัวสําหรับที่จะสอบ O-Net ในเดือน กุมภาพันธ หรือ มีนาคม กันหรือยัง ถายังลองเตรียมตัวกับMath House ในวิชาคณิตศาสตร นองๆคงได แนวทางกับ โจทยแนว O-Net อยางจุใจ ขอบเขตของเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร ในการทดสอบ O-Net กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ( ตามสาระการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาขั้นพืนฐาน พ.ศ. 2544) ้ 1. เซต 1.1 สับเซตและเพาเวอรเซต 1.2 ยูเนียน อินเตอรเซกชันและคอมพลีเมนตของเซต 2. การใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย 3. จํานวนจริง 3.1 สมบัติการบวกและการคูณของจํานวนจริง 3.2 การแกสมการกําลังสองหนึงตัวแปร ่ 3.3 คาสัมบูรณ 3.4 การแกอสมการ 3.5 รากที่n ของจํานวนจริง 3.6 เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ 4. ความสัมพันธและฟงกชัน 4.1 ความสัมพันธและฟงกชัน 4.2 ฟงกชนเชิงเสน ั 4.3 ฟงกชนกําลังสอง ั 4.4 การแกสมการและอสมการโดยใชกราฟ 4.5 ฟงกชนเอกซโพเนนเชียล ั 4.6 ฟงกชนคาสัมบูรณ ั 5. อัตราสวนตรีโกณมิติ 6. ลําดับและอนุกรม 6.1 ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต 6.2 อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
  • 2. 7. ความนาจะเปน 7.1 กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 7.2 ความนาจะเปน 8. สถิติ 8.1 สถิติและขอมูล 8.2 การแจกแจงความถี่ของขอมูล 8.3 การวัดตําแหนงที่ของขอมูล 8.4 การวัดคากลางของขอมูล 8.5 การวัดการกระจายของขอมูล 8.6 การสํารวจความคิดเห็น ตารางวิเคราะหขอสอบ O-Net เรื่อง ปพ.ศ.2549 ปพ.ศ. 2550 ตอนที่1(ปรนัย) ตอนที่2(อัตนัย) ตอนที่1(ปรนัย) ตอนที่2 (ปรนัย) 1. เซต 2 1 2 1 2. การใหเหตุผลแบบอุปนัยและ 1 - - 1 นิรนัย 3. จํานวนจริงและเลขยกกําลัง 6 1 6 4 4. ความสัมพันธและฟงกชน ั 4 2 2 3 5. อัตราสวนตรีโกณมิติ 3 2 1 2 6. ลําดับและอนุกรม 6 - 2 2 7. ความนาจะเปน 1 3 1 2 8. สถิติ 9 1 6 5 หมายเหตุ : ขอสอบตอนที่ 2 1) ปพ.ศ. 2549 เปนขอสอบเติมคําตอบ 2) ปพ.ศ. 2550 เปนขอสอบแบบเลือกตอบ
  • 3. สรุปประเด็นสําคัญเตรียมสอบ O-Net เรื่อง เซต รวบรวมโดย อาจารยสมบูรณ ลักษณะวิมล อาจารยประจํา สาขาพระรามสอง 1 ถา A มีสมาชิก n ตัว สับเซตของ A ทั้งหมด = 2n เซต และ สับเซตแท = 2n – 1 เซต 2 การกระทําของเซต A∪B = { x | x ∈A ∨ x∈B} A∩B = { x | x ∈A ∧ x∈B} A – B = { x | x ∈A ∧ x∉B} A′ = { x | x ∈U ∧ x∉A} 3 คุณสมบัติที่ตองทราบ (1) P(A) ∪P(B)⊂P(A∪B) และ (2) P(A) ∩P(B) = P(A∩B) (3) A∩ (B∪C) = (A∩B) ∪ (A∩C) (4) A ∪ (B∩C) = (A∪B) ∩ (A∪C) (5) (A∩B)′ = A′∪B′ , (A∪B)′ = A′∩B′ (6) A – B = A ∩B′ = B′– A′ (7) A∩ (A∪B) = A , A ∪ (A∩B) = A (8) A∩ (A′∪B) = A∩B (9) A∪ (A′∩B) = A∪B (10)(A∪B) ∩ (A∪B′) = A (11)(A∩B) ∪ (A∩B′) = A 4 จํานวนสมาชิกของเซต n (A∪B∪C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A∩B) – n(A∩C) – n(B∩C) + n(A∩B∩C)
  • 4. 5 สมบัติเกี่ยวกับเซตที่หามลืม (1) สมบัติเกี่ยวกับสับเซต A⊂B ก็ตอเมือ A∩B = A ่ A⊂B ก็ตอเมือ A∪B = B ่ A⊂B ก็ตอเมือ B′⊂A′ ่ (2) สมบัติเกี่ยวกับการกระทํา A∪B = φ ก็ตอเมื่อ A= φ และ B= φ  A∩B = φ ก็ตอเมื่อ A⊂B′ และ B⊂A′  A – B = φ ก็ตอเมื่อ A⊂B  (3) สมบัติของเพาเวอรเซต เมื่อ A , B เปนเซตใด ๆ 1.) x ∈P(A) ↔ x ⊂A 2.) φ ∈ P(A) และ A∈ P(A) 3.) φ ⊂ P(A) , {φ}⊂ P(A) และ {A} ⊂ P(A) 4.) ถาเซต A มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n ตัว (4) ให A = {1 , 2 , 3 , … , m} และ B = { 1 , 2 , 3 , … , n} โดยที่ m < n 1.) ถา A⊂ X⊂B จะมีเซต X ได = 2n-m เซต 2.) ถา A ∩ X ≠ φ และ X ⊂B จะมีเซต X ได = 2n – 2n-m เซต (5) n(A – B) = n(A) – n(A∩B) (6) n(A∪B) ′ = n(U) – n(A∪B) (7) n[P(A) – P(B)] = n[P(A)] – n[P(A∩B)]
  • 5. แนวขอสอบเรื่อง เซต รวบรวมโดย อาจารยสมบูรณ ลักษณะวิมล อาจารยประจํา สาขาพระรามสอง 1. กําหนด A , B , C และ D เปนเซตใดๆ (A∩B) – (C∪D) เทากับเซตในขอใด 1. (A – B) ∩ (C – D) 2. (A – B) ∩ (D – C) 3. (A – C) ∩ (B – D) 4. (A – C) ∩ (D – B) แนวคิด Q(A∩B) – (C∪D) = (A∩B) ∩ (C∪D )′ = (A∩B) ∩ ( C′ ∩ D′ ) = (A∩ C′ ) ∩ (B ∩ D′ ) ∴(A∩B) – (C∪D) = (A – C) ∩ (B - D) 2. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา A∩B = φ แลว A ⊂ B′ ข. ถา A∩B = φ แลว B′ ⊂ A′ ขอใดสรุปถูกตอง 1. ก. ถูก และ ข ผิด 2. ก. ผิด และ ข. ถูก 3. ก. และ ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด แนวคิด เนื่องจาก A∩B = φ พิจารณาแผนภาพดังนี้ A B A B A B จะพบวา A ⊂ B′ แต B′ ⊄ A′
  • 6. 3. กําหนด A = {0, {0}, φ, {φ}, 1} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A จํานวนสมาชิกของ P(A) – A เทากับเทาใด 1. 29 2. 30 3. 31 4. 32 แนวคิด Q n(A) = 5 จะได n(P(A)) = 25 = 32 ⎯1 แต A และ P(A) มีสมาชิกซ้ํากัน 3 ตัวคือ {0}, φ, {φ} ∴ n(P(A) ∩ A) = 3 ⎯2 เนื่องจาก n[P(A) – A] = n(P(A)) – n(P(A) ∩ A) ดังนั้น n[P(A) – A] = 32 – 3 = 29 ตัว 4. กําหนดให A และ B เปนเซตจํากัดโดยที่ n(A ∪ B) = 67 และ n[(A – B)∪(B – A)] = 58 ถา n(A) = 32 แลว n(B) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 28 2. 35 3. 39 4. 44 แนวคิด จากแผนภาพเวนน – ออยเลอร จะพบวา n(A ∪ B) = n[(A – B) ∪ (B – A)] + n(A∩B) U A B A-B B-A A∩B แทนคาจะได 67 = 58 + n(A ∩B) ∴ n(A ∩B) = 67 – 58 = 9 ⎯∗ เนื่องจาก n(A ∪ B) = n(A) + n(B) - n(A ∩ B) จะได 67 = 32 + n(B) – 9 ดังนั้น n(B) = 67 – 32 + 9 = 44
  • 7. 5. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง 1. มีเซตบางเซตไมมีสับเซตแท 2. ถา A = {1, {1, 2}, φ} แลว A ∩ P(A) ≠ φ 3. P(φ)∩ P(P(φ)) = φ 4. มีเซต A ที่ทําใหจํานวนสมาชิกของ P(A) เปนจํานวนเฉพาะ แนวคิด พิจารณาแตละขอดังนี้ ขอ1 ถูกตอง เพราะวา ถา A = φ จะพบวาสับเซตของ A คือ φ ซึ่งไมใชสับเซตแท ขอ2 ถูกตอง เพราะวา A = {1, {1, 2}, φ} จะได P(A) = {φ, {1}, {{1, 2}}, {φ}, {1,{1, 2}}, {1, φ}, {{1, 2}, φ}, {1,{1, 2}, φ}} จะพบวา A ∩ P(A) = {φ} ≠ φ ขอ3 ไมถูกตอง เพราะวา P(φ) = {φ} P(P(φ)) = {φ, {φ}} ดังนั้น P(φ)∩P(P(φ) = {φ} ≠ φ ขอ4 ถูกตอง เพราะวา ถา A = {1} → A มีสมาชิก 1 ตัว ∴ P(A) มีสมาชิก = 2 = 2 ตัว แสดงวา จํานวนสมาชิกเปนจํานวนเฉพาะ 6. ใหเอกภพสัมพัทธ U = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9} ถา A ∪ B = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7} และ A′ = {4 , 6 , 8 , 9} จํานวนสมาชิกของ B – A เทากับขอใด 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 แนวคิด จาก U = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7, 8 , 9} และ A′ = {4 , 6 , 8 , 9} จะได A = {1 , 2 , 3 , 5 , 7} ⎯∗ จาก A ∪ B = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7} จะได B – A = {4 , 6} ⎯∗ ดังนั้น B – A มีสมาชิก 2 ตัว
  • 8. 7. จากการสัมภาษณผูชมรายการโทรทัศนจํานวน 220 คน พบวา มี 140 คน ชอบดูรายการ “เกมสโชว” มี 110 คน ชอบดูรายการ “เกมสเศรษฐี” มี 105 คน ชอบดูรายการ “ตีสิบ” มี 45 คน ชอบดูทั้งรายการ “เกมสโชว” และ “ตีสิบ” มี 40 คน ชอบดูทั้งรายการ “เกมสโชว” และ “เกมสเศรษฐี” มี 15 คน ชอบดูทั้งสามรายการ ถาไมมีผูชมคนใดที่ไมชอบดูทั้งสามรายการเลย จงหาจํานวนผูชมรายการโทรทัศนที่ชอบดู รายการดังกลาวอยางนอยสองรายการ 1. 80 คน 2. 110 คน 3. 120 คน 4. 130 คน แนวคิด ให A แทนเซตของผูชมรายการ “เกมสโชว” ∴n(A) = 140 B แทนเซตของผูชมรายการ “เกมสเศรษฐี” ∴n(B) = 110 C แทนเซตของผูชมรายการ “ตีสิบ” ∴n(C) = 105 จะได n(A∩ B) = 40, n(A ∩ C) = 45, n(A∩B∩C) = 15 เขียนแผนภาพไดดังรูป A(140) B(110) 25 a 15 30 b c C(105) U(220) จากแผนภาพ a+b+c = 80 แต a+b = 70 ∴ c = 10 จะได b = n(C) – c – 30 – 15 = 105 – 10 – 45 = 50 ดังนั้น ผูชมรายการโทรทัศนที่ชอบดูรายการอยางนอยสองรายการเทากับ 30 + 15 + 25 + 50 = 120 คน
  • 9. 8. จากการสํารวจการประกอบอาชีพการประมงทําสวนยางพาราและทําสวนผลไมของชาวบานใน หมูบานแหงหนึ่งของจังหวัดระยอง ซึ่งมีอยูทั้งหมด 108 ครอบครัวพบวา มี 38 ครอบครัว ไมไดประกอบอาชีพทั้งสามนี้ มี 16 ครอบครัว ที่ประกอบอาชีพทั้งสามนี้ มี 29 ครอบครัว ที่ประกอบอาชีพเพียงอยางเดียวในสามอยางนี้ ขอใดตอไปนี้เปนจํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองในสามอยางนี้ 1. 25 2. 41 3. 45 4. 63 แนวคิด ให U แทนเซตของครอบครัวทั้งหมด ∴n(U) = 108 A แทนเซตของครอบครัวที่ไมไดประกอบอาชีพนี้ ∴n(A) = 38 B แทนเซตของครอบครัวที่ประกอบอาชีพนี้ 1 อยาง ∴n(B) = 29 C แทนเซตของครอบครัวที่ประกอบอาชีพนี้อยางนอย 2 ใน 3 อยางนี้ จะได n(U) = n(A) + n(B) + n(C) ∴ n(C) = 108 – 38 - 29 = 41 ดังนั้น จํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองในสามอยางนี้เทากับ 41 ครอบครัว 9. นักการเมืองกลุมหนึ่งมี 50 คน แตละคนมีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรหรือสังคมศาสตร หรือศิลปศาสตรอยางนอยหนึ่งดาน จากแฟมประวัตพบอีกวามี 33 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษา ิ ดานสังคมศาสตรและในจํานวนนี้มี 8 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษาทางดานวิทยาศาสตรดวย มี 17 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษาทางดานศิลปศาสตรและในจํานวนนี้มี 2 คน ทีมีพื้นฐาน ่ การศึกษาทางดานวิทยาศาสตรดวย ถาไมปรากฏวามีผูที่มีพื้นฐานการศึกษาทั้งดานสังคมศาสตร และศิลปศาสตรแลว นักการเมืองที่มีพนฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรมีกี่คน ื้ 1. 25 คน 2. 20 คน 3. 18 คน 4. 10 คน แนวคิด ให A แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตร B แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานสังคมศาสตร C แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานศิลปศาสตร
  • 10. เขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรไดดังนี้ B (33) C (17) 0 0 2 8 A U จากแผนภาพ จะเห็นไดวานักการเมืองที่มพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรอยางเดียว ี มี 50 – 33 – 17 = 0 คน ดังนั้น นักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรมี 0 + 8 + 2 = 10 คน 10. นักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 50 คน แตละคนตองเรียนวิชาคณิตศาสตรหรือวิชาภาษาอังกฤษ อยางนอย 1 วิชา ถามีนักเรียนเรียนวิชาคณิตศาสตร 29 คน และเรียนภาษาอังกฤษ 32 คน แลวจํานวนนักเรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษมีจํานวนเทากับขอใด 1. 11 คน 2. 13 คน 3. 14 คน 4. 15 คน แนวคิด ให A แทนเซตของนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร ∴ n(A) = 29 B แทนเซตของนักเรียนที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ ∴ n(B) = 32 เมื่อ n(A ∪ B) = 50 คน ตองการหา n(A ∩B) = ? จาก n(A ∪ B) = n(A) + n(B) - n(A ∩B) แทนคาจะได 50 = 29 + 32 - n(A ∩B) ∴ n(A ∩B) = 29 + 32 – 50 = 11 ดังนั้น จํานวนนักเรียนที่เรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษมีเทากับ 11 คน
  • 11. เก็งแนวขอสอบ O-Net เรือง เซต ่ 1. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U เดียวกัน ขอใดตอไปนีถูก ้ 1. ถา A ∩ B = φ แลว A = φ และ B = φ 2. ถา A ∪ B = φ แลวไมจําเปนที่ A = φ และ B = φ 3. ถา A - B = φ แลว A = φ และ B = φ 4. ถา A ∩ B = A ∪ B แลว A = B 2. ถาสับเซตทั้งหมดของเซต A คือ φ, {1}, {2}, {1, 2} และสับเซตทั้งหมดของ B คือ φ, {2}, {3}, {2, 3} แลว A ∩B คือเซตในขอใด 1. φ 2. {1} 3. {2} 4. {3} 3. กําหนด A และ B เปนเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน โดย n(A∩B) = 2 และ n(A∪B) = 10 แลวขอใดตอไปนี้เปนจํานวนสมาชิกของ B – A 1. 3 ตัว 2. 4 ตัว 3. 5 ตัว 4. 6 ตัว 4. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. n(A∩B) = n(A) + n(B) – n(A ∪ B) ข. n(A∪B) = n(A - B) + n(A∩ B) + n(B – A) ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1. ขอ ก. และ ขอ ข. ถูก 2. ขอ ก. ผิด และ ขอ ข. ถูก 3. ขอ ก. ถูก และ ขอ ข. ผิด 4. ขอ ก. และ ขอ ข. ผิด 5. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ ถา n(A ∪ B) = 10, n(A - B) = 3 และ n(B - A) = 5 แลว n(A ∩B) เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
  • 12. 6. กําหนด A , B และ C เปนเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U เดียวกัน และ n(A) = 50 , n(B) = 40 , n(C) = 30 , n(A ∩B) = 15 , n(B∩C) = 13 , n(A∩C) = 17 และ n(A ∪ B ∪ C) = 80 จงหา n(A ∩B∩C) 1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 7. ถา A , B เปนเซตอนันตและ C เปนเซตจํากัด แลวเซตในขอใดตอไปนี้เปนเซตอนันต 1. (A ∩ C) ∪ (B ∩C) 2. A ∪ (B∩C) 3. (C - B) ∪ (C - A) 4. (A∪B)∩C 8. ให A = {φ, 0, 1, {1}} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A B คือคอมพลีเมนตของ A และ C คือคอมพลีเมนตของ P(A) จํานวนสมาชิกของ ( B′ ∩C) ∪ (B∩ C′ ) เทากับขอใด 1. 12 2. 14 3. 16 4. 20 9. ในสํานักงานกาชาดสากลแหงหนึ่งมีเจาที่ 18 คน แตละคนพูดภาษารัสเซีย หรือ ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาฝรั่งเศส มีเพียงคนเดียวที่พดภาษารัสเซีย ภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษไดทั้งสาม ู ภาษา มี 3 คนพูดภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษได มี 13 คนที่พูดภาษารัสเซียได และใน 13 คนนี้มี 5 คนที่พูดภาษาอังกฤษได มี 9 คนทีพูดภาษาฝรั่งเศสได ไมมีเจาหนาที่คนใดที่ ่ พูดภาษาอังกฤษไดเพียงภาษาเดียว มีเจาหนาทีกี่คนที่พูดภาษาฝรั่งเศสไดเพียงภาษาเดียว ่ 1. 2 2. 3 3. 4 4. 5 10. ในการสํารวจนักเรียนทีไดฝกหัดวายน้ําเปน 3 เดือนมาแลว จํานวน 40 คน พบวาวายน้ํา ่ ทากบได 20 คน วายน้าทาผีเสื้อได 19 คน และวายไมไดไมวาทากบหรือทาผีเสื้อ 7 คน ํ มีนักเรียนทั้งหมดกี่คนทีสามารถวายน้าไดทั้งทากบและทาผีเสื้อ ่ ํ 1. 4 2. 6 3. 8 4. 10
  • 13. เฉลยเก็งแนวขอสอบ O-Net เรื่อง เซต 1. ขอ 4 2. ขอ 3 3. ขอ 2 4. ขอ 1 5. ขอ 2 6. ขอ 1 7. ขอ 2 8. ขอ 3 9. ขอ 2 10. ขอ 2 พบกับเฉลยละเอียดไดที่… MATH HOUSE โทร 02-413-2556 -7