SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 90
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายงาน
การศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา - นโยบายดานยาอยางเปนระบบ




                         สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย
                                                    พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๓
                                            ISBN : 978-974-422-608-2
รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ




              สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย
                 มูลนิธิเพื่อการวิจัยและพัฒนาระบบยา
                        พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๓
รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ


บรรณาธิการ
อรุณี ไทยะกุล
สมเกียรติ โพธิสัตย
อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ




จัดพิมพโดย
สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย
กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข
ถนนติวานนท ตําบลตลาดขวัญ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐
โทร ๐ ๒๕๙๐ ๖๒๔๙ และ ๐ ๒๕๙๐ ๖๓๘๗
โทรสาร ๐ ๒๙๖๕ ๙๘๔๔
URL : http://www.dms.moph.go.th/imrta



ISBN : 978-974-422-608-2
พิมพครั้งแรก เมษายน ๒๕๕๔
จํานวน ๕๐๐ เลม
จํานวนหนา ๘๘ หนา
พิมพที่ บริษัท อิส ออกัส จํากัด กรุงเทพมหานคร
คํานํา

           ยาเปนเทคโนโลยีดานสุขภาพหนึ่งที่มีสัดสวนคาใชจายที่สูง..และมีผลกระทบอยางมาก
ตองบดุลของโรงพยาบาล...โรงพยาบาลทุกแหงมีขอมูลการใชยาอยูแลว...แตสวนใหญมักจะอยู
ในรูปแบบที่ไมเอื้อตอการนํามาประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผูบริหาร...มีโรงพยาบาล
เพียงนอยแหงที่นําขอมูลเกี่ยวกับการใชยามาใชประกอบการตัดสินใจทั้งในระดับนโยบาย...และ
ระดับเวชปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ
           กรมการแพทยไดเล็งเห็นถึงความสําคัญและจําเปนในการนําระบบการจัดการขอมูล
ดานยาที่มีความเปนมาตรฐานมาใชกับสถานบริการสุขภาพ...เพื่อสนับสนุนการนําขอมูลดานยา
ของสถานบริการสุขภาพมาใชในการติดตามและประเมินผล...(monitoring and evaluation)
การใชยาอยางตอเนื่อง...และเพื่อสรางสารสนเทศที่สามารถใชประโยชนในการสนับสนุนการ
ตัดสินใจแบบ evidence-based decision-making ทั้งในระดับสถานบริการสุขภาพและระดับ
นโยบายของประเทศ
           กรมการแพทย โดย สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทยจึงไดรวมมือกับ
มูลนิธิเพื่อการวิจัยและพัฒนาระบบยา (วพย.) ซึ่งมีความชํานาญในการจัดการขอมูลยาขนาด
ใหญ จัดทําโครงการ “การจัดการขอมูลดานยาเพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยา
อยางเปนระบบ”...เพื่อใหสถานบริการสุขภาพไดพัฒนาโครงสร างระบบขอมูลยา...และทราบ
วิธีการประเมินการใชยาในดานตางๆ...นอกจากนี้ยังเปนโอกาสใหบุคลากรที่เกี่ยวของกับการใชยา
และบริหารจัดการดานยาไดเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณการจัดการขอมูลดานยา...เพื่อ
นําไปใชประโยชนตอยอดในการปฏิบัติงาน...เชน...การติดตามการใชยา...การกําหนดนโยบาย
ที่เกี่ยวกับการใชยา ตลอดจนเปนการสรางขอมูลเชิงประจักษของหนวยงาน ทั้งนี้ขอมูลปอนกลับ
จะชวยในการพัฒนากระบวนการทํางานเพิ่มคุณภาพการรักษาพยาบาล...เพิ่มประสิทธิภาพ
ในการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัด...ลดความเสี่ยงในการทํางาน...ตลอดจนใชเปนขอมูลสําหรับ
หนวยงานในการจัดการกับระบบประกันสุขภาพอีกดวย




                                                         (นายแพทยเรวัต วิศรุตเวช)
                                                            อธิบดีกรมการแพทย
บทสรุปผูบริหาร
           สารสนเทศที่ถูกตอง ตรงประเด็น และทันสมัย เปนองคประกอบนําเขาที่สําคัญอยางยิ่งสําหรับ
การตัดสินใจดานตางๆ ตั้งแตระดับจุลภาคไปจนถึงมหภาค เพื่อใหการตัดสินใจตั้งอยูบนฐานของหลักฐาน
ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของ
           ยาเปนทรัพยากรสุขภาพที่มีสัดสวนมูลคาการใชคอนขางสูงเมื่อเทียบกับคาใชจายสุขภาพโดยรวม
สําหรับประเทศไทยพบวามูลคาการใชยาในผูปวยนอกคิดเปนรอยละ 70 ของคาใชจายในการรักษาผูปวยนอก
และคิดเปนรอยละ 30 ของคาใชจายในการรักษาผูปวยใน การมีสารสนเทศที่ถูกตอง ตรงประเด็น ทันสมัย
เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจทางนโยบาย และติดตามและประเมินคุณภาพ และความเหมาะสมของการรักษา
ดวยยาจึงเปนสิ่งที่สําคัญ และจําเปน
           โครงการจัดการขอมูลดานยาเพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบจัด
ทําขึ้นโดยมีโรงพยาบาล 16 แหงเขารวมโครงการ ในจํานวนนี้ 11 แหงเปนโรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย
และอีก 5 แหงเปนโรงพยาบาลนอกสังกัดกรมการแพทย โครงการนี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมิน
การใชยาในดานตางๆ...ซึ่งสวนหนึ่งเปนขอมูลพื้นฐานที่สถานบริการสุขภาพใชสําหรับติดตามสถานการณ
การใชยา ซึ่งหากมีการสรางขอมูลอยางสมําเสมอ จะทําใหเห็นแนวโนมการใชยา และชวยใหชี้ปญหาของ
ระบบยาไดอยางรวดเร็วและทันทวงที นอกจากนี้การวิเคราะหเจาะลึกประเด็นปญหาการใชยา ยังชวยทําให
สถานบริการสุขภาพเกิดความเขาใจในสภาพปญหามากขึ้นและไดขอมูลปอนกลับสําหรับชวยการตัดสินใจ
ปรับเปลี่ยนหรือผลักดันนโยบาย
           กรอบใหญที่ใชในการวิเคราะหและประเมินผลสําหรับโครงการนี้คือ...การติดตามแนวโนมการใชยา
(utilization..trend)..การประเมินการทํางานของโรงพยาบาลเทียบกับแนวปฏิบัติที่ดี...ซึ่งสะทอนเรื่องของ
คุณภาพการรักษา (quality of care) การดูประสิทธิภาพ (efficiency) ของระบบยาเพื่อชวยลดการใชงบ
ประมาณดานยาเกินความจําเปน
           การดําเนินงานโครงการประกอบดวยขั้นตอนหลักๆ 7 ขั้นตอนไดแก การศึกษาโครงสรางขอมูล
ของโรงพยาบาล การตรวจสอบขอมูลในฐานขอมูล (ทั้งในแงความครบถวน และความถูกตอง) การจับคูรหัส
ยา และสิทธิการรักษา การแปลงขอมูลใหอยูในโครงสรางหรือรูปแบบกลางที่พรอมวิเคราะหขอมูล การตรวจ
ทานความถูกตองในการแปลงขอมูล การกําหนดคําถามที่โรงพยาบาลตองการทราบ การวิเคราะหขอมูล
และการนําเสนอขอมูล
           รายงานฉบับนี้กลาวถึงผลการวิเคราะหขอมูลการจายยาของโรงพยาบาลโดยแยกเปน...2...สวน
ส ว นแรกเป น ส ว นการวิ เคราะห ข อ มู ล พื้ นฐานที่ บ ง บอกถึ ง การรั บ บริ ก ารด า นยาในช ว ง...1...ป . ..และ
สวนที่...2 เปนการเจาะลึกสําหรับบางตัวยา กลุมยา หรือกลุมโรคเพื่อใหเขาใจสถานการณชัดเจนมากยิ่งขึ้น
จากการวิเคราะหขอมูลโรงพยาบาลสรุปเปนประเด็นตางๆ ไดดังนี้
           •.มูลคาการใชยา.และคายาเฉลี่ย/คน/ปของผูปวยสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการสูงกวาผูปวย
สิทธิอื่นอยางมากทั้งที่ผูปวยมีจํานวนนอยเมื่อเทียบกับผูปวยสิทธิอื่น...หนึ่งในสาเหตุที่ทําใหเปนเชนนี้คือวิธี
การจายเงินคายาแบบปลายเปดของผูปวยขาราชการ...ผูปวยมีโอกาสมากกวาที่จะไดรับยาตนแบบซึ่งมีราคา
สูง...หรือไดยาที่ใหมที่อยูนอกบัญชียาหลักเมื่อเทียบกับผูปวยที่คายาถูกเหมาจายแบบปลายปด...แตการที่
ผูปวยสิทธินี้มีคายา/คน/ปสูงมาจากสถานพยาบาลใหยาฟุมเฟอยเกินความจําเปนหรือไม...หรือในความเปน
จริงเปนการใชยาที่สมเหตุสมผลแลว...หรือในมุมตรงขามผูปวยประกันสังคม...และประกันสุขภาพถวนหนา
ไดรับยาที่นอยกวาที่ควรจะไดรับ ก็ยังเปนสิ่งที่ตองพิสูจนเพื่อเปนการประกันคุณภาพการรักษาพยาบาลตอไป
          • สถานพยาบาลเกือบทุกแหงมีการจายยาในปริมาณที่มาก เชน พบการจายยาตอ 1 ใบสั่งใน
ปริมาณที่มากกวาการใช 6 เดือน หรือการจายยาใหผูปวยรายหนึ่งๆ ในปริมาณที่มากกวาการใชในระยะ
เวลา 1 ป การจายยาคราวละมากๆ แมจะเปนการชวยลดภาระผูปวยที่มีปญหาเรื่องการเดินทาง แตในทาง
ตรงขามอาจกอใหเกิดความสูญเสียไดหากผูปวยตองเปลี่ยนยา...ทํายาหาย...หรือเก็บรักษายาในสภาพที่ไม
เหมาะสม
          • การแทนที่ยาดวยยาชื่อสามัญ หรือยาอื่นที่มีฤทธิทางเภสัชวิทยาเหมือนกัน ใหผลในการรักษา
ไมแตกตางกัน แตมีราคาถูกกวา จะชวยใหคายาของประเทศลดลงได ชวยลดตนทุนการจัดซื้อยาสํารอง
ในคลัง แตขณะเดียวกันทําใหรายไดของโรงพยาบาลลดลง การผลักดันนโยบายนี้ใหไดผลตองคํานึงถึงผล
การรักษาของผูปวยแตละรายเปนอันดับแรก ซึ่งหากใชไมไดผลแพทยสามารถปรับยาใหผูปวยได และขณะ
เดียวกันผูท่ไดประโยชนจากนโยบายนี้ (เชนผูใหประกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งกรมบัญชีกลาง) อาจจะตองมีวิธี
             ี
สรางจูงใจทางการเงินใหกับโรงพยาบาลเพื่อชดเชยผลประโยชนที่โรงพยาบาลสูญเสียไป
          • การติดตามคุณภาพการรักษาเทียบกับมาตรฐานการรักษาที่ดีชวยใหทราบวาแนวทางการรักษาผู
ปวยปจจุบันเปนอยางไร พบวา
          - รอยละ 30 ของผูปวยเบาหวานที่อายุ 65 ปขึ้นไป ยังไดรับยา Glibenclamide ซึ่งอาจทําใหเกิด
ภาวะ hypoglycemia ไดในผูปวยที่การทํางานของตับ และไตไมดี
          - รอยละ 44 และรอยละ 35 ของผูปวยเบาหวาน ไมไดรับยาลดไขมัน และยาตานการแข็งตัวของ
เกร็ดเลือดเพื่อปองกันความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ตามลําดับ
          - รอยละ 63.28 ของผูปวย Primary open angle glaucoma ไดรับยาที่เปน Drug of Choice
(Beta Blockers หรือ Prostaglandins)
          - รอยละ 7 ของผูปวย Primary open angle glaucoma ไดรับยาสเตียรอยดชนิดหยอดตาซึ่งอาจ
ทําใหภาวะความดันในลูกตาสูงขึ้น
          - รอยละ 12.36 ของใบสั่งยาของผูปวยที่ไมมีความเสี่ยงในการเกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
ไดรับยา COX-2 Inhibitor โดยในจํานวนนี้รอยละ 35.48 ไดรับยา Proton Pump Inhibitor รวมดวย ขณะ
ที่ในกรณีที่ผูปวยมีปจจัยเสี่ยงตอการเกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารถึงรอยละ 40.27 ไดรับยา NSAIDs
โดยไมไดรับยา H2 Antagonist หรือ Proton Pump Inhibitor รวมดวย
          - รอยละ 23.32 ของใบสั่งยาของผูปวย stroke ไมไดรับยาตานการแข็งตัวของเกร็ดเลือดหรือยา
ละลายลิ่มเลือด และ รอยละ 40 และ 14.49 ของผูปวย stroke ไมไดรับยาลดไขมัน และยาลดความดันตาม
ลําดับ
          ทั้งนี้สารสนเทศที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลการจายยา สามารถนําไปพัฒนาการปฏิบัติงาน ทั้งใน
แงคณภาพการรักษาดวยยา และการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารจัดการระบบยาตอไป
      ุ
สารบัญ

                                                                                                                         หนา

บทนํา ...................................................................................................................... 11

ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ................................................................................. 14

วิธีการศึกษา ............................................................................................................. 17

ผลการดําเนินการ ..................................................................................................... 19

สรุปบทเรียนรู ........................................................................................................... 37

อภิปรายและขอเสนอแนะ.......................................................................................... 45

เอกสารอางอิง............................................................................................................ 47

ภาคผนวก.................................................................................................................. 49
      - โครงการการจัดการขอมูลดานยาเพื่อติดตามและประเมินผล                                                               51
        การใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
      - สําเนาคําสั่งกรมการแพทย ที่ 212 / 2552 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางาน                                                  55
        จัดการขอมูลยาเพื่อติดตามและประเมินผลการใชยา-นโยบาย
        ดานยาอยางเปนระบบ
      - เอกสารประกอบการอบรม                                                                                              57
สารบัญตาราง

                                                                                                 หนา

ตารางที่ 1   ภาพรวมการใชบริการดานยาโดยเฉลี่ยของผูปวยนอก …………….........20
             ของสถานบริการสุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2550 และ 2551

ตารางที่ 2   ภาพรวมมูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอก แยกตามสิทธิการรักษา……........21
             ของสถานบริการสุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2551

ตารางที่ 3   ภาพรวมการใชบริการดานยาของผูปวยในโดยเฉลี่ยในแตละโรงพยาบาล 22

ตารางที่ 4   การแปลงปริมาณยาแตละรายการจากเม็ดเปนวัน……………………….....…25

ตารางที่ 5   มูลคายาที่มีการจายใหผูปวยมากกวา 365 วัน และ 400 วัน........................26

ตารางที่ 6   การครอบครองยาในปริมาณที่มากเกิน 365 วัน และ 180 วัน ………….....27
             กรณียาแกแพ ยาสําหรับโรคกระเพาะอาหาร และกลุมยาแกปวด
             แกอักเสบ (NSAIDs)

ตารางที่ 7   ผลของการแทนที่ยาทั้ง 6 กลุมในรพ. 12 แหง.............................................30

ตารางที่ 8   การจายยา NSAIDs และยาปองกันภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร                             31
             ใหกับผูปวยของสถานบริการสุขภาพ 13 แหง

ตารางที่ 9   การจายยา Glibenclamide ในผูปวยเบาหวานสูงอายุ และการเกิด..                        34
             ภาวะ hypoglycemia
สารบัญภาพ

                                                                                      หนา

ภาพที่ 1   มูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอก แยกตามสิทธิการรักษาจําแนก……........….21
           แตละสถานบริการสุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2551

ภาพที่ 2   กราฟแสดงปริมาณยาที่จายในแตละใบสั่งสําหรับยาเม็ด ………………….......24
           Paracetamol 500 mg ในกลุมผูปวยนอก โรงพยาบาล
           แหงหนึ่ง ปงบประมาณ 2551

ภาพที่ 3   ผูปวยที่มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร…………......32
           ที่ไดรับยา Traditional NSAIDs แบงตามการไดรับยาเพื่อลดผลขางเคียง

ภาพที่ 4   การจายยา COX-2 ในผูปวยที่ไมมีความเสี่ยงตอการเกิดภาวะ……………......32
           เลือดออกในกระเพาะอาหารและการไดรับยาปองกันภาวะเลือดออก
           ในกระเพาะอาหาร

ภาพที่ 5   สัดสวนผูปวยเบาหวานที่ไดรับยากลุม HMG CoA Reductase.......................35
           Inhibitor

ภาพที่ 6   สัดสวนของผูปวยเบาหวานที่มีปจจัยเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซอน……........36
           จากโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่ไดรับยา Antiplatelet
บทนํา

ความเปนมา
         ยาเปนทรัพยากรสุขภาพที่มีสัดสวนมูลคาการใชสูงเมื่อเทียบกับคาใชจายสุขภาพโดยรวม
สําหรับประเทศไทยพบวามูลคาการใชยาคิดเปนรอยละ..70..ของคาใชจายในการรักษาผูปวยนอก
และคิดเปนรอยละ.30..ของคาใชจายในการรักษาผูปวยใน..ผูมีสวนเกี่ยวของในระบบสุขภาพจึง
เพงเล็งเรื่องการใชยา...โดยมีความพยายามที่จะควบคุมการใชยาใหเปนไปอยางสมเหตุสมผล...มี
ประสิทธิภาพ และคุมคา
         ปจจุบันมีสถานบริการสุขภาพจํานวนนอยแหงที่มีขอมูลการใชยาที่ครบถวน ถูกตอง และ
เปนปจจุบัน...เพื่อชวยสนับสนุนการตัดสินใจตางๆ...ที่เกี่ยวของกับนโยบายดานยา...สาเหตุหลัก
มาจาก.1)..ขาดแผนงานในการกําหนดโครงสรางขอมูลและมาตรฐานขอมูล..ทําใหไมสามารถ
รวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ..ไดโดยงาย 2) รูปแบบการเงินการคลังของระบบประกันสุขภาพที่
เปนแบบเหมาจายรายหัว และเหมาจายรายโรคทําใหทั้งผูจายเงินและผูใหบริการไมเห็นความสําคัญ
ในการเก็บขอมูลการใชยา 3) สถานบริการสุขภาพขาดแคลนบุคลากรที่เชี่ยวชาญการจัดการขอมูล
และบุคลากรสวนใหญมีภาระประจําในการดูแลผูปวยทีหนักมากอยูแลว
                                                   ่
         กรมการแพทยไดเล็งเห็นถึงความสําคัญและจําเปนในการนําระบบการจัดการขอมูลดาน
ยาทีมความเปนมาตรฐานมาใชกบสถานบริการสุขภาพ จึงไดมอบ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยี
     ่ ี                       ั
ทางการแพทย จัดทําโครงการ “การจัดการขอมูลดานยาเพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบาย
ดานยาอยางเปนระบบ”...เพื่อสนับสนุนการนําขอมูลดานยาของสถานบริการสุขภาพมาใชในการ
ติดตามและประเมินผล (monitoring and evaluation) การใชยาอยางตอเนื่อง และเพื่อสราง
สารสนเทศที่สามารถใชประโยชนในการสนับสนุนการตัดสินใจแบบ evidence-based decision-
making..ในระดับสถานบริการสุขภาพ..โดยรวมมือกับมูลนิธิเพื่อการวิจัยและพัฒนาระบบยา.
(วพย.)..ที่มีความชํานาญในการจัดการขอมูลยาขนาดใหญ..เพื่อใหสถานบริการสุขภาพมไดพัฒนา
โครงสรางระบบขอมูลยา...รวมทั้งทราบวิธีการประเมินการใชยาในดานตางๆ...นอกจากนี้ยังเปน
โอกาสใหบุคลากรที่เกี่ยวของกับการใชยา...และบริหารจัดการดานยาไดเรียนรู...และแลกเปลี่ยน
ประสบการณการจัดการขอมูลดานยา...เพื่อนําไปใชประโยชนตอยอดในการปฏิบัติงาน...เชนการ
ติดตามการใชยา...การกําหนดนโยบายที่เกี่ยวกับการใชยาตลอดจน...เปนการสรางขอมูลเชิง
ประจักษของหนวยงาน...ทั้งนี้ขอมูลปอนกลับจะชวยในการพัฒนากระบวนการทํางานเพิ่มคุณภาพ
การรักษาพยาบาล...เพิ่มประสิทธิภาพในการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัด...ลดความเสี่ยงในการทํางาน
ตลอดจนใชเปนขอมูลสําหรับหนวยงานในจัดการระบบประกันสุขภาพ
วัตถุประสงค
           1....พัฒนาวิธีการจัดการโครงสรางของระบบขอมูลดานยา ระเบียบวิธีการประเมิน และ
    ติดตามการใชยาของโรงพยาบาล...และพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรในการประเมินและ
    ติดตามการใชยาอยางตอเนื่อง
           2. ประเมินการใชยาในดานตางๆ ทําใหทราบปญหาของระบบยา ปญหาการใชยา ทั้งใน
    ดานคุณภาพการรักษา และประสิทธิภาพในการบริหารจัดการระบบยาในระดับสถานบริการสุขภาพ

    ระยะเวลาดําเนินการ
               ธันวาคม 2551 – ธันวาคม 2553

    กลุมเปาหมาย
               สถานบริการสุขภาพ จํานวน 17 แหง ประกอบดวย
               1. โรงพยาบาล/สถาบันในสังกัดกรมการแพทย จํานวน 11 แหง
               2. โรงพยาบาลนอกสังกัดกรมการแพทย จํานวน 6 แหง ไดแก
                  - โรงพยาบาลทั่วไป 3 แหง
                  - โรงพยาบาลศูนย 3 แหง

    วิธีดําเนินการ
            1..จั ด อบรมให ค วามรู ในการจั ด การระบบข อ มู ล ด า นยาให แ ก ผู บ ริ ห าร..เภสั ช กร..และ
    เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ เชน เจาหนาที่เทคโนโลยีสารสนเทศ เจาหนาที่บันทึกขอมูล เจาหนาที่ดูแลฐาน
    ขอมูลยาของโรงพยาบาล เปนตน
            2..จัดระบบขอมูลยาจากระบบคอมพิวเตอรของสถานบริการสุขภาพที่เขารวมโครงการให
    เขากับรหัสมาตรฐาน เพื่อใหรหัสตางๆ อยูบนมาตรฐานเดียวกัน สื่อสารกันได สําหรับการวิเคราะห
    ขอมูล
            3. ติดตามและประเมินการใชยาทั้งในแตละระดับและกลุมสถานบริการสุขภาพในดานตางๆ
            4. ติดตามและประเมินนโยบายดานยาในระดับสถานบริการสุขภาพ และกลุมสถานบริการ
    สุขภาพ
            5. นําเสนอขอมูลสูสาธารณะถึงผลการติดตามและประเมินการใชยาและนโยบายดานยาใน
    ระดับสถานบริการสุขภาพ และกลุมสถานบริการสุขภาพ




    รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
12 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
ขอพิจารณาดานจริยธรรม
         สถานบริการสุขภาพทั้ง 11 แหง ไดยินยอมสมัครใจเขารวมโครงการ และผูอํานวยการได
ลงนามเปนลายลักษณอักษรในการใหขอมูล และการนําเสนอผลการศึกษาในภาพรวม โดยไมมีการ
ระบุชื่อสถานบริการสุขภาพในการนําเสนอขอมูล

งบประมาณ
        ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนวิชาการ กรมการแพทย

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
        1...ชวยใหสถานบริการสุขภาพสามารถนําขอมูลดานยามาใชใหเกิดประโยชนในการบริหาร
การจัดการ
        2...สงเสริมใหบุคลากรของสถานบริการสุขภาพตระหนักถึงความสําคัญและประโยชนของ
การนําขอมูลที่มีอยูแลวในสถานบริการสุขภาพมาใชเปนเครื่องมือในการตัดสินใจทางนโยบาย และ
การปฏิบัติ
        3...เพื่อใหเกิดระเบียบวิธีวิจัยสําหรับการประเมินและติดตามการใชยาทั้งในระดับสถาน
บริการสุขภาพและในระดับนโยบาย
        4...พั ฒ นาขี ด ความสามารถของบุ ค ลากรในการประเมิ น ...และติ ด ตามการใช ย าใน
โรงพยาบาล
        5. ผูกําหนดนโยบาย สถานบริการสุขภาพ และผูใหบริการ สามารถติดตามผลของการ
ประกาศใชนโยบายดานยา ทั้งผลที่พึงประสงค และผลที่ไมพึงประสงค เพื่อการพัฒนาปรับปรุงการ
ทํางานใหดียิ่งขึ้นอยางตอเนื่อง




                                                                       รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
                                                    เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ   13
ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ
               เปนที่ประจักษแลววาการจัดการดานยาเปนองคประกอบสําคัญในการบรรเทา...การบําบัด
    อาการ...การปองกัน...และการรักษาโรคและสภาวะของผูปวย...การจัดการดานยาครอบคลุมระบบ
    และกระบวนการที่องคกรใชในการใหบริการดานเภสัชกรรมบําบัดแกผูปวย...การจัดการดานยา
    ไมใชเปนความรับผิดชอบของกลุมงาน/ฝายเภสัชกรรม...แตยังเปนความรับผิดชอบรวมของผูให
    บริการหรือหัวหนางาน/ผูจัดการทางคลินิก...ตองการความเปนสหสาขาวิชาชีพ...อันเปนความ
    พยายามที่จะประสาน บูรณาการกิจกรรมของบุคลากรในสถานบริการสุขภาพ บนหลักการของการ
    ออกแบบกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ...การนําลงสูการปฏิบัติ และการปรับปรุงการคัดเลือก การ
    จัดหา การเก็บรักษา การสั่งใชยา การถายทอดคําสั่ง การกระจาย การเตรียม การสงมอบการ
    บริหาร การบันทึกเอกสาร และการติดตาม ที่เกี่ยวของกับการบําบัดดานยา นอกจากนี้ในเชิงระบบ
    ยังครอบคลุมเรื่องการวางแผน การจัดองคกร และการประเมินผลการจัดการเชิงระบบ ทั้งนี้โดยมี
    เปาประสงคหลักที่สําคัญคือความปลอดภัยผูปวย1
               องคการอนามัยโลกรายงานวา...ในปจจุบันการใชยาทั่วโลก...ไมตํากวาครึ่งหนึ่งเปนการ
    ใชโดยเปลาประโยชน...ไมมีความจําเปนหรือเปนยาที่ไมมีประสิทธิภาพ...สําหรับประเทศไทยมีการ
    บริโภคยาประมาณปละ 67,000 ลานบาท ซึ่งสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบานและประเทศที่
    พัฒนาแลว...การบริโภคยาที่สูงมากทําใหประเทศไทยสูญเสียเงินเปนเงินตราตางประเทศในการนํา
    เขายาสําเร็จและวัตถุดิบจํานวนมหาศาล ขณะที่สุขภาพของคนไทยมิไดดีไปกวาประเทศอื่นที่มีการ
    บริโภคตํากวา2
               การใชยาอยางสมเหตุผล...หมายถึง...การใชยาโดยมีขอบงชี้...เปนยาที่มีประสิทธิภาพจริง
    สนับสนุนดวยขอมูลหลักฐานที่ปราศจากขอโตแยง ใหประโยชนทางคลินิกที่เหนือกวาความเสี่ยงจาก
    การใชยาอยางชัดเจน มีราคาเหมาะสม คุมคาตามหลักเศรษฐศาสตรสาธารณสุข เปนการใชยาตาม
    ขั้นตอนที่ถูกตองตามแนวทางการพิจารณาการใชยา...โดยใชยาในขนาดยาที่เหมาะสมกับผูปวย
    ในแตละกรณี...ดวยวิธีการใหยาและความถี่ในการใหยาที่ถูกตองตามหลักเภสัชวิทยาคลินิก...ดวย
    ระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม ผูปวยใหการยอมรับและสามารถใชยาดังกลาวไดอยางถูกตองและ
    ตอเนื่อง...กองทุนในระบบประกันสุขภาพหรือระบบสวัสดิการสามารถใหเบิกจายคายานั้นไดอยาง
    ยั่งยืน...และเปนการใชยาที่ผูปวยทุกคนสามารถใชยานั้นไดอยางเทาเทียมกัน...สาเหตุสําคัญสวน
    หนึ่งเกิดจากการบริโภคยาที่ไมเหมาะสม เกินความจําเปนและใชยาราคาแพงอยางไมคุมคา ทั้งจาก
    การรักษาตนเองของคนไข...การสั่งใชยาที่ไมสมเหตุผลของแพทย เภสัชกร พยาบาลหรือคนขายยา
    ซึ่งเนื่องจากการขาดความรู...ความเขาใจที่ถูกตองตลอดจนการถูกจูงใจจากกลยุทธทางการตลาด
    ของธุรกิจยา3
    รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
14 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
การใชยาในระดับโรงพยาบาลมีปจจัยหลายๆ ปจจัยที่เกี่ยวของตั้งแตระดับนโยบาย การใช
ยาตามบัญชียาหลักแหงชาติ ตามแนวทางเวชปฏิบัติ ตามสภาพความเจ็บปวยของผูปวยแตละราย
การใชยาอยางสมเหตุผล หรือเหมาะสมนั้นเปนสิ่งจําเปน เพราะนอกจากจะสงผลตอผูปวยโดยตรง
แลว ยังสงผลถึงคาใชจายทั้งในระดับสถานบริการสุขภาพ ไปจนถึงระดับประเทศ ตัวอยางเชน
          การรักษาดวยยาปฏิชีวนะ...ที่มีอยูในปจจุบันก็มีอัตราการประสบความสําเร็จที่ตําลง
เพราะปญหาเชื้อดื้อยาที่เพิ่มสูงขึ้นจนกลายเปนปญหาสาธารณสุขระดับโลก...จากการศึกษาของ
ศิริตรี..สุทธจิตต,.2552..โดยการทบทวนเอกสารวิชาการสถานการณเชื้อดื้อยาในนานาประเทศ..:
สถานการณการใชยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา...ระบบติดตามเฝาระวัง...และการควบคุม...พบวา4
สถานการณการใชยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา...ระบบติดตามการใชยาปฏิชีวนะ...ระบบเฝาระวังเชื้อ
ดื้อยา และการควบคุมการใชยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา ของ 3 ประเทศซึ่งมีอัตราการใชยาปฏิชีวนะ
ที่ตํา และ/หรือมีอัตราการเกิดเชื้อดื้อยาที่ตํา อันไดแก ประเทศสวีเดน ออสเตรเลีย และเกาหลีใต
ปจจัยสําคัญที่นาจะชวยใหประสบความสําเร็จในการควบคุมการใชยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา โดย
เฉพาะในออสเตรเลียและสวีเดน คือการสงเสริมการใชยาปฏิชีวนะอยางเหมาะสมและการจัดการ
เชื้อดื้อยาถูกจัดเปนวาระแหงชาติ ที่รัฐบาลและหนวยงาน ตางๆที่เกี่ยวของ รวมถึงภาคเอกชน ให
ความสําคัญและรวมมือกันการแกไขอยางจริงจังและตอเนื่อง
          การใชยาลดไขมันกลุม statins โดยอรลักษณ และคณะ, 2553 ไดศึกษารูปแบบการใชยา
กลุม statins ในโรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ. 2548-2550 พบวา5 การใชยากลุมนี้มีแนวโนมสูงขึ้น
การเพิ่มของคาใชจายดานยาโดยรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 35.6 และ 6.4 ในปพ.ศ. 2549 และ 2550 ตาม
ลําดับ..อันเปนผลมาจากผูปวยสิทธิขาราชการเปนหลัก..สวนปจจัยการเลือกใชยาพบวา..ในกลุม
ผูปวยเหมาจายรายหัว มีการเปลี่ยนไปใชยาราคาตําลง ในขณะที่ในกลุมผูปวยจายตามบริการจริง
มีการเปลี่ยนไปใชยาที่มีราคาสูงขึ้น...โดยสรุปการใชยากลุมนี้มีรูปแบบที่ตางกันระหวางผูปวยตาง
สิทธิ และยังอาจมีผูปวยบางกลุมที่ไดรับยามากเกินควร
          การใชยาตานการอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด..(Nonsteroidal..antiin ammatory..drugs,
NSAIDs) ในกลุม specific COX-2 inhibitor ที่นํามาใชกันอยางแพรหลายเปนจํานวนมาก ไดแก ยา
celecoxib เนื่องจากยาตานการอักเสบที่ไมใช steroid แบบดั้งเดิม (conventional NSAIDs) มีผล
ตอระบบทางเดินอาหาร มีการศึกษาที่แสดงใหเห็นวายากลุม COX-2 inhibitors ไมไดมีประสิทธิผล
ในการลดอาการปวดเหนือกวา conventional NSAIDs แตการเกิดแผลและเลือดออกในกระเพาะ
อาหารในกลุมที่ใชยา COX-2 inhibitors พบไดนอยกวา conventional NSAIDs เทานั้น อยางไร
ก็ตาม ยาในกลุม COX-2 inhibitors มีราคาสูงกวา conventional NSAIDs มาก แมวาจะลดการ
เกิดผลขางเคียงตอระบบทางเดินอาหาร แตผลขางเคียงนี้ก็ยังพบไดในผูที่ใชยา COX-2 inhibitors
ดังนั้นการใชยากลุมนี้ควรใชเฉพาะผูปวยที่มีความเสี่ยงตอการเกิดแผลในกระเพาะอาหารเทานั้น

                                                                            รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
                                                         เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ   15
และไมควรใชยานี้เปนอันดับแรกในการรักษาคนวัยหนุมสาวหรือคนที่มีสุขภาพดี...แตควรพิจารณา
    ใหเฉพาะผูที่มีความเสี่ยงตอการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร...ซึ่งผูปวยอาจพบอาการขางเคียงของ
    กระเพาะอาหารและลําไสได6
            โปรแกรมที่สามารถทบทวนการใชยาไดอยางเปนระบบ...จะชวยในกระบวนการทบทวน
    วิเคราะห และการแปลผลการใชยาวา เปนไปตามมาตรฐานที่ควรจะเปนของยานั้นๆ หรือไม และ
    ลดความผิดพลาดของการสั่งจายยา รวมถึงสามารถควบคุมคาใชจายได บุคลากรทางการแพทย
    ตองวางแผนดําเนินการการทบทวนการใชยาอยางระมัดระวัง รวมถึงปญหาที่จะเกิดขึ้นตามมาหาก
    ใชยาไมถูกตอง แนวทางการใชโปรแกรมการทบทวนการใชยาในระดับโรงพยาบาล (Guideline for
    implement drug utilization review programs in hospitals) มีขั้นตอนการดําเนินการแบงไดเปน
    4 ระยะ ไดแก ระยะวางแผน ระยะเก็บขอมูลและประเมินผล ระยะแกไขปญหา และระยะประเมิน
    ผลโครงการ7-9
            ระบบฐานขอมูลยาเปนสิ่งที่จําเปนและเกี่ยวของกับการใชงานประจําวัน...การตัดสินใจเชิง
    นโยบายดานยาในระดับโรงพยาบาลของผูบริหารจะกระทําไดรวดเร็ว ถามีขอมูลที่ถูกตองและเพียง
    พอ จึงมีการใชคอมพิวเตอรชวยประมวลผลเพื่อใหไดสารสนเทศดังกลาว...แตการประมวลผลดวย
    คอมพิวเตอรจําเปนตองมีหลักการและวิธีการที่ทําใหระบบมีระเบียบแบบแผนที่ดี...ทําใหสามารถ
    ติดตามประเมินผลการใชยาไดอยางเปนระบบ นําไปสูการจัดหาและการใชยาไดอยางเหมาะสม




    รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
16 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
วิธีการศึกษา

        การดําเนินการโครงการเนนการสรางความรู ความเขาใจใหกับผูบริหาร ผูเกี่ยวของ และ
พัฒนาบุคลากรในหนวยงานใหสามารถจัดระบบขอมูลยาเพื่อการวิเคราะหขอมูล...ที่สามารถ
นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตอผูบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใหบริการผูปวยไดอยาง
มีประสิทธิภาพ...รวมทั้งสงเสริมการการใชยาที่สมเหตุผล...โดยมีรูปแบบดําเนินการตั้งแตการ
อบรมใหความรู...การประชุมกลุม...การฝกปฏิบัติการจับคูรหัสยาและรหัสสิทธิการรักษาจากระบบ
คอมพิวเตอรของสถานบริการสุขภาพใหเขากับรหัสมาตรฐาน และนําขอมูลที่ไดไปวิเคราะห และ
แลกเปลี่ยนเรียนรูผลการวิเคราะหรวมกับหนวยงานที่เขารวมโครงการ โดยมีรายละเอียดกิจกรรม
ดังนี้

กิจกรรม
               1...จัดอบรมใหความรูในการจัดการระบบขอมูลดานยาใหแกผูบริหาร..เภสัชกร..และเจา
หนาที่ที่เกี่ยวของ เชน เจาหนาที่เทคโนโลยีสารสนเทศ เจาหนาที่บันทึกขอมูล เจาหนาที่ดูแลฐาน
ขอมูลยาของโรงพยาบาล เปนตน
               2. จัดระบบขอมูลยาเพื่อการวิเคราะห
                     • ศึกษาระบบโครงสรางขอมูล รูปแบบขอมูล และความสมบูรณของขอมูลดานยาของ
สถานบริการสุขภาพแตละแหง
                   ..• จับคูรหัสยา และรหัสสิทธิการรักษา จากระบบคอมพิวเตอรของสถานบริการสุขภาพ
ใหเขากับรหัสมาตรฐาน เพื่อใหรหัสตางๆ อยูบนมาตรฐานเดียวกัน สื่อสารกันได
                     • ถายโอนขอมูลดานยาของหนวยงานใหอยูในรูปแบบพรอมวิเคราะห
                     • ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล
.....................•..วิเคราะหขอมูลตามกรอบที่กําหนด...รวมทั้งนําเสนอตัวอยางการวิเคราะหขอมูลที่
สําคัญสําหรับการพัฒนา
               3..นําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสถานบริการสุขภาพที่เปน
เจาของขอมูลนั้นๆ...ติดตามและประเมินการใชยาทั้งในแตละระดับและกลุมสถานบริการสุขภาพ
ในดาน :
                      3.1. มูลคาและแนวโนมการใชยา โดยรวม เฉพาะกลุม และเฉพาะตัวยา
                      3.2. ความเหมาะสมในการใชยาในประชากร และกลุมผูปวยตางๆ เชน ผูสูงอายุ เด็ก
                           หรือผูปวยกลุมโรคตางๆ
                                                                              รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
                                                           เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ   17
3.3. ความเหมาะสมในการใชยาที่มีราคาแพง
                        3.4. การติดตามความปลอดภัยในการใชยาที่มีความเสี่ยงสูงและการใชยาที่อาจกอ
    ....................... ใหเกิดอันตรกิริยาระหวางยา
                 4....ติดตามและประเมินนโยบายดานยาในระดับสถานบริการสุขภาพ...และกลุมสถาน
    บริการสุขภาพ ในดานตอไปนี้ :
                        4.1. การเขาถึงยา โดยเฉพาะยาที่มีความสําคัญทางนโยบาย
                        4.2. การใชบัญชียาหลักในผูปวยแตละระบบประกันสุขภาพ
                        4.3. การใชระบบจายตรงในกลุมผูปวยสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
                        4.4. การใชระบบ Diagnostic Related Groups (DRGs) ในกลุมผูปวยสวัสดิการ
    ...........................รักษาพยาบาลขาราชการ
                        4.5. การประมาณการมูลคาสูญเสียจากการจายยา
                 5....นําเสนอขอมูลสูสาธารณะถึงผลการติดตามและประเมินการใชยาและนโยบายดาน
    ยาในระดับสถานบริการสุขภาพ และกลุมสถานบริการสุขภาพ




    รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
18 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
ผลการดําเนินการ

          การศึกษานี้ไดมีการดําเนินการโดยเริ่มตั้งแตประชุมชี้แจงวัตถุประสงคโครงการใหกับ
ผูบริหารโรงพยาบาล/สถาบัน และผูเกี่ยวของในการจัดการขอมูลยา ไดแก คณะกรรมการดานยา
ของโรงพยาบาล เภสัชกร เจาหนาที่สารสนเทศ เจาหนาที่เวชระเบียน เปนตน จัดอบรมใหความรู
ในการจัดการระบบขอมูลดานยาใหแกผูบริหาร คณะกรรมการยาของหนวยงาน และคณะทํางาน
จากหนวยงานที่เขารวมโครงการทั้ง 17 แหง เพื่อใหมีความรูความเขาใจในการจัดการขอมูลดานยา
สามารถใชประโยชนจากระบบขอมูลยามาประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผูบริหาร หรือคณะ
กรรมการบริหารดานยาไดอยางถูกตอง และจัดใหมีการฝกปฏิบัติการจับคูรหัสยา และรหัสสิทธิ
การรักษา...จากระบบคอมพิวเตอรของสถานบริการสุขภาพใหเขากับรหัสมาตรฐานของมูลนิธิเพื่อ
การวิจัยและพัฒนาระบบยา เพื่อใหรหัสตางๆ อยูบนมาตรฐานเดียวกัน สื่อสารกันได จากนั้นถาย
โอนขอมูลดานยาของหนวยงานใหอยูในรูปแบบพรอมวิเคราะห ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล
วิเคราะหขอมูลตามกรอบที่กําหนด โดยไดโจทยคําถามจากความตองการของแตละหนวยงาน รวม
ทั้งจากขอสังเกตของผูวิเคราะหขอมูล...มีการประชุมติดตามการดําเนินงานสถานบริการสุขภาพที่
เขารวมเปนระยะ...โดยสะทอนขอมูลกลับโดยมีรายละเอียดผลการวิเคราะหดานตางๆใหกับหนวย
งานที่เปนเจาของขอมูลไดทราบ และเมื่อเสร็จสิ้นโครงการไดมีการนําเสนอขอมูลดานยาจากหนวย
งานทุกแหง วิเคราะหเปนภาพรวมเสนอตอผูบริหารทั้งระดับกรมฯ ระดับหนวยงาน และบุคลากรที่
เกี่ยวของการบริหารยา
          การวิเคราะหขอมูลดานยาของสถานบริการสุขภาพที่เขารวมโครงการ ในจํานวน 17 แหง
มี 1 แหง ที่ไมสามารถนําขอมูลมาวิเคราะหรวมได เนื่องจาการบันทึกขอมูลไมสมบูรณ และไมได
บันทึกในระบบอิเล็กทรอนิกส และในบางประเด็นที่วิเคราะหอาจจะไดไมครบทั้ง 17 แหง เนื่องจาก
ความถูกตองครบถวนของขอมูลยาไมเทากัน...และการศึกษานี้จะวิเคราะหขอมูลเฉพาะขอมูลที่มี
ความครบถวน และถูกตอง สวนขอมูลที่มีคาผิดปกติ (outlier) จะไมนํามาวิเคราะหรวมดวย

1. ภาพรวมการใชยาในโรงพยาบาล
         1.1. ภาพรวมการใชบริการดานยาของผูปวยนอก
         ขอมูลจากโรงพยาบาลตางๆ ถูกนํามาวิเคราะหเพื่อใหเห็นภาพรวมการใชยาในโรงพยาบาล
ในเบื้องตนการวิเคราะหภาพรวมจะเนนที่ภาพของผูปวยนอกกอน...เนื่องจากโรงพยาบาลสวนใหญ
มีขอมูลการจายยาในสวนของผูปวยนอกครบถวนสมบูรณ ประเด็นการวิเคราะหมีดังนี้

                                                                         รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
                                                      เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ   19
• จํานวนผูปวยนอกที่มารับบริการดานยาใน 1 ป
                    • จํานวนครั้งของการใหบริการดานยาใน 1 ป
                    • มูลคายาโดยรวมของผูปวยนอกใน 1 ป
                    • จํานวนครั้งของการมารับบริการดานยาเฉลี่ย/คน/ป
                    • จํานวนรายการยาที่ผูปวยไดรับเฉลี่ย/คน/ป
                    • คายาผูปวยนอกเฉลี่ย/คน/ป คายาผูปวยนอกเฉลี่ย/ครั้ง
                    • คายาผูปวยนอกเฉลี่ย/คน/ป แยกตามสิทธิการรักษา

    ตารางที่ 1 : ภาพรวมการใชบริการดานยาโดยเฉลี่ยของผูปวยนอกของสถานบริการสุขภาพ 16 แหง
                      ปงบประมาณ 2550 และ 2551
                           รายละเอียด                                       ปงบประมาณ
                                                                            2550                       2551
               จํานวนผูปวย (คน)                                         40,518                     41,603
               จํานวนครั้ง (visit)                                       123,229                   1 32,229
               คายา (บาท)                                            48,480,210
                                                                            2                  317,995,623
               จํานวนรายการยา (item)                                     503,089                    554,513
               คายา / visit                                 2,016.41 / 3,700.66        2,404.89 / 4,383.84
               รายการยา / visit                                      4.08 / 2.18                4.19 / 2.37
               Visit / คน                                            3.04 / 2.38                3.18 / 2.70
               คายา / คน                                   6,132.59 / 15,202.92       7,643.57 / 17,658.82
               รายการยา / คน                                       12.42 / 1 3.59             13.33 / 1 5.79
             จากตารางที่ 1 เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวมพบวา
             1. จํานวนผูปวย จํานวนครั้งของการใหบริการดานยา และจํานวนรายการยาในโรงพยาบาล
    ระดับตางๆ เปนไปตามศักยภาพ และความสามารถของสถานพยาบาล
             2...คายาตอปเพิ่มสูงขึ้นตามระดับศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของโรงพยาบาล..ทั้งนี้ไมนับรวมโรง
    พยาบาลบางแหงซึ่งมีความเฉพาะทางคอนขางสูงซึ่งแมจํานวนผูปวย...และจํานวนครั้งของการให
    บริการดานยาจะนอยกวาโรงพยาบาลที่มีขนาดใหญกวา...เชน...โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย...แตพบวา
    คายาตอปไมแตกตางไปจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยมากนัก
             3...คายาตอคนตอปเพิ่มสูงขึ้นตามศักยภาพของโรงพยาบาลที่ใหบริการ..โดยคายาตอคน
    ตอปไมแตกตางมากนักระหวางโรงพยาบาลศูนย และโรงพยาบาลทั่วไป และพบเชนเดียวกันวาคายา
    ตอคนตอปในโรงพยาบาลที่มีความเฉพาะทางสูงมีคาสูงไมแตกตางจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
    รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
20 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
มูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอกตอคนตอป แยกตามสิทธิการรักษาในโรงพยาบาล เมื่อ
วิเคราะหทั้ง 16 แหง พบวา คายาตอคนตอปสําหรับผูปวยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
สูงกวาผูปวยภายใตระบบประกันสังคม...และผูปวยภายใตระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา
ในโรงพยาบาลเกือบทุกแหง (ภาพที่ 1 และตารางที่ 2)




ภาพที่ 1 : มูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอก แยกตามสิทธิการรักษาจําแนกแตละสถานบริการ
                สุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2551

ตารางที่ 2 : ภาพรวมมูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอก แยกตามสิทธิการรักษา ของสถานบริการ
                สุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2551
                             รวม              ขรก               สปสช                 สปส                 เงินสด
จํานวนผูปวย (คน)                 41,603            20,500            2,362                  272                 18,469
จํานวน visit (visit)             132,229             70,892          13,757                   882                 46,698
คายา (บาท)                  317,995,623       247,630,535       14,382,007            2,627,093           53,355,987
จํานวนรายการยา (item)            554,513            321,419          57,971                 2,659              172,464
คายา / visit             2404.89 463.84 3493.07 5437.57 1045.43 1172.37 2978.56 4711.14 1142.58 2066.68
รายการยา / visit               4.19 2.37        4.53 2.54        4.21 2.48            3.01 1.72             3.68 1.93
visit / คน                     3.18 2.70        3.46 2.45        5.82 5.82            3.24 2.22             2.53 1.98
คายา / คน              7643.57 17658.82 12079.54 22911.67 6088.91 11657.00 9658.43 19976.88 2888.95 7192.47
รายการยา / คน                13.33 15.79      15.68 15.59      24.54 33.31           9.78 10.14            9.34 10.49


                                                                                   รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
                                                                เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ     21
เมื่อทําการวิเคราะหยอยในกลุมผูปวยนอกในแตละชวงอายุ เพศ และสิทธิการรักษาพบวา
             • สถานพยาบาลสวนใหญมีผูปวยอายุระหวาง 40-70 ป เปนจํานวนมาก ซึ่งผูปวยเหลานี้
    เปนกลุมที่มีคาใชจานดานยาตอคนตอปสูงเมื่อเปรียบเทียบกลับกลุมอายุอื่นๆ
             •..คาใชจายดานยาตอคนตอปในการดูแลรักษาพยาบาลผูปวยสูงขึ้นเมื่อผูปวยมีอายุมากขึ้น
    โดยสูงที่สุดในชวงอายุ 80 ปขึ้นไป อยางไรก็ตามพบวาในสถานพยาบาลบางแหงที่มีความเฉพาะทาง
    สูงคาใชจายดานยาตอคนตอปในผูปวยกลุมที่มีอายุนอยอาจสูงกวาเนื่องจากความซับซอนของโรค
    ที่แตกตางจากโรงพยาบาลอื่นๆ

               1.2. ภาพรวมการใชบริการดานยาของผูปวยใน
            การวิเคราะหภาพรวมการใชยาในผูปวยในมีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบสถานการณการใชยา
    ในกลุมผูปวยในในชวงเวลา 1 ป โดยประเด็นการวิเคราะหมีดังนี้คือ
            • จํานวนครั้งของการรับผูปวยเขารักษาตัวในโรงพยาบาล
            • มูลคายาโดยรวมของผูปวยใน
            • จํานวนวันนอนในชวงเวลา 1 ป
            • มูลคายาเฉลี่ยตอครั้งของการรักษาตัวในโรงพยาบาล
            • จํานวนวันนอนเฉลี่ยตอครั้งของการรักษาตัวในโรงพยาบาล

    ตารางที่ 3 : ภาพรวมการใชบริการดานยาของผูปวยในโดยเฉลี่ยในแตละโรงพยาบาล
                   รพ.               #admission(ครั้ง/ป) #วันนอนทั้งหมด   คายารวม (บาท)   วันนอนเฉลี่ย/admission คายาเฉลี่ย/admission

                 รพศ.8                         34,970         232,632        383,134,032        9.56 16.27          10,956.08 41,623.72
                 รพศ.5                         21,551         161,121        108,441,197        7.85 17.75          5,031.84 20,003.81
                รพศ.10                         46,059         447,677        286,668,882        9.72 29.63          6,223.95 29,460.84
                รพท.12                         20,745         139,736         81,619,350         5.96 7.87          7,668.62 23,456.69
                รพท.11                         21,594         164,405         65,556,258        7.62 248.97         3,035.86 13,722.05
                รพฉ.14                         15,086         134,296         68,193,489        8.90 17.42          4,520.32 20,622.97
                 รพท.1                         17,750         117,682         39,794,626        6.71 11.22           2,241.95 8799.20
                 รพฉ.9                          7,046          88,158         54,033,095        12.52 17.46         7,668.62 23,456.69
                รพฉ.16                          7,233          58,266        107,596,512        8.09 10.00          14,875.92 23,271.75
                 รพฉ.3                          4,105          64,017         51,396,348        15.61 23.59         12,520.43 40,266.44
                 รพศ.4                          3,204          83,063         22,758,452        17.51 28.30         4,606.97 12,105.82

    หมายเหตุ เนื่องจากขอมูลโรงพยาบาลบางแหงไมครบถวนผลการวิเคราะหนี้จึงเปนผลการวิเคราะหของขอมูลระหวาง
             ก.พ. 2551 – ก.ย. 2551


    รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
22 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
เชนเดียวกับผลการวิเคราะหขอมูลภาพรวมการใหบริการดานยาของผูปวยนอก ขอมูลจาก
ตารางที่ 3 พอสรุปไดวา
         • จํานวน admission จํานวนวันนอนในโรงพยาบาลระดับตางๆ เปนไปตามศักยภาพ และ
ความสามารถในการใหบริการของสถานพยาบาล
         • คายาเฉลี่ยตอ admission เพิ่มสูงขึ้นตามระดับศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของโรงพยาบาล ทั้งนี้ไม
นับรวมโรงพยาบาลบางแหงซึ่งมีความเฉพาะทางคอนขางสูงซึ่งแมจํานวน admission และจํานวน
วันนอนจะนอยกวาโรงพยาบาลที่มีขนาดใหญกวา เชน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย แตพบวาคายา
เฉลี่ยตอ admission ไมแตกตางไปจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยมากนัก

          เมื่อวิเคราะหมูลคาการใชยาในกลุมผูปวยในตอคนตอป...แยกตามสิทธิการรักษาในโรง
พยาบาลตางๆ พบวาคายาตอ admission สําหรับผูปวยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ สูง
กวาผูปวยภายใตระบบประกันสังคม และผูปวยภายใตระบบประกันสุขภาพถวนหนาโรงพยาบาลใน
โรงพยาบาลเกือบทุกแหง

         1.3 ยาที่มีความถี่ในการจายบอยสําหรับผูปวยนอก และปริมาณยานั้นๆ ที่จายตอ 1 ใบสั่ง
         การวิเคราะหขอมูลในสวนนี้เปนการวิเคราะหเพื่อดูวารายการยาใดที่มีการสั่งจายบอยครั้ง
ที่สุด และการสั่งจายดังกลาวเปนอยางไร
         ตัวอยางการจายยาเม็ด paracetamol 500 mg ซึ่งเปนยาที่มีการสั่งจายบอยครั้งที่สุดใน
โรงพยาบาลสวนใหญ ปริมาณการสั่งจายที่พบมักเปนจํานวนเต็ม 10 เชน 10, 20 หรือ 30 เม็ด ใน
กรณีนี้โรงพยาบาลอาจทําการเตรียม pre-pack ยากอนในจํานวนที่มีการสั่งจายบอยไวลวงหนาเพื่อ
ยนระยะเวลาในการเตรียมยากอนทําการสงมอบยาใหผูปวยได (ภาพที่ 5)
         ผลจากการวิเคราะหขอมูลในสวนนี้ โรงพยาบาลสามารถนําขอมูลไปใชกับยาตัวอื่นไดโดย
หากทราบวาโดยทั่วไปจายเปนปริมาณเทาไหรจะชวยใหโรงพยาบาลสามารถเตรียมจัดยาไวลวงหนา
ได สามารถชวยยนระยะเวลาในการรอรับยาของผูปวยใหสั้นลงได
         การวิเคราะหขอมูลในลักษณะดังกลาวอาจสามารถนํามาใชในการตรวจสอบการสั่งจาย
                                    น
ยาที่มีปริมาณมาก เชน การจายยานําจํานวนครั้งละ 30 ขวดใน 1 ใบสั่ง หรือการจายยาครีมครั้ง
ละ 50 หลอด ซึ่งอาจมีผลตอคุณภาพของยาที่ผูปวยนําไปเก็บรักษาหากไมถูกตองอาจทําใหยาเสื่อม
คุณภาพได




                                                                            รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
                                                         เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ   23
ภาพที่ 2 : กราฟแสดงปริมาณยาที่จายในแตละใบสั่งสําหรับยาเม็ด Paracetamol 500 mg ใน
                   กลุมผูปวยนอกของโรงพยาบาลแหงหนึ่ง ปงบประมาณ 2551




    2. ผลการวิเคราะหขอมูลตามกรอบการวิเคราะหเฉพาะประเด็น
             2.1 การครอบครองยามากเกินกวาปริมาณการใชในชวงเวลา 1 ปี
             กลุมยาที่จะทําการวิเคราะหไดแก...กลุมยาสําหรับโรคเบาหวาน...โดยใชขอมูลจากยาที่มี
    รหัส ATC = A10B-Blood Glucose Lowering Drugs, Exclude Insulins รวม 13 รายการ เชน
    Metformin, Gliclazide, Acarbose, Rosiglitazone เปนตน กลุมยาสําหรับรักษาภาวะความดัน
    โลหิตสูง ซึ่งดึงขอมูลจากยาที่มีรหัส ATC = C08C-Selective Calcium Channel Blockers With
    Mainly Vascular Effects รวม 8 รายการ เชน Amlodipine, Felodipine, Manidipine เปนตน
    และ ยาที่มีรหัส ATC = C08C-Angiotensin II Antagonists, Plain รวม 6 รายการ เชน Losartan,
    Irbesartan, Valsartan เปนตน กลุมยาสําหรับรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง ซึ่งดึงขอมูลจากยาที่มี
    รหัส ATC = C10A-Lipid Modifying Agent ซึ่งประกอบดวยยาในกลุม HMG CoA reductase
    inhibitors รวม 6 รายการ เชน Simvastatin, Atorvastatin, Rosuvastatin และ ยาอื่นๆ ในกลุมนี้อีก
    6 รายการ เชน Fenobrate, Gembrozil, Nicotinic Acid เปนตน
             การคํานวนเพื่อดูวาผูปวยเปนผูที่ไดรับยาไปครอบครองยาในปริมาณมากเกินสําหรับใชใน
    ชวงเวลา 1 ป คํานวนโดยรวมปริมาณยา (ตามชื่อสามัญ) ที่จายใหผูปวยในชวง 1 ปงบประมาณ
    หลังจากนันจะทําการแปลงจํานวนยาทีจายใหผปวยจากทีเ่ ปนเม็ด...ใหเปนปริมาณทีมหนวยนับเปนวัน
               ้                           ่         ู                       ่ ี

    รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา
24 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
justymew
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
Aimmary
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2
Wariya Pula
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
usaneetoi
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 

Was ist angesagt? (20)

แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนบทความวิชาการให้มีคุณค่าและน่าอ่าน”‏
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
Mou
MouMou
Mou
 
หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 

Ähnlich wie การจัดการข้อมูลยา

Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
taem
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
supap6259
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
Sutasinee Phu-on
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
taem
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
taem
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
supap6259
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
Vitsanu Nittayathammakul
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
sirinyabh
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
taem
 

Ähnlich wie การจัดการข้อมูลยา (20)

Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 

Mehr von DMS Library

J.list searching manual
J.list searching manualJ.list searching manual
J.list searching manual
DMS Library
 
Pub healthplandevelopment10
Pub healthplandevelopment10Pub healthplandevelopment10
Pub healthplandevelopment10
DMS Library
 
CPG diabetes 2554
CPG diabetes 2554CPG diabetes 2554
CPG diabetes 2554
DMS Library
 

Mehr von DMS Library (20)

EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical Patient
EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical PatientEuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical Patient
EuroSCORE predict operative mortality in Thai Cardiac Surgical Patient
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุ
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุการเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุ
การเข้าถึงบริการตามสิทธิและสุขภาวะของผู้สูงอายุ
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHCardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
 
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัด
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัดพฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัด
พฤติกรรมการมารับบริการบำบัดยาเสพติดจิตสังคมบำบัด
 
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...
Self-management Program on Health Status and Quality of Life in Post Percutan...
 
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานี
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานีชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานี
ชมรมผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสุราษฏร์ธานี
 
ต้อกระจก
ต้อกระจกต้อกระจก
ต้อกระจก
 
Drugs Addiction Treatment System Integrated Model
Drugs Addiction Treatment System Integrated ModelDrugs Addiction Treatment System Integrated Model
Drugs Addiction Treatment System Integrated Model
 
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...
ผลกระทบของนโยบายยาเสพติด: มุมมองจากผู้เสพยาบ้า และผู้ให้บริการบำบัดรักษาในหน่...
 
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...
ทันตสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกับทันตกรรมผู้ป่วยทั่วไปในโรงพยาบาลประสาท...
 
พิการขาขาด
พิการขาขาดพิการขาขาด
พิการขาขาด
 
ทารกแรกคลอด
ทารกแรกคลอดทารกแรกคลอด
ทารกแรกคลอด
 
J.list searching manual
J.list searching manualJ.list searching manual
J.list searching manual
 
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัว
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัวPcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัว
Pcfm6 เวชศาสตร์ครอบครัว
 
Type2 diabetes
Type2 diabetesType2 diabetes
Type2 diabetes
 
Pub healthplandevelopment10
Pub healthplandevelopment10Pub healthplandevelopment10
Pub healthplandevelopment10
 
CPG diabetes 2554
CPG diabetes 2554CPG diabetes 2554
CPG diabetes 2554
 

การจัดการข้อมูลยา

  • 1. รายงาน การศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา - นโยบายดานยาอยางเปนระบบ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๓ ISBN : 978-974-422-608-2
  • 2. รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย มูลนิธิเพื่อการวิจัยและพัฒนาระบบยา พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๓
  • 3. รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ บรรณาธิการ อรุณี ไทยะกุล สมเกียรติ โพธิสัตย อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ จัดพิมพโดย สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท ตําบลตลาดขวัญ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐ ๒๕๙๐ ๖๒๔๙ และ ๐ ๒๕๙๐ ๖๓๘๗ โทรสาร ๐ ๒๙๖๕ ๙๘๔๔ URL : http://www.dms.moph.go.th/imrta ISBN : 978-974-422-608-2 พิมพครั้งแรก เมษายน ๒๕๕๔ จํานวน ๕๐๐ เลม จํานวนหนา ๘๘ หนา พิมพที่ บริษัท อิส ออกัส จํากัด กรุงเทพมหานคร
  • 4. คํานํา ยาเปนเทคโนโลยีดานสุขภาพหนึ่งที่มีสัดสวนคาใชจายที่สูง..และมีผลกระทบอยางมาก ตองบดุลของโรงพยาบาล...โรงพยาบาลทุกแหงมีขอมูลการใชยาอยูแลว...แตสวนใหญมักจะอยู ในรูปแบบที่ไมเอื้อตอการนํามาประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผูบริหาร...มีโรงพยาบาล เพียงนอยแหงที่นําขอมูลเกี่ยวกับการใชยามาใชประกอบการตัดสินใจทั้งในระดับนโยบาย...และ ระดับเวชปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ กรมการแพทยไดเล็งเห็นถึงความสําคัญและจําเปนในการนําระบบการจัดการขอมูล ดานยาที่มีความเปนมาตรฐานมาใชกับสถานบริการสุขภาพ...เพื่อสนับสนุนการนําขอมูลดานยา ของสถานบริการสุขภาพมาใชในการติดตามและประเมินผล...(monitoring and evaluation) การใชยาอยางตอเนื่อง...และเพื่อสรางสารสนเทศที่สามารถใชประโยชนในการสนับสนุนการ ตัดสินใจแบบ evidence-based decision-making ทั้งในระดับสถานบริการสุขภาพและระดับ นโยบายของประเทศ กรมการแพทย โดย สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทยจึงไดรวมมือกับ มูลนิธิเพื่อการวิจัยและพัฒนาระบบยา (วพย.) ซึ่งมีความชํานาญในการจัดการขอมูลยาขนาด ใหญ จัดทําโครงการ “การจัดการขอมูลดานยาเพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยา อยางเปนระบบ”...เพื่อใหสถานบริการสุขภาพไดพัฒนาโครงสร างระบบขอมูลยา...และทราบ วิธีการประเมินการใชยาในดานตางๆ...นอกจากนี้ยังเปนโอกาสใหบุคลากรที่เกี่ยวของกับการใชยา และบริหารจัดการดานยาไดเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณการจัดการขอมูลดานยา...เพื่อ นําไปใชประโยชนตอยอดในการปฏิบัติงาน...เชน...การติดตามการใชยา...การกําหนดนโยบาย ที่เกี่ยวกับการใชยา ตลอดจนเปนการสรางขอมูลเชิงประจักษของหนวยงาน ทั้งนี้ขอมูลปอนกลับ จะชวยในการพัฒนากระบวนการทํางานเพิ่มคุณภาพการรักษาพยาบาล...เพิ่มประสิทธิภาพ ในการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัด...ลดความเสี่ยงในการทํางาน...ตลอดจนใชเปนขอมูลสําหรับ หนวยงานในการจัดการกับระบบประกันสุขภาพอีกดวย (นายแพทยเรวัต วิศรุตเวช) อธิบดีกรมการแพทย
  • 5.
  • 6. บทสรุปผูบริหาร สารสนเทศที่ถูกตอง ตรงประเด็น และทันสมัย เปนองคประกอบนําเขาที่สําคัญอยางยิ่งสําหรับ การตัดสินใจดานตางๆ ตั้งแตระดับจุลภาคไปจนถึงมหภาค เพื่อใหการตัดสินใจตั้งอยูบนฐานของหลักฐาน ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของ ยาเปนทรัพยากรสุขภาพที่มีสัดสวนมูลคาการใชคอนขางสูงเมื่อเทียบกับคาใชจายสุขภาพโดยรวม สําหรับประเทศไทยพบวามูลคาการใชยาในผูปวยนอกคิดเปนรอยละ 70 ของคาใชจายในการรักษาผูปวยนอก และคิดเปนรอยละ 30 ของคาใชจายในการรักษาผูปวยใน การมีสารสนเทศที่ถูกตอง ตรงประเด็น ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจทางนโยบาย และติดตามและประเมินคุณภาพ และความเหมาะสมของการรักษา ดวยยาจึงเปนสิ่งที่สําคัญ และจําเปน โครงการจัดการขอมูลดานยาเพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบจัด ทําขึ้นโดยมีโรงพยาบาล 16 แหงเขารวมโครงการ ในจํานวนนี้ 11 แหงเปนโรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย และอีก 5 แหงเปนโรงพยาบาลนอกสังกัดกรมการแพทย โครงการนี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมิน การใชยาในดานตางๆ...ซึ่งสวนหนึ่งเปนขอมูลพื้นฐานที่สถานบริการสุขภาพใชสําหรับติดตามสถานการณ การใชยา ซึ่งหากมีการสรางขอมูลอยางสมําเสมอ จะทําใหเห็นแนวโนมการใชยา และชวยใหชี้ปญหาของ ระบบยาไดอยางรวดเร็วและทันทวงที นอกจากนี้การวิเคราะหเจาะลึกประเด็นปญหาการใชยา ยังชวยทําให สถานบริการสุขภาพเกิดความเขาใจในสภาพปญหามากขึ้นและไดขอมูลปอนกลับสําหรับชวยการตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนหรือผลักดันนโยบาย กรอบใหญที่ใชในการวิเคราะหและประเมินผลสําหรับโครงการนี้คือ...การติดตามแนวโนมการใชยา (utilization..trend)..การประเมินการทํางานของโรงพยาบาลเทียบกับแนวปฏิบัติที่ดี...ซึ่งสะทอนเรื่องของ คุณภาพการรักษา (quality of care) การดูประสิทธิภาพ (efficiency) ของระบบยาเพื่อชวยลดการใชงบ ประมาณดานยาเกินความจําเปน การดําเนินงานโครงการประกอบดวยขั้นตอนหลักๆ 7 ขั้นตอนไดแก การศึกษาโครงสรางขอมูล ของโรงพยาบาล การตรวจสอบขอมูลในฐานขอมูล (ทั้งในแงความครบถวน และความถูกตอง) การจับคูรหัส ยา และสิทธิการรักษา การแปลงขอมูลใหอยูในโครงสรางหรือรูปแบบกลางที่พรอมวิเคราะหขอมูล การตรวจ ทานความถูกตองในการแปลงขอมูล การกําหนดคําถามที่โรงพยาบาลตองการทราบ การวิเคราะหขอมูล และการนําเสนอขอมูล รายงานฉบับนี้กลาวถึงผลการวิเคราะหขอมูลการจายยาของโรงพยาบาลโดยแยกเปน...2...สวน ส ว นแรกเป น ส ว นการวิ เคราะห ข อ มู ล พื้ นฐานที่ บ ง บอกถึ ง การรั บ บริ ก ารด า นยาในช ว ง...1...ป . ..และ สวนที่...2 เปนการเจาะลึกสําหรับบางตัวยา กลุมยา หรือกลุมโรคเพื่อใหเขาใจสถานการณชัดเจนมากยิ่งขึ้น จากการวิเคราะหขอมูลโรงพยาบาลสรุปเปนประเด็นตางๆ ไดดังนี้ •.มูลคาการใชยา.และคายาเฉลี่ย/คน/ปของผูปวยสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการสูงกวาผูปวย สิทธิอื่นอยางมากทั้งที่ผูปวยมีจํานวนนอยเมื่อเทียบกับผูปวยสิทธิอื่น...หนึ่งในสาเหตุที่ทําใหเปนเชนนี้คือวิธี การจายเงินคายาแบบปลายเปดของผูปวยขาราชการ...ผูปวยมีโอกาสมากกวาที่จะไดรับยาตนแบบซึ่งมีราคา สูง...หรือไดยาที่ใหมที่อยูนอกบัญชียาหลักเมื่อเทียบกับผูปวยที่คายาถูกเหมาจายแบบปลายปด...แตการที่
  • 7. ผูปวยสิทธินี้มีคายา/คน/ปสูงมาจากสถานพยาบาลใหยาฟุมเฟอยเกินความจําเปนหรือไม...หรือในความเปน จริงเปนการใชยาที่สมเหตุสมผลแลว...หรือในมุมตรงขามผูปวยประกันสังคม...และประกันสุขภาพถวนหนา ไดรับยาที่นอยกวาที่ควรจะไดรับ ก็ยังเปนสิ่งที่ตองพิสูจนเพื่อเปนการประกันคุณภาพการรักษาพยาบาลตอไป • สถานพยาบาลเกือบทุกแหงมีการจายยาในปริมาณที่มาก เชน พบการจายยาตอ 1 ใบสั่งใน ปริมาณที่มากกวาการใช 6 เดือน หรือการจายยาใหผูปวยรายหนึ่งๆ ในปริมาณที่มากกวาการใชในระยะ เวลา 1 ป การจายยาคราวละมากๆ แมจะเปนการชวยลดภาระผูปวยที่มีปญหาเรื่องการเดินทาง แตในทาง ตรงขามอาจกอใหเกิดความสูญเสียไดหากผูปวยตองเปลี่ยนยา...ทํายาหาย...หรือเก็บรักษายาในสภาพที่ไม เหมาะสม • การแทนที่ยาดวยยาชื่อสามัญ หรือยาอื่นที่มีฤทธิทางเภสัชวิทยาเหมือนกัน ใหผลในการรักษา ไมแตกตางกัน แตมีราคาถูกกวา จะชวยใหคายาของประเทศลดลงได ชวยลดตนทุนการจัดซื้อยาสํารอง ในคลัง แตขณะเดียวกันทําใหรายไดของโรงพยาบาลลดลง การผลักดันนโยบายนี้ใหไดผลตองคํานึงถึงผล การรักษาของผูปวยแตละรายเปนอันดับแรก ซึ่งหากใชไมไดผลแพทยสามารถปรับยาใหผูปวยได และขณะ เดียวกันผูท่ไดประโยชนจากนโยบายนี้ (เชนผูใหประกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งกรมบัญชีกลาง) อาจจะตองมีวิธี ี สรางจูงใจทางการเงินใหกับโรงพยาบาลเพื่อชดเชยผลประโยชนที่โรงพยาบาลสูญเสียไป • การติดตามคุณภาพการรักษาเทียบกับมาตรฐานการรักษาที่ดีชวยใหทราบวาแนวทางการรักษาผู ปวยปจจุบันเปนอยางไร พบวา - รอยละ 30 ของผูปวยเบาหวานที่อายุ 65 ปขึ้นไป ยังไดรับยา Glibenclamide ซึ่งอาจทําใหเกิด ภาวะ hypoglycemia ไดในผูปวยที่การทํางานของตับ และไตไมดี - รอยละ 44 และรอยละ 35 ของผูปวยเบาหวาน ไมไดรับยาลดไขมัน และยาตานการแข็งตัวของ เกร็ดเลือดเพื่อปองกันความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ตามลําดับ - รอยละ 63.28 ของผูปวย Primary open angle glaucoma ไดรับยาที่เปน Drug of Choice (Beta Blockers หรือ Prostaglandins) - รอยละ 7 ของผูปวย Primary open angle glaucoma ไดรับยาสเตียรอยดชนิดหยอดตาซึ่งอาจ ทําใหภาวะความดันในลูกตาสูงขึ้น - รอยละ 12.36 ของใบสั่งยาของผูปวยที่ไมมีความเสี่ยงในการเกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร ไดรับยา COX-2 Inhibitor โดยในจํานวนนี้รอยละ 35.48 ไดรับยา Proton Pump Inhibitor รวมดวย ขณะ ที่ในกรณีที่ผูปวยมีปจจัยเสี่ยงตอการเกิดภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารถึงรอยละ 40.27 ไดรับยา NSAIDs โดยไมไดรับยา H2 Antagonist หรือ Proton Pump Inhibitor รวมดวย - รอยละ 23.32 ของใบสั่งยาของผูปวย stroke ไมไดรับยาตานการแข็งตัวของเกร็ดเลือดหรือยา ละลายลิ่มเลือด และ รอยละ 40 และ 14.49 ของผูปวย stroke ไมไดรับยาลดไขมัน และยาลดความดันตาม ลําดับ ทั้งนี้สารสนเทศที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลการจายยา สามารถนําไปพัฒนาการปฏิบัติงาน ทั้งใน แงคณภาพการรักษาดวยยา และการเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารจัดการระบบยาตอไป ุ
  • 8. สารบัญ หนา บทนํา ...................................................................................................................... 11 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ................................................................................. 14 วิธีการศึกษา ............................................................................................................. 17 ผลการดําเนินการ ..................................................................................................... 19 สรุปบทเรียนรู ........................................................................................................... 37 อภิปรายและขอเสนอแนะ.......................................................................................... 45 เอกสารอางอิง............................................................................................................ 47 ภาคผนวก.................................................................................................................. 49 - โครงการการจัดการขอมูลดานยาเพื่อติดตามและประเมินผล 51 การใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ - สําเนาคําสั่งกรมการแพทย ที่ 212 / 2552 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางาน 55 จัดการขอมูลยาเพื่อติดตามและประเมินผลการใชยา-นโยบาย ดานยาอยางเปนระบบ - เอกสารประกอบการอบรม 57
  • 9. สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1 ภาพรวมการใชบริการดานยาโดยเฉลี่ยของผูปวยนอก …………….........20 ของสถานบริการสุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2550 และ 2551 ตารางที่ 2 ภาพรวมมูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอก แยกตามสิทธิการรักษา……........21 ของสถานบริการสุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2551 ตารางที่ 3 ภาพรวมการใชบริการดานยาของผูปวยในโดยเฉลี่ยในแตละโรงพยาบาล 22 ตารางที่ 4 การแปลงปริมาณยาแตละรายการจากเม็ดเปนวัน……………………….....…25 ตารางที่ 5 มูลคายาที่มีการจายใหผูปวยมากกวา 365 วัน และ 400 วัน........................26 ตารางที่ 6 การครอบครองยาในปริมาณที่มากเกิน 365 วัน และ 180 วัน ………….....27 กรณียาแกแพ ยาสําหรับโรคกระเพาะอาหาร และกลุมยาแกปวด แกอักเสบ (NSAIDs) ตารางที่ 7 ผลของการแทนที่ยาทั้ง 6 กลุมในรพ. 12 แหง.............................................30 ตารางที่ 8 การจายยา NSAIDs และยาปองกันภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร 31 ใหกับผูปวยของสถานบริการสุขภาพ 13 แหง ตารางที่ 9 การจายยา Glibenclamide ในผูปวยเบาหวานสูงอายุ และการเกิด.. 34 ภาวะ hypoglycemia
  • 10. สารบัญภาพ หนา ภาพที่ 1 มูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอก แยกตามสิทธิการรักษาจําแนก……........….21 แตละสถานบริการสุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2551 ภาพที่ 2 กราฟแสดงปริมาณยาที่จายในแตละใบสั่งสําหรับยาเม็ด ………………….......24 Paracetamol 500 mg ในกลุมผูปวยนอก โรงพยาบาล แหงหนึ่ง ปงบประมาณ 2551 ภาพที่ 3 ผูปวยที่มีความเสี่ยงในการเกิดภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร…………......32 ที่ไดรับยา Traditional NSAIDs แบงตามการไดรับยาเพื่อลดผลขางเคียง ภาพที่ 4 การจายยา COX-2 ในผูปวยที่ไมมีความเสี่ยงตอการเกิดภาวะ……………......32 เลือดออกในกระเพาะอาหารและการไดรับยาปองกันภาวะเลือดออก ในกระเพาะอาหาร ภาพที่ 5 สัดสวนผูปวยเบาหวานที่ไดรับยากลุม HMG CoA Reductase.......................35 Inhibitor ภาพที่ 6 สัดสวนของผูปวยเบาหวานที่มีปจจัยเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซอน……........36 จากโรคหัวใจและหลอดเลือด ที่ไดรับยา Antiplatelet
  • 11.
  • 12. บทนํา ความเปนมา ยาเปนทรัพยากรสุขภาพที่มีสัดสวนมูลคาการใชสูงเมื่อเทียบกับคาใชจายสุขภาพโดยรวม สําหรับประเทศไทยพบวามูลคาการใชยาคิดเปนรอยละ..70..ของคาใชจายในการรักษาผูปวยนอก และคิดเปนรอยละ.30..ของคาใชจายในการรักษาผูปวยใน..ผูมีสวนเกี่ยวของในระบบสุขภาพจึง เพงเล็งเรื่องการใชยา...โดยมีความพยายามที่จะควบคุมการใชยาใหเปนไปอยางสมเหตุสมผล...มี ประสิทธิภาพ และคุมคา ปจจุบันมีสถานบริการสุขภาพจํานวนนอยแหงที่มีขอมูลการใชยาที่ครบถวน ถูกตอง และ เปนปจจุบัน...เพื่อชวยสนับสนุนการตัดสินใจตางๆ...ที่เกี่ยวของกับนโยบายดานยา...สาเหตุหลัก มาจาก.1)..ขาดแผนงานในการกําหนดโครงสรางขอมูลและมาตรฐานขอมูล..ทําใหไมสามารถ รวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ..ไดโดยงาย 2) รูปแบบการเงินการคลังของระบบประกันสุขภาพที่ เปนแบบเหมาจายรายหัว และเหมาจายรายโรคทําใหทั้งผูจายเงินและผูใหบริการไมเห็นความสําคัญ ในการเก็บขอมูลการใชยา 3) สถานบริการสุขภาพขาดแคลนบุคลากรที่เชี่ยวชาญการจัดการขอมูล และบุคลากรสวนใหญมีภาระประจําในการดูแลผูปวยทีหนักมากอยูแลว ่ กรมการแพทยไดเล็งเห็นถึงความสําคัญและจําเปนในการนําระบบการจัดการขอมูลดาน ยาทีมความเปนมาตรฐานมาใชกบสถานบริการสุขภาพ จึงไดมอบ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยี ่ ี ั ทางการแพทย จัดทําโครงการ “การจัดการขอมูลดานยาเพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบาย ดานยาอยางเปนระบบ”...เพื่อสนับสนุนการนําขอมูลดานยาของสถานบริการสุขภาพมาใชในการ ติดตามและประเมินผล (monitoring and evaluation) การใชยาอยางตอเนื่อง และเพื่อสราง สารสนเทศที่สามารถใชประโยชนในการสนับสนุนการตัดสินใจแบบ evidence-based decision- making..ในระดับสถานบริการสุขภาพ..โดยรวมมือกับมูลนิธิเพื่อการวิจัยและพัฒนาระบบยา. (วพย.)..ที่มีความชํานาญในการจัดการขอมูลยาขนาดใหญ..เพื่อใหสถานบริการสุขภาพมไดพัฒนา โครงสรางระบบขอมูลยา...รวมทั้งทราบวิธีการประเมินการใชยาในดานตางๆ...นอกจากนี้ยังเปน โอกาสใหบุคลากรที่เกี่ยวของกับการใชยา...และบริหารจัดการดานยาไดเรียนรู...และแลกเปลี่ยน ประสบการณการจัดการขอมูลดานยา...เพื่อนําไปใชประโยชนตอยอดในการปฏิบัติงาน...เชนการ ติดตามการใชยา...การกําหนดนโยบายที่เกี่ยวกับการใชยาตลอดจน...เปนการสรางขอมูลเชิง ประจักษของหนวยงาน...ทั้งนี้ขอมูลปอนกลับจะชวยในการพัฒนากระบวนการทํางานเพิ่มคุณภาพ การรักษาพยาบาล...เพิ่มประสิทธิภาพในการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัด...ลดความเสี่ยงในการทํางาน ตลอดจนใชเปนขอมูลสําหรับหนวยงานในจัดการระบบประกันสุขภาพ
  • 13. วัตถุประสงค 1....พัฒนาวิธีการจัดการโครงสรางของระบบขอมูลดานยา ระเบียบวิธีการประเมิน และ ติดตามการใชยาของโรงพยาบาล...และพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรในการประเมินและ ติดตามการใชยาอยางตอเนื่อง 2. ประเมินการใชยาในดานตางๆ ทําใหทราบปญหาของระบบยา ปญหาการใชยา ทั้งใน ดานคุณภาพการรักษา และประสิทธิภาพในการบริหารจัดการระบบยาในระดับสถานบริการสุขภาพ ระยะเวลาดําเนินการ ธันวาคม 2551 – ธันวาคม 2553 กลุมเปาหมาย สถานบริการสุขภาพ จํานวน 17 แหง ประกอบดวย 1. โรงพยาบาล/สถาบันในสังกัดกรมการแพทย จํานวน 11 แหง 2. โรงพยาบาลนอกสังกัดกรมการแพทย จํานวน 6 แหง ไดแก - โรงพยาบาลทั่วไป 3 แหง - โรงพยาบาลศูนย 3 แหง วิธีดําเนินการ 1..จั ด อบรมให ค วามรู ในการจั ด การระบบข อ มู ล ด า นยาให แ ก ผู บ ริ ห าร..เภสั ช กร..และ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ เชน เจาหนาที่เทคโนโลยีสารสนเทศ เจาหนาที่บันทึกขอมูล เจาหนาที่ดูแลฐาน ขอมูลยาของโรงพยาบาล เปนตน 2..จัดระบบขอมูลยาจากระบบคอมพิวเตอรของสถานบริการสุขภาพที่เขารวมโครงการให เขากับรหัสมาตรฐาน เพื่อใหรหัสตางๆ อยูบนมาตรฐานเดียวกัน สื่อสารกันได สําหรับการวิเคราะห ขอมูล 3. ติดตามและประเมินการใชยาทั้งในแตละระดับและกลุมสถานบริการสุขภาพในดานตางๆ 4. ติดตามและประเมินนโยบายดานยาในระดับสถานบริการสุขภาพ และกลุมสถานบริการ สุขภาพ 5. นําเสนอขอมูลสูสาธารณะถึงผลการติดตามและประเมินการใชยาและนโยบายดานยาใน ระดับสถานบริการสุขภาพ และกลุมสถานบริการสุขภาพ รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา 12 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
  • 14. ขอพิจารณาดานจริยธรรม สถานบริการสุขภาพทั้ง 11 แหง ไดยินยอมสมัครใจเขารวมโครงการ และผูอํานวยการได ลงนามเปนลายลักษณอักษรในการใหขอมูล และการนําเสนอผลการศึกษาในภาพรวม โดยไมมีการ ระบุชื่อสถานบริการสุขภาพในการนําเสนอขอมูล งบประมาณ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนวิชาการ กรมการแพทย ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1...ชวยใหสถานบริการสุขภาพสามารถนําขอมูลดานยามาใชใหเกิดประโยชนในการบริหาร การจัดการ 2...สงเสริมใหบุคลากรของสถานบริการสุขภาพตระหนักถึงความสําคัญและประโยชนของ การนําขอมูลที่มีอยูแลวในสถานบริการสุขภาพมาใชเปนเครื่องมือในการตัดสินใจทางนโยบาย และ การปฏิบัติ 3...เพื่อใหเกิดระเบียบวิธีวิจัยสําหรับการประเมินและติดตามการใชยาทั้งในระดับสถาน บริการสุขภาพและในระดับนโยบาย 4...พั ฒ นาขี ด ความสามารถของบุ ค ลากรในการประเมิ น ...และติ ด ตามการใช ย าใน โรงพยาบาล 5. ผูกําหนดนโยบาย สถานบริการสุขภาพ และผูใหบริการ สามารถติดตามผลของการ ประกาศใชนโยบายดานยา ทั้งผลที่พึงประสงค และผลที่ไมพึงประสงค เพื่อการพัฒนาปรับปรุงการ ทํางานใหดียิ่งขึ้นอยางตอเนื่อง รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ 13
  • 15. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ เปนที่ประจักษแลววาการจัดการดานยาเปนองคประกอบสําคัญในการบรรเทา...การบําบัด อาการ...การปองกัน...และการรักษาโรคและสภาวะของผูปวย...การจัดการดานยาครอบคลุมระบบ และกระบวนการที่องคกรใชในการใหบริการดานเภสัชกรรมบําบัดแกผูปวย...การจัดการดานยา ไมใชเปนความรับผิดชอบของกลุมงาน/ฝายเภสัชกรรม...แตยังเปนความรับผิดชอบรวมของผูให บริการหรือหัวหนางาน/ผูจัดการทางคลินิก...ตองการความเปนสหสาขาวิชาชีพ...อันเปนความ พยายามที่จะประสาน บูรณาการกิจกรรมของบุคลากรในสถานบริการสุขภาพ บนหลักการของการ ออกแบบกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ...การนําลงสูการปฏิบัติ และการปรับปรุงการคัดเลือก การ จัดหา การเก็บรักษา การสั่งใชยา การถายทอดคําสั่ง การกระจาย การเตรียม การสงมอบการ บริหาร การบันทึกเอกสาร และการติดตาม ที่เกี่ยวของกับการบําบัดดานยา นอกจากนี้ในเชิงระบบ ยังครอบคลุมเรื่องการวางแผน การจัดองคกร และการประเมินผลการจัดการเชิงระบบ ทั้งนี้โดยมี เปาประสงคหลักที่สําคัญคือความปลอดภัยผูปวย1 องคการอนามัยโลกรายงานวา...ในปจจุบันการใชยาทั่วโลก...ไมตํากวาครึ่งหนึ่งเปนการ ใชโดยเปลาประโยชน...ไมมีความจําเปนหรือเปนยาที่ไมมีประสิทธิภาพ...สําหรับประเทศไทยมีการ บริโภคยาประมาณปละ 67,000 ลานบาท ซึ่งสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบานและประเทศที่ พัฒนาแลว...การบริโภคยาที่สูงมากทําใหประเทศไทยสูญเสียเงินเปนเงินตราตางประเทศในการนํา เขายาสําเร็จและวัตถุดิบจํานวนมหาศาล ขณะที่สุขภาพของคนไทยมิไดดีไปกวาประเทศอื่นที่มีการ บริโภคตํากวา2 การใชยาอยางสมเหตุผล...หมายถึง...การใชยาโดยมีขอบงชี้...เปนยาที่มีประสิทธิภาพจริง สนับสนุนดวยขอมูลหลักฐานที่ปราศจากขอโตแยง ใหประโยชนทางคลินิกที่เหนือกวาความเสี่ยงจาก การใชยาอยางชัดเจน มีราคาเหมาะสม คุมคาตามหลักเศรษฐศาสตรสาธารณสุข เปนการใชยาตาม ขั้นตอนที่ถูกตองตามแนวทางการพิจารณาการใชยา...โดยใชยาในขนาดยาที่เหมาะสมกับผูปวย ในแตละกรณี...ดวยวิธีการใหยาและความถี่ในการใหยาที่ถูกตองตามหลักเภสัชวิทยาคลินิก...ดวย ระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม ผูปวยใหการยอมรับและสามารถใชยาดังกลาวไดอยางถูกตองและ ตอเนื่อง...กองทุนในระบบประกันสุขภาพหรือระบบสวัสดิการสามารถใหเบิกจายคายานั้นไดอยาง ยั่งยืน...และเปนการใชยาที่ผูปวยทุกคนสามารถใชยานั้นไดอยางเทาเทียมกัน...สาเหตุสําคัญสวน หนึ่งเกิดจากการบริโภคยาที่ไมเหมาะสม เกินความจําเปนและใชยาราคาแพงอยางไมคุมคา ทั้งจาก การรักษาตนเองของคนไข...การสั่งใชยาที่ไมสมเหตุผลของแพทย เภสัชกร พยาบาลหรือคนขายยา ซึ่งเนื่องจากการขาดความรู...ความเขาใจที่ถูกตองตลอดจนการถูกจูงใจจากกลยุทธทางการตลาด ของธุรกิจยา3 รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา 14 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
  • 16. การใชยาในระดับโรงพยาบาลมีปจจัยหลายๆ ปจจัยที่เกี่ยวของตั้งแตระดับนโยบาย การใช ยาตามบัญชียาหลักแหงชาติ ตามแนวทางเวชปฏิบัติ ตามสภาพความเจ็บปวยของผูปวยแตละราย การใชยาอยางสมเหตุผล หรือเหมาะสมนั้นเปนสิ่งจําเปน เพราะนอกจากจะสงผลตอผูปวยโดยตรง แลว ยังสงผลถึงคาใชจายทั้งในระดับสถานบริการสุขภาพ ไปจนถึงระดับประเทศ ตัวอยางเชน การรักษาดวยยาปฏิชีวนะ...ที่มีอยูในปจจุบันก็มีอัตราการประสบความสําเร็จที่ตําลง เพราะปญหาเชื้อดื้อยาที่เพิ่มสูงขึ้นจนกลายเปนปญหาสาธารณสุขระดับโลก...จากการศึกษาของ ศิริตรี..สุทธจิตต,.2552..โดยการทบทวนเอกสารวิชาการสถานการณเชื้อดื้อยาในนานาประเทศ..: สถานการณการใชยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา...ระบบติดตามเฝาระวัง...และการควบคุม...พบวา4 สถานการณการใชยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา...ระบบติดตามการใชยาปฏิชีวนะ...ระบบเฝาระวังเชื้อ ดื้อยา และการควบคุมการใชยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา ของ 3 ประเทศซึ่งมีอัตราการใชยาปฏิชีวนะ ที่ตํา และ/หรือมีอัตราการเกิดเชื้อดื้อยาที่ตํา อันไดแก ประเทศสวีเดน ออสเตรเลีย และเกาหลีใต ปจจัยสําคัญที่นาจะชวยใหประสบความสําเร็จในการควบคุมการใชยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา โดย เฉพาะในออสเตรเลียและสวีเดน คือการสงเสริมการใชยาปฏิชีวนะอยางเหมาะสมและการจัดการ เชื้อดื้อยาถูกจัดเปนวาระแหงชาติ ที่รัฐบาลและหนวยงาน ตางๆที่เกี่ยวของ รวมถึงภาคเอกชน ให ความสําคัญและรวมมือกันการแกไขอยางจริงจังและตอเนื่อง การใชยาลดไขมันกลุม statins โดยอรลักษณ และคณะ, 2553 ไดศึกษารูปแบบการใชยา กลุม statins ในโรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ. 2548-2550 พบวา5 การใชยากลุมนี้มีแนวโนมสูงขึ้น การเพิ่มของคาใชจายดานยาโดยรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 35.6 และ 6.4 ในปพ.ศ. 2549 และ 2550 ตาม ลําดับ..อันเปนผลมาจากผูปวยสิทธิขาราชการเปนหลัก..สวนปจจัยการเลือกใชยาพบวา..ในกลุม ผูปวยเหมาจายรายหัว มีการเปลี่ยนไปใชยาราคาตําลง ในขณะที่ในกลุมผูปวยจายตามบริการจริง มีการเปลี่ยนไปใชยาที่มีราคาสูงขึ้น...โดยสรุปการใชยากลุมนี้มีรูปแบบที่ตางกันระหวางผูปวยตาง สิทธิ และยังอาจมีผูปวยบางกลุมที่ไดรับยามากเกินควร การใชยาตานการอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด..(Nonsteroidal..antiin ammatory..drugs, NSAIDs) ในกลุม specific COX-2 inhibitor ที่นํามาใชกันอยางแพรหลายเปนจํานวนมาก ไดแก ยา celecoxib เนื่องจากยาตานการอักเสบที่ไมใช steroid แบบดั้งเดิม (conventional NSAIDs) มีผล ตอระบบทางเดินอาหาร มีการศึกษาที่แสดงใหเห็นวายากลุม COX-2 inhibitors ไมไดมีประสิทธิผล ในการลดอาการปวดเหนือกวา conventional NSAIDs แตการเกิดแผลและเลือดออกในกระเพาะ อาหารในกลุมที่ใชยา COX-2 inhibitors พบไดนอยกวา conventional NSAIDs เทานั้น อยางไร ก็ตาม ยาในกลุม COX-2 inhibitors มีราคาสูงกวา conventional NSAIDs มาก แมวาจะลดการ เกิดผลขางเคียงตอระบบทางเดินอาหาร แตผลขางเคียงนี้ก็ยังพบไดในผูที่ใชยา COX-2 inhibitors ดังนั้นการใชยากลุมนี้ควรใชเฉพาะผูปวยที่มีความเสี่ยงตอการเกิดแผลในกระเพาะอาหารเทานั้น รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ 15
  • 17. และไมควรใชยานี้เปนอันดับแรกในการรักษาคนวัยหนุมสาวหรือคนที่มีสุขภาพดี...แตควรพิจารณา ใหเฉพาะผูที่มีความเสี่ยงตอการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร...ซึ่งผูปวยอาจพบอาการขางเคียงของ กระเพาะอาหารและลําไสได6 โปรแกรมที่สามารถทบทวนการใชยาไดอยางเปนระบบ...จะชวยในกระบวนการทบทวน วิเคราะห และการแปลผลการใชยาวา เปนไปตามมาตรฐานที่ควรจะเปนของยานั้นๆ หรือไม และ ลดความผิดพลาดของการสั่งจายยา รวมถึงสามารถควบคุมคาใชจายได บุคลากรทางการแพทย ตองวางแผนดําเนินการการทบทวนการใชยาอยางระมัดระวัง รวมถึงปญหาที่จะเกิดขึ้นตามมาหาก ใชยาไมถูกตอง แนวทางการใชโปรแกรมการทบทวนการใชยาในระดับโรงพยาบาล (Guideline for implement drug utilization review programs in hospitals) มีขั้นตอนการดําเนินการแบงไดเปน 4 ระยะ ไดแก ระยะวางแผน ระยะเก็บขอมูลและประเมินผล ระยะแกไขปญหา และระยะประเมิน ผลโครงการ7-9 ระบบฐานขอมูลยาเปนสิ่งที่จําเปนและเกี่ยวของกับการใชงานประจําวัน...การตัดสินใจเชิง นโยบายดานยาในระดับโรงพยาบาลของผูบริหารจะกระทําไดรวดเร็ว ถามีขอมูลที่ถูกตองและเพียง พอ จึงมีการใชคอมพิวเตอรชวยประมวลผลเพื่อใหไดสารสนเทศดังกลาว...แตการประมวลผลดวย คอมพิวเตอรจําเปนตองมีหลักการและวิธีการที่ทําใหระบบมีระเบียบแบบแผนที่ดี...ทําใหสามารถ ติดตามประเมินผลการใชยาไดอยางเปนระบบ นําไปสูการจัดหาและการใชยาไดอยางเหมาะสม รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา 16 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
  • 18. วิธีการศึกษา การดําเนินการโครงการเนนการสรางความรู ความเขาใจใหกับผูบริหาร ผูเกี่ยวของ และ พัฒนาบุคลากรในหนวยงานใหสามารถจัดระบบขอมูลยาเพื่อการวิเคราะหขอมูล...ที่สามารถ นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตอผูบริหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใหบริการผูปวยไดอยาง มีประสิทธิภาพ...รวมทั้งสงเสริมการการใชยาที่สมเหตุผล...โดยมีรูปแบบดําเนินการตั้งแตการ อบรมใหความรู...การประชุมกลุม...การฝกปฏิบัติการจับคูรหัสยาและรหัสสิทธิการรักษาจากระบบ คอมพิวเตอรของสถานบริการสุขภาพใหเขากับรหัสมาตรฐาน และนําขอมูลที่ไดไปวิเคราะห และ แลกเปลี่ยนเรียนรูผลการวิเคราะหรวมกับหนวยงานที่เขารวมโครงการ โดยมีรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรม 1...จัดอบรมใหความรูในการจัดการระบบขอมูลดานยาใหแกผูบริหาร..เภสัชกร..และเจา หนาที่ที่เกี่ยวของ เชน เจาหนาที่เทคโนโลยีสารสนเทศ เจาหนาที่บันทึกขอมูล เจาหนาที่ดูแลฐาน ขอมูลยาของโรงพยาบาล เปนตน 2. จัดระบบขอมูลยาเพื่อการวิเคราะห • ศึกษาระบบโครงสรางขอมูล รูปแบบขอมูล และความสมบูรณของขอมูลดานยาของ สถานบริการสุขภาพแตละแหง ..• จับคูรหัสยา และรหัสสิทธิการรักษา จากระบบคอมพิวเตอรของสถานบริการสุขภาพ ใหเขากับรหัสมาตรฐาน เพื่อใหรหัสตางๆ อยูบนมาตรฐานเดียวกัน สื่อสารกันได • ถายโอนขอมูลดานยาของหนวยงานใหอยูในรูปแบบพรอมวิเคราะห • ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล .....................•..วิเคราะหขอมูลตามกรอบที่กําหนด...รวมทั้งนําเสนอตัวอยางการวิเคราะหขอมูลที่ สําคัญสําหรับการพัฒนา 3..นําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษาและแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสถานบริการสุขภาพที่เปน เจาของขอมูลนั้นๆ...ติดตามและประเมินการใชยาทั้งในแตละระดับและกลุมสถานบริการสุขภาพ ในดาน : 3.1. มูลคาและแนวโนมการใชยา โดยรวม เฉพาะกลุม และเฉพาะตัวยา 3.2. ความเหมาะสมในการใชยาในประชากร และกลุมผูปวยตางๆ เชน ผูสูงอายุ เด็ก หรือผูปวยกลุมโรคตางๆ รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ 17
  • 19. 3.3. ความเหมาะสมในการใชยาที่มีราคาแพง 3.4. การติดตามความปลอดภัยในการใชยาที่มีความเสี่ยงสูงและการใชยาที่อาจกอ ....................... ใหเกิดอันตรกิริยาระหวางยา 4....ติดตามและประเมินนโยบายดานยาในระดับสถานบริการสุขภาพ...และกลุมสถาน บริการสุขภาพ ในดานตอไปนี้ : 4.1. การเขาถึงยา โดยเฉพาะยาที่มีความสําคัญทางนโยบาย 4.2. การใชบัญชียาหลักในผูปวยแตละระบบประกันสุขภาพ 4.3. การใชระบบจายตรงในกลุมผูปวยสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ 4.4. การใชระบบ Diagnostic Related Groups (DRGs) ในกลุมผูปวยสวัสดิการ ...........................รักษาพยาบาลขาราชการ 4.5. การประมาณการมูลคาสูญเสียจากการจายยา 5....นําเสนอขอมูลสูสาธารณะถึงผลการติดตามและประเมินการใชยาและนโยบายดาน ยาในระดับสถานบริการสุขภาพ และกลุมสถานบริการสุขภาพ รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา 18 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
  • 20. ผลการดําเนินการ การศึกษานี้ไดมีการดําเนินการโดยเริ่มตั้งแตประชุมชี้แจงวัตถุประสงคโครงการใหกับ ผูบริหารโรงพยาบาล/สถาบัน และผูเกี่ยวของในการจัดการขอมูลยา ไดแก คณะกรรมการดานยา ของโรงพยาบาล เภสัชกร เจาหนาที่สารสนเทศ เจาหนาที่เวชระเบียน เปนตน จัดอบรมใหความรู ในการจัดการระบบขอมูลดานยาใหแกผูบริหาร คณะกรรมการยาของหนวยงาน และคณะทํางาน จากหนวยงานที่เขารวมโครงการทั้ง 17 แหง เพื่อใหมีความรูความเขาใจในการจัดการขอมูลดานยา สามารถใชประโยชนจากระบบขอมูลยามาประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายของผูบริหาร หรือคณะ กรรมการบริหารดานยาไดอยางถูกตอง และจัดใหมีการฝกปฏิบัติการจับคูรหัสยา และรหัสสิทธิ การรักษา...จากระบบคอมพิวเตอรของสถานบริการสุขภาพใหเขากับรหัสมาตรฐานของมูลนิธิเพื่อ การวิจัยและพัฒนาระบบยา เพื่อใหรหัสตางๆ อยูบนมาตรฐานเดียวกัน สื่อสารกันได จากนั้นถาย โอนขอมูลดานยาของหนวยงานใหอยูในรูปแบบพรอมวิเคราะห ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล วิเคราะหขอมูลตามกรอบที่กําหนด โดยไดโจทยคําถามจากความตองการของแตละหนวยงาน รวม ทั้งจากขอสังเกตของผูวิเคราะหขอมูล...มีการประชุมติดตามการดําเนินงานสถานบริการสุขภาพที่ เขารวมเปนระยะ...โดยสะทอนขอมูลกลับโดยมีรายละเอียดผลการวิเคราะหดานตางๆใหกับหนวย งานที่เปนเจาของขอมูลไดทราบ และเมื่อเสร็จสิ้นโครงการไดมีการนําเสนอขอมูลดานยาจากหนวย งานทุกแหง วิเคราะหเปนภาพรวมเสนอตอผูบริหารทั้งระดับกรมฯ ระดับหนวยงาน และบุคลากรที่ เกี่ยวของการบริหารยา การวิเคราะหขอมูลดานยาของสถานบริการสุขภาพที่เขารวมโครงการ ในจํานวน 17 แหง มี 1 แหง ที่ไมสามารถนําขอมูลมาวิเคราะหรวมได เนื่องจาการบันทึกขอมูลไมสมบูรณ และไมได บันทึกในระบบอิเล็กทรอนิกส และในบางประเด็นที่วิเคราะหอาจจะไดไมครบทั้ง 17 แหง เนื่องจาก ความถูกตองครบถวนของขอมูลยาไมเทากัน...และการศึกษานี้จะวิเคราะหขอมูลเฉพาะขอมูลที่มี ความครบถวน และถูกตอง สวนขอมูลที่มีคาผิดปกติ (outlier) จะไมนํามาวิเคราะหรวมดวย 1. ภาพรวมการใชยาในโรงพยาบาล 1.1. ภาพรวมการใชบริการดานยาของผูปวยนอก ขอมูลจากโรงพยาบาลตางๆ ถูกนํามาวิเคราะหเพื่อใหเห็นภาพรวมการใชยาในโรงพยาบาล ในเบื้องตนการวิเคราะหภาพรวมจะเนนที่ภาพของผูปวยนอกกอน...เนื่องจากโรงพยาบาลสวนใหญ มีขอมูลการจายยาในสวนของผูปวยนอกครบถวนสมบูรณ ประเด็นการวิเคราะหมีดังนี้ รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ 19
  • 21. • จํานวนผูปวยนอกที่มารับบริการดานยาใน 1 ป • จํานวนครั้งของการใหบริการดานยาใน 1 ป • มูลคายาโดยรวมของผูปวยนอกใน 1 ป • จํานวนครั้งของการมารับบริการดานยาเฉลี่ย/คน/ป • จํานวนรายการยาที่ผูปวยไดรับเฉลี่ย/คน/ป • คายาผูปวยนอกเฉลี่ย/คน/ป คายาผูปวยนอกเฉลี่ย/ครั้ง • คายาผูปวยนอกเฉลี่ย/คน/ป แยกตามสิทธิการรักษา ตารางที่ 1 : ภาพรวมการใชบริการดานยาโดยเฉลี่ยของผูปวยนอกของสถานบริการสุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2550 และ 2551 รายละเอียด ปงบประมาณ 2550 2551 จํานวนผูปวย (คน) 40,518 41,603 จํานวนครั้ง (visit) 123,229 1 32,229 คายา (บาท) 48,480,210 2 317,995,623 จํานวนรายการยา (item) 503,089 554,513 คายา / visit 2,016.41 / 3,700.66 2,404.89 / 4,383.84 รายการยา / visit 4.08 / 2.18 4.19 / 2.37 Visit / คน 3.04 / 2.38 3.18 / 2.70 คายา / คน 6,132.59 / 15,202.92 7,643.57 / 17,658.82 รายการยา / คน 12.42 / 1 3.59 13.33 / 1 5.79 จากตารางที่ 1 เมื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวมพบวา 1. จํานวนผูปวย จํานวนครั้งของการใหบริการดานยา และจํานวนรายการยาในโรงพยาบาล ระดับตางๆ เปนไปตามศักยภาพ และความสามารถของสถานพยาบาล 2...คายาตอปเพิ่มสูงขึ้นตามระดับศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของโรงพยาบาล..ทั้งนี้ไมนับรวมโรง พยาบาลบางแหงซึ่งมีความเฉพาะทางคอนขางสูงซึ่งแมจํานวนผูปวย...และจํานวนครั้งของการให บริการดานยาจะนอยกวาโรงพยาบาลที่มีขนาดใหญกวา...เชน...โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย...แตพบวา คายาตอปไมแตกตางไปจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยมากนัก 3...คายาตอคนตอปเพิ่มสูงขึ้นตามศักยภาพของโรงพยาบาลที่ใหบริการ..โดยคายาตอคน ตอปไมแตกตางมากนักระหวางโรงพยาบาลศูนย และโรงพยาบาลทั่วไป และพบเชนเดียวกันวาคายา ตอคนตอปในโรงพยาบาลที่มีความเฉพาะทางสูงมีคาสูงไมแตกตางจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา 20 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
  • 22. มูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอกตอคนตอป แยกตามสิทธิการรักษาในโรงพยาบาล เมื่อ วิเคราะหทั้ง 16 แหง พบวา คายาตอคนตอปสําหรับผูปวยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ สูงกวาผูปวยภายใตระบบประกันสังคม...และผูปวยภายใตระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ในโรงพยาบาลเกือบทุกแหง (ภาพที่ 1 และตารางที่ 2) ภาพที่ 1 : มูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอก แยกตามสิทธิการรักษาจําแนกแตละสถานบริการ สุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2551 ตารางที่ 2 : ภาพรวมมูลคาการใชยาในกลุมผูปวยนอก แยกตามสิทธิการรักษา ของสถานบริการ สุขภาพ 16 แหง ปงบประมาณ 2551 รวม ขรก สปสช สปส เงินสด จํานวนผูปวย (คน) 41,603 20,500 2,362 272 18,469 จํานวน visit (visit) 132,229 70,892 13,757 882 46,698 คายา (บาท) 317,995,623 247,630,535 14,382,007 2,627,093 53,355,987 จํานวนรายการยา (item) 554,513 321,419 57,971 2,659 172,464 คายา / visit 2404.89 463.84 3493.07 5437.57 1045.43 1172.37 2978.56 4711.14 1142.58 2066.68 รายการยา / visit 4.19 2.37 4.53 2.54 4.21 2.48 3.01 1.72 3.68 1.93 visit / คน 3.18 2.70 3.46 2.45 5.82 5.82 3.24 2.22 2.53 1.98 คายา / คน 7643.57 17658.82 12079.54 22911.67 6088.91 11657.00 9658.43 19976.88 2888.95 7192.47 รายการยา / คน 13.33 15.79 15.68 15.59 24.54 33.31 9.78 10.14 9.34 10.49 รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ 21
  • 23. เมื่อทําการวิเคราะหยอยในกลุมผูปวยนอกในแตละชวงอายุ เพศ และสิทธิการรักษาพบวา • สถานพยาบาลสวนใหญมีผูปวยอายุระหวาง 40-70 ป เปนจํานวนมาก ซึ่งผูปวยเหลานี้ เปนกลุมที่มีคาใชจานดานยาตอคนตอปสูงเมื่อเปรียบเทียบกลับกลุมอายุอื่นๆ •..คาใชจายดานยาตอคนตอปในการดูแลรักษาพยาบาลผูปวยสูงขึ้นเมื่อผูปวยมีอายุมากขึ้น โดยสูงที่สุดในชวงอายุ 80 ปขึ้นไป อยางไรก็ตามพบวาในสถานพยาบาลบางแหงที่มีความเฉพาะทาง สูงคาใชจายดานยาตอคนตอปในผูปวยกลุมที่มีอายุนอยอาจสูงกวาเนื่องจากความซับซอนของโรค ที่แตกตางจากโรงพยาบาลอื่นๆ 1.2. ภาพรวมการใชบริการดานยาของผูปวยใน การวิเคราะหภาพรวมการใชยาในผูปวยในมีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบสถานการณการใชยา ในกลุมผูปวยในในชวงเวลา 1 ป โดยประเด็นการวิเคราะหมีดังนี้คือ • จํานวนครั้งของการรับผูปวยเขารักษาตัวในโรงพยาบาล • มูลคายาโดยรวมของผูปวยใน • จํานวนวันนอนในชวงเวลา 1 ป • มูลคายาเฉลี่ยตอครั้งของการรักษาตัวในโรงพยาบาล • จํานวนวันนอนเฉลี่ยตอครั้งของการรักษาตัวในโรงพยาบาล ตารางที่ 3 : ภาพรวมการใชบริการดานยาของผูปวยในโดยเฉลี่ยในแตละโรงพยาบาล รพ. #admission(ครั้ง/ป) #วันนอนทั้งหมด คายารวม (บาท) วันนอนเฉลี่ย/admission คายาเฉลี่ย/admission รพศ.8 34,970 232,632 383,134,032 9.56 16.27 10,956.08 41,623.72 รพศ.5 21,551 161,121 108,441,197 7.85 17.75 5,031.84 20,003.81 รพศ.10 46,059 447,677 286,668,882 9.72 29.63 6,223.95 29,460.84 รพท.12 20,745 139,736 81,619,350 5.96 7.87 7,668.62 23,456.69 รพท.11 21,594 164,405 65,556,258 7.62 248.97 3,035.86 13,722.05 รพฉ.14 15,086 134,296 68,193,489 8.90 17.42 4,520.32 20,622.97 รพท.1 17,750 117,682 39,794,626 6.71 11.22 2,241.95 8799.20 รพฉ.9 7,046 88,158 54,033,095 12.52 17.46 7,668.62 23,456.69 รพฉ.16 7,233 58,266 107,596,512 8.09 10.00 14,875.92 23,271.75 รพฉ.3 4,105 64,017 51,396,348 15.61 23.59 12,520.43 40,266.44 รพศ.4 3,204 83,063 22,758,452 17.51 28.30 4,606.97 12,105.82 หมายเหตุ เนื่องจากขอมูลโรงพยาบาลบางแหงไมครบถวนผลการวิเคราะหนี้จึงเปนผลการวิเคราะหของขอมูลระหวาง ก.พ. 2551 – ก.ย. 2551 รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา 22 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ
  • 24. เชนเดียวกับผลการวิเคราะหขอมูลภาพรวมการใหบริการดานยาของผูปวยนอก ขอมูลจาก ตารางที่ 3 พอสรุปไดวา • จํานวน admission จํานวนวันนอนในโรงพยาบาลระดับตางๆ เปนไปตามศักยภาพ และ ความสามารถในการใหบริการของสถานพยาบาล • คายาเฉลี่ยตอ admission เพิ่มสูงขึ้นตามระดับศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของโรงพยาบาล ทั้งนี้ไม นับรวมโรงพยาบาลบางแหงซึ่งมีความเฉพาะทางคอนขางสูงซึ่งแมจํานวน admission และจํานวน วันนอนจะนอยกวาโรงพยาบาลที่มีขนาดใหญกวา เชน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย แตพบวาคายา เฉลี่ยตอ admission ไมแตกตางไปจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยมากนัก เมื่อวิเคราะหมูลคาการใชยาในกลุมผูปวยในตอคนตอป...แยกตามสิทธิการรักษาในโรง พยาบาลตางๆ พบวาคายาตอ admission สําหรับผูปวยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ สูง กวาผูปวยภายใตระบบประกันสังคม และผูปวยภายใตระบบประกันสุขภาพถวนหนาโรงพยาบาลใน โรงพยาบาลเกือบทุกแหง 1.3 ยาที่มีความถี่ในการจายบอยสําหรับผูปวยนอก และปริมาณยานั้นๆ ที่จายตอ 1 ใบสั่ง การวิเคราะหขอมูลในสวนนี้เปนการวิเคราะหเพื่อดูวารายการยาใดที่มีการสั่งจายบอยครั้ง ที่สุด และการสั่งจายดังกลาวเปนอยางไร ตัวอยางการจายยาเม็ด paracetamol 500 mg ซึ่งเปนยาที่มีการสั่งจายบอยครั้งที่สุดใน โรงพยาบาลสวนใหญ ปริมาณการสั่งจายที่พบมักเปนจํานวนเต็ม 10 เชน 10, 20 หรือ 30 เม็ด ใน กรณีนี้โรงพยาบาลอาจทําการเตรียม pre-pack ยากอนในจํานวนที่มีการสั่งจายบอยไวลวงหนาเพื่อ ยนระยะเวลาในการเตรียมยากอนทําการสงมอบยาใหผูปวยได (ภาพที่ 5) ผลจากการวิเคราะหขอมูลในสวนนี้ โรงพยาบาลสามารถนําขอมูลไปใชกับยาตัวอื่นไดโดย หากทราบวาโดยทั่วไปจายเปนปริมาณเทาไหรจะชวยใหโรงพยาบาลสามารถเตรียมจัดยาไวลวงหนา ได สามารถชวยยนระยะเวลาในการรอรับยาของผูปวยใหสั้นลงได การวิเคราะหขอมูลในลักษณะดังกลาวอาจสามารถนํามาใชในการตรวจสอบการสั่งจาย น ยาที่มีปริมาณมาก เชน การจายยานําจํานวนครั้งละ 30 ขวดใน 1 ใบสั่ง หรือการจายยาครีมครั้ง ละ 50 หลอด ซึ่งอาจมีผลตอคุณภาพของยาที่ผูปวยนําไปเก็บรักษาหากไมถูกตองอาจทําใหยาเสื่อม คุณภาพได รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ 23
  • 25. ภาพที่ 2 : กราฟแสดงปริมาณยาที่จายในแตละใบสั่งสําหรับยาเม็ด Paracetamol 500 mg ใน กลุมผูปวยนอกของโรงพยาบาลแหงหนึ่ง ปงบประมาณ 2551 2. ผลการวิเคราะหขอมูลตามกรอบการวิเคราะหเฉพาะประเด็น 2.1 การครอบครองยามากเกินกวาปริมาณการใชในชวงเวลา 1 ปี กลุมยาที่จะทําการวิเคราะหไดแก...กลุมยาสําหรับโรคเบาหวาน...โดยใชขอมูลจากยาที่มี รหัส ATC = A10B-Blood Glucose Lowering Drugs, Exclude Insulins รวม 13 รายการ เชน Metformin, Gliclazide, Acarbose, Rosiglitazone เปนตน กลุมยาสําหรับรักษาภาวะความดัน โลหิตสูง ซึ่งดึงขอมูลจากยาที่มีรหัส ATC = C08C-Selective Calcium Channel Blockers With Mainly Vascular Effects รวม 8 รายการ เชน Amlodipine, Felodipine, Manidipine เปนตน และ ยาที่มีรหัส ATC = C08C-Angiotensin II Antagonists, Plain รวม 6 รายการ เชน Losartan, Irbesartan, Valsartan เปนตน กลุมยาสําหรับรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง ซึ่งดึงขอมูลจากยาที่มี รหัส ATC = C10A-Lipid Modifying Agent ซึ่งประกอบดวยยาในกลุม HMG CoA reductase inhibitors รวม 6 รายการ เชน Simvastatin, Atorvastatin, Rosuvastatin และ ยาอื่นๆ ในกลุมนี้อีก 6 รายการ เชน Fenobrate, Gembrozil, Nicotinic Acid เปนตน การคํานวนเพื่อดูวาผูปวยเปนผูที่ไดรับยาไปครอบครองยาในปริมาณมากเกินสําหรับใชใน ชวงเวลา 1 ป คํานวนโดยรวมปริมาณยา (ตามชื่อสามัญ) ที่จายใหผูปวยในชวง 1 ปงบประมาณ หลังจากนันจะทําการแปลงจํานวนยาทีจายใหผปวยจากทีเ่ ปนเม็ด...ใหเปนปริมาณทีมหนวยนับเปนวัน ้ ่ ู  ่ ี รายงานการศึกษาการจัดการขอมูลดานยา 24 เพื่อติดตามประเมินผลการใชยา-นโยบายดานยาอยางเปนระบบ