SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 71
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1618
กลุ่มที่ 6
การวัด ประเมินผล การประกัน
คุณภาพ การวิจัยและสถิติ
การศึกษา
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1619
ตัวแบบสมการโครงสร้างและการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูจังหวัดสตูล
หมัดเฟาซี รูบามา1*
ชาลี ไตรจันทร์2
อิศรัฐฎ์ รินไธสง3
จุฑารัตน์ สถิรปัญญา4
1
นักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2,3
อาจารย์ดร. ประจาภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
4
อาจารย์ ผศ.ดร. ประจาภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
*
MZ_RBM@HOTMAIL.COM
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจสอบความกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะ
ในการปฏิบัติงานและ 2) ทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน (Invariance Model) ของตัวแบบสมการโครงสร้าง
สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
คือ ครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ครูในโรงเรียนของรัฐ จานวน 300 คน 2) ครู
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จานวน 300 คน โดยใช้การสุ่มอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้
แบบสอบถามจานวน 1 ฉบับ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.958 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์
โมเดลสมการเชิงเส้น และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนด้วยเทคนิคการวิเคราะห์โมเดลกลุ่มพหุ โดยใช้
โปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า
1. โมเดลที่สร้างขึ้นหลังปรับโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ คือ 2
(df =
131) = 363.56, p-value = 0.00, 2
/df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95, AGFI = 0.90, CFI = 0.99,
NFI = 0.99 และ SRMR = 0.036 และเมื่อพิจารณาสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมจังหวัดสตูล พบว่า
ตัวแปรสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู มีสัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 69 โดย
ได้รับอิทธิพลรวมสูงสุดจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ (TE = 0.75) รองลงมาคือ วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-
ปกป้อง (TE = 0.06) ที่ได้รับอิทธิพลทั้งทางตรงทางบวก (DE = 0.85) และทางอ้อมทางลบ (IE = -0.79) และ
ได้รับอิทธิพลทางอ้อมทางลบ (IE = -0.01) จากวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (TE = -0.01) ตามลาดับ ส่วนตัว
แปรขวัญและกาลังใจถึงแม้มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานทางตรงทางลบต่อสมรรถนะการ
ปฏิบัติงาน (DE = -0.82) แต่ก็มีผลต่อโมเดล
ตัวแปรขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงานมีสัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ
92 โดยได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง (DE = 0.96) กับวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-
ปกป้อง (DE = 0.01)
2. ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยม พบว่าโมเดลมี
ความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายเส้นพบว่ามีเส้นทางอิทธิพลจานวน 4
เส้นที่แตกต่างกัน ได้แก่ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจ ตัวแปร
จากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตัวแปรจากวัฒนธรรม
สร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และตัวแปรขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการ
ปฏิบัติงาน
คาสาคัญ : ตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู, โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม, โรงเรียนของรัฐบาล
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1620
Abstract
This study aimed to investigate 1) to check the fit of a structural equation modeling
the performance competency and 2) to test the invariability of a structural equation
modeling of competency of secondary school teachers in Satun province of Public schools
and Islamic private schools. The subjects of study were secondary school teachers. The
subjects were divided into two groups: 1) 300 teachers working for the Public schools; and 2)
300 teachers working for the Islamic private schools. The subjects were selected with simple
random sampling method. The data were collected through a questionnaire. Construct
Reliability of each questionnaire is 0.958. The data were analyzed by using linear regression
analysis model and to testing the invariability of the model with multiple group analysis
models using LISREL. The research showed that:
1. The model was consistent with the empirical data at 2
(df = 131) = 363.56, p-value
= 0.00, 2
/df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95, AGFI = 0.90, CFI = 0.99, NFI = 0.99 and SRMR =
0.03 and considering the performance competency of secondary school teachers of Satun
province, the performance competency variable of teachers. The proportion of variance
explained approximately 69 percent influenced by the total of the constructive culture
variable (TE = 0.75), followed by aggressive-defensive culture (TE = 0.06) influenced both
directly positive (DE = 0.85) and indirect negative (IE = -0.79) and a negative indirect effects
(IE = -0.01) of passive-defensive culture (TE = -0.01), respectively. Although the motive
variable coefficient standard direct negative influence on performance practice (DE = -0.82),
but it affects the overall model.
The motive of operational variables of variance explained by 92 percent by the
direct effects of variant aggressive-defensive culture (DE = 0.96) with the passive-defensive
culture (DE = 0.01).
2. The result of the effects models to testing the invariability of the performance
competency of secondary school teachers was found that the model has the rainstorms
with statistical significance at the .05 level; considering the four lines showed the influence
of the different variables that affect the aggressive-defensive culture variables affecting the
motive, aggressive-defensive culture variables that affects performance competency,
constructive culture variables that affecting the performance competency and motive
variables that affects performance competency.
Keywords: Structural equation modeling performance competency, Islamic private schools,
Public schools.
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1621
บทนา
ความสาคัญและความเป็นมา
การเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคอาเซียนส่งผลโดยตรงต่อประเทศไทยในการเตรียมรับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงเพื่อความพร้อมในการเปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) ทุกองค์กรจาเป็นต้องเตรียมความ
พร้อมให้ตนเองสามารถแข่งขันกับองค์กรอื่นๆได้ การเตรียมความพร้อมดังกล่าวมิใช่แต่เพียงด้านเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม และวัฒนธรรมเท่านั้น แต่รวมไปถึงสถาบันทางการศึกษาด้วย (สุรินทร์ พิศสุวรรณ, 2555)
เพราะการเรียนรู้เป็นตัวจักรสาคัญในการขับเคลื่อนสังคมที่คนในสังคมมีความรู้และทักษะที่จาเป็นในการ
ดารงชีวิตและสามารถแข่งขันได้จะมีความได้เปรียบ (สุวรรณี คามั่น, 2551)
การพัฒนาประเทศโดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือ จึงจาเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาการโดยเร่งรัดพัฒนา
คุณภาพการศึกษาทุกระดับ โดยมุ่งเน้นที่ตัวครู คณาจารย์ เป็นด้านหลัก เพื่อเป็นกลไกการพัฒนาผู้เรียนและ
คุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน (พิณสุดา สิริธรังศรี, 2552) ดังนั้น การพัฒนาครูจึงมีความสาคัญมาก เพราะครู
เป็นบุคคลสาคัญที่จะสร้างเด็กให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้เป็นคนดี คนเก่งฯ เพราะฉะนั้นครูจะต้องพัฒนา
ตนเองให้มีหลักการ มีอุดมการณ์ มีใจรักในการสอน ใฝ่หาความรู้ สร้างความรู้จากความเป็นจริง ถ้าครูขาดการ
พัฒนาตนเองครูก็ไม่สามารถที่จะพัฒนานักเรียนไปสู่จุดมุ่งหมายได้เลย สิ่งที่จะทาให้ทราบว่าครูเหล่านั้นมี
คุณภาพหรือไม่ อย่างหนึ่งที่สามารถตรวจสอบได้คือ สมรรถนะของครู
สมรรถนะ เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการองค์กรที่มีประโยชน์อย่างมากต่อการบริหารบุคคล ใน
หน่วยงานทางการศึกษา จึงมีการนาแนวคิดการพัฒนาบุคคลโดยยึดหลักสมรรถนะไปใช้ในสานักงานเลขาธิการ
สภาการศึกษา และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยได้กาหนดกรอบสมรรถนะครูไว้ 2 ด้าน
คือ สมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจาสายงาน สมรรถนะหลักประกอบด้วย การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการ
ปฏิบัติงาน การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทีม และจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู ส่วน
สมรรถนะประจาสายงานประกอบด้วย การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียน การ
บริหารจัดการชั้นเรียน การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ภาวะผู้นาครู และการสร้าง
สัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
2553)
จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พบว่า นักวิชาการส่วนใหญ่ให้ความสนใจศึกษาสมรรรถนะใน
การปฏิบัติงานลักษณะคล้ายคลึงกัน เช่นการศึกษาเชิงสาเหตุ เป็นต้น ผู้วิจัยจึงศึกษาจากเอกสาร ทฤษฎี และ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงาน พบว่า สามารถแบ่งออกเป็น 2 ด้านคือ ด้าน
ขวัญและกาลังใจ (Cooper, 1958; Herzberg, 1959; McGregor, 1960; Maslow, 1970; Barnard, 1972)
และด้านวัฒนธรรมองค์การ (Forehand, 1964; Halpin, 1966; litwin&stringer, 1968; Muchinsky, 1983;
Reddin, 1988; Dubrin, 1989; Handy, 1993; Greert Hofstede, 1997; Cameron and Ettington,
1998; Cameron and Quinn, 1999; Daft, 2000; Denison, 2000) ที่อาจส่งผลต่อความสามารถในการ
พัฒนาสมรรถนะของครูให้มีประสิทธิภาพในการสอนมากขึ้น ซึ่งจากการศึกษาปัจจัยด้านขวัญและกาลังใจที่
ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า ประกอบด้วยปัจจัยด้านความสาเร็จของงาน
เงินเดือน ความก้าวหน้าในงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน การยอมรับนับถือ ความรับผิดชอบ นโยบาย
การบริหารงาน การปกครองบังคับบัญชา สภาพการทางาน ความมั่นคงในงาน และด้านลักษณะของงาน
(เยาวลักษณ์ น้อยสกุล, 2548; สมหมาย นาควิเชียร, 2548; สิริรักษ์ วรรธนะพินธุ, 2548; อภิชัย จันทร์เทศ,
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1622
2548; เกียรติพันธ์ หนูทอง, 2549; สุนันทา พงศ์ประเสริฐศรี, 2550; วิศรุตา ทองแกมแก้ว, 2552; วิไลวรรณ
จันทิพย์, 2552) ผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาตามแนวทางของ เฟรดเดอริก เฮอร์ซเบิร์ก (Herzberg, 1959)
เนื่องจากสอดรับกับงานวิจัยมากที่สุด ส่วนปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานจากงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้อง พบว่าประกอบด้วย โครงสร้างองค์การ ความท้าทายและความรับผิดชอบ ความอบอุ่นและการ
สนับสนุน การเปิดโอกาสให้เรียนรู้โดยการทดลอง ความขัดแย้ง มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความเสี่ยง และ
ความผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ลักษณะความเหลื่อมล้าของอานาจ ลักษณะความเป็นปัจเจกนิยม ลักษณะ
ความเป็นกลุ่มนิยม ลักษณะความเป็นชาย ลักษณะความเป็นหญิง ลักษณะการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน
รวมถึงลักษณะของวัฒนธรรมในรูปแบบครอบครัว แบบราชการ แบบตลาด และวัฒนธรรมในรูปแบบการ
เปลี่ยนแปลงพัฒนา (เบญจมาศ โรจน์ธนกิจ, 2546; วิริณธิ์ ธรรมนารถสกุล, 2547; ฐิตาภัทร ยงค์ประวัติ,
2549; เตือนใจ พิทยาวัฒนชัย, 2549; พรรนิภา ม่วงคร้าม, 2550; คะนึงนิจ อนุโรจน์, 2551; อินทิรา ลิ้ม
ปัญญา, 2552; Petty, 1995) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีของลิทวิน และสติงเจอร์, 1968; Hofstede,
1997 และ Cameron and Ettington, 1988 ผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาตามแนวทางทั้ง 3 ทฤษฎีนี้
จังหวัดสตูลเป็นจังหวัดหนึ่งในชายแดนภาคใต้ที่มีอาณาเขตติดกับชายแดนประเทศเพื่อนบ้านอย่าง
ประเทศมาเลเซียและมีสถาบันทางการศึกษาอยู่เป็นจานวนมากทั้งสังกัดรัฐบาลและเอกชน ความร่วมมือกัน
ของประชาคมอาเซียน (AEC) จะเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันทางด้านการศึกษา หากสถาบันทางการศึกษาใน
พื้นที่ยังไม่ได้รับการพัฒนาก็จะไม่สามารถแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านได้ อีกทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้
ประเทศเพื่อนบ้านมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน ดังจะเห็นได้จากความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ไทยจากการจัดอันดับของสถาบันนานาชาติเพื่อพัฒนาการจัดการ (IMD) ได้จัดอันดับความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศไทยในช่วง 7 ปี (ปี 2549 - 2555) ที่ผ่านมา พบว่า ประเทศไทยมีอันดับความสามารถไม่
แน่นอนและค่อนข้างต่าลง โดยเฉพาะการศึกษาไทยอยู่ในลาดับที่ 78 จาก 144 ประเทศ และยังต่ากว่า
ประเทศในอาเซียนด้วยกันอย่าง มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม (ครอบครัวข่าว3, 2556) ที่เป็นประเทศคู่
แข่งขันของไทย
ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมจังหวัดสตูล เพื่อเป็นแนวทางใน
การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูให้มีความสามารถในการแข่งขันที่สอดรับกับการเปิดประตูสู่
ประชาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1) เพื่อตรวจสอบความกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูสังกัด
โรงเรียนของรัฐบาลและสังกัดโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดสตูล
2) เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูใน
โรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดสตูล
วิธีดาเนินการวิจัย
ประชากร ประชากรในงานวิจัยนี้รวมทั้งสิ้น 1,048 คน คือครูในโรงเรียนของรัฐ 566 คน และครู
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 482 คน
กลุ่มตัวอย่าง การวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์สมการโครงสร้างเชิงเส้น ซึ่งเป็นเทคนิคการวิเคราะห์แบบ
หลายตัวแปรกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างต่อจานวนตัวแปรสังเกตในโมเดลที่เพียงพอต่อการวิเคราะห์ข้อมูลที่
ควรมีสัดส่วนอย่างน้อย 10:1 (Schumacker; & Lomax, 1996) การวิเคราะห์มีตัวแปรสังเกต 40 ตัวแปร
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1623
กลุ่มตัวอย่างจึงไม่ควรต่ากว่า 400 คน ผู้วิจัยจึงกาหนดกลุ่มตัวอย่างครู จานวน 600 คน ซึ่งเป็นขนาดกลุ่ม
ตัวอย่างที่ใหญ่มากกว่าเกณฑ์ขั้นต่า จึงคาดว่าจะมีความถูกต้องและมีความคงที่ โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 300
คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นและกาหนดสัดส่วนอย่างง่าย
การวิเคราะห์ข้อมูล 1) ผู้วิจัยนาแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับครูที่สอนโรงเรียนมัธยมใน
จังหวัดสตูล จากนั้นพิจารณาความสมบูรณ์และตั้งใจตอบแบบสอบถามจากที่ได้รับคืนทั้งหมดแล้วคัดเลือกไว้
จานวน 600 ฉบับ 2) วิเคราะห์สมการโครงสร้างและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลปัจจัยที่มีผลต่อ
สมรรถนะในการปฏิบัติงานในภาพรวมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล
เชิงประจักษ์ โดยใช้โปรแกรม LISREL ทาการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีความควรจะเป็นสูงสุด
(Maximum Likelihood Estimate: ML) โดยจะทดสอบความมีนัยสาคัญของค่าอิทธิพลทางตรง ค่าอิทธิพล
ทางอ้อม และค่าอิทธิพลรวมของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน 3) ทดสอบความ
ไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลและสัมประสิทธิ์อิทธิพลของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของ
ครูผู้สอนระหว่างโรงเรียนของรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โดยใช้การวิเคราะห์กลุ่มพหุ (Multiple
Group Analysis) ในโปรแกรมลิสเรล (LISREL) ตามแนวคิดของ Vandenberg & Lance, 2000 ที่แนะนาว่า
การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลควรทาตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ทดสอบโมเดลกลุ่มย่อย 2) ทดสอบ
ความเท่าเทียมกันของโมเดล 3) ทดสอบความเท่าเทียมกันของสัมประสิทธิ์อิทธิพลของแต่ละกลุ่ม 4) การ
วิเคราะห์เพื่อทดสอบความแตกต่างของแต่ละโมเดลเชิงสาเหตุตามสมมติฐาน โดยการหาผลต่างของ 2
และ 2
.05,df ในขั้นนี้ถือว่าเป็นการวิเคราะห์สรุปผลจากการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน
ผลการวิจัย
1. ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู
ผู้วิจัยวิเคราะห์โมเดลตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู ด้วยโปรแกรม LISREL เพื่อทาการ
ประเมินความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่าโมเดลตั้งต้นยังสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์
ไม่ดีนัก และภายหลังจากการปรับรูปแบบความสัมพันธ์แล้วพบว่า โมเดลตามสมมติฐานมีความสอดคล้องกับ
ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า 2
(df = 131) = 363.56, p-value = 0.00, 2
/df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI =
0.95, AGFI = 0.90, CFI = 0.99, NFI = 0.99 และ SRMR = 0.036 แสดงให้เห็นว่าหลังการปรับโมเดลทาให้
โมเดลมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ถึงแม้ว่าค่าไคสแควร์ยังมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 แต่สัดส่วนไคส
แควร์ต่อค่าองศาอิสระมีค่าไม่เกิน 3 และค่า RMSEA เท่ากับ 0.05 โดยภาพรวมโมเดลมีความกลมกลืนกับ
ข้อมูลเชิงประจักษ์ ดัชนีวัดความกลมกลืนต่างๆของโมเดลหลังปรับ นาเสนอดังภาพประกอบ 1 และตาราง 1
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1624
ภาพประกอบ 1 แบบจาลองสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูหลังปรับโมเดล
ตาราง 1 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานของตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยม หลัง
การปรับโมเดล
ตัวแปรผล R2
อิทธิ
พล
ตัวแปรเชิงสาเหตุ
MOTIVE Aggressive-
Defen
Constructive Passive-
Defen
COMPETEN
MOTIVE
0.69
0.92
DE
IE
TE
DE
IE
TE
-0.82
-
-0.82
-
-
-
0.85
-0.79
0.06
0.96
-
0.96
0.75
-
0.75
-
-
-
-
-0.01
-0.01
0.01
-
0.01
จากตาราง1 ผลการศึกษาผลกระทบทางตรง (Direct effect) ผลกระทบทางอ้อม (Indirect effect)
และผลกระทบรวม (Total effect) พบว่า ตัวแปรแฝงในตัวแบบสมการโครงสร้างทั้งหมดสามารถอธิบายความ
แปรปรวนของสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูได้ร้อยละ 69 โดยปัจจัยที่มีผลกระทบรวมต่อสมรรถนะการ
ปฏิบัติงานของครูมากที่สุดคือ ตัวแปรวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ (TE = 0.75) รองลงมาคือ วัฒนธรรมแบบเชิง
รุก-ปกป้อง (TE = 0.06) ที่ได้รับอิทธิพลทั้งทางตรงทางบวก (DE = 0.85) และทางอ้อมทางลบ (IE = -0.79)
และได้รับอิทธิพลทางอ้อมทางลบ (IE = -0.01) จากวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (TE = -0.01) ตามลาดับ
ส่วนตัวแปรขวัญและกาลังใจถึงแม้มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานทางตรงทางลบต่อสมรรถนะใน
การปฏิบัติงาน (DE = -0.82) แต่ก็มีผลต่อโมเดลโดยรวม นอกจากนี้ยังพบว่า ตัวแปรด้านขวัญและกาลังใจใน
การปฏิบัติงาน (MOTIVE) มีสัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 92 โดยได้รับอิทธิพล
ทางตรงจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง (DE = 0.96) กับวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (DE = 0.01)
2. ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู
สังกัดโรงเรียนของรัฐบาลและสังกัดโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1625
การวิเคราะห์ในส่วนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน และสัมประสิทธิ์อิทธิพลหลังการ
ปรับโมเดลระหว่างโรงเรียนของรัฐและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผู้วิจัยทาการทดสอบค่าไคสแควร์ของ
โมเดลการวัดด้วยวิธีวิเคราะห์กลุ่มพหุ (Vandenberg & Lance, 2000) โดยแยกการทดสอบออกเป็น 2 ส่วน คือ
(1) กาหนดโดยวิธี Free parameters ผลการทดสอบพบว่า ค่า 2
= 2437.73, df = 435 และ (2) กาหนดโดย
วิธี Weak factorial invariance ซึ่งกาหนดให้โมเดลยืดหยุ่นอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ผลการทดสอบพบว่า ค่า
2
= 2451.80, df = 444
การทดสอบโดยกาหนดให้แต่ละโมเดลมีอิสระจากกัน โดยพิจารณาค่า 2
/df จากเกณฑ์ของ Bollen,
1989 พบว่า
1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมโรงเรียน
ของรัฐ พบว่าโมเดลสมมติฐานการวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า 2
/df = 3.48 ซึ่งอยู่ใน
เกณฑ์ระดับยอมรับได้
2. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมโรงเรียน
เอกชนสอนศาสนาอิสลาม พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับดี โดยมีค่า 2
/df = 2.82
ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับดี
3. การวิเคราะห์กลุ่มพหุ ผู้วิจัยแยกการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ลักษณะคือ
3.1 ผู้วิจัยทาการทดสอบโดยกาหนดให้โมเดลทั้งสองกลุ่มเท่ากัน ผลการทดสอบพบว่า โมเดล
มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า 2
= 1465.17, df = 390, p-value = .00, 2
/df = 3.75
เนื่องจากดัชนีค่า 2
/df มีค่าเท่ากับ 3.75 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับยอมรับได้
3.2 ผู้วิจัยทาการทดสอบโดยกาหนดให้โมเดลทั้งสองกลุ่มมีอิสระจากกัน ผลการทดสอบ
พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า 2
= 1013.78, df = 304, p-value = .00, 2
/df
= 3.33 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์รับได้
จากนั้นผู้วิจัยจึงทาการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู
มัธยมระหว่างโรงเรียนรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ดังตาราง 2
ตาราง 2 ผลการประมาณค่าความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมระหว่าง
โรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
สมมติฐานการวิจัย 2
df 2
/df 2
df P
1. HEqual 1465.17 390 3.75 451.39 86 < .05
2. HFree Parameter 1013.78 304 3.33
หมายเหตุ : 2
.05,86= 108.6478
จากตาราง 2 จะเห็นได้ว่า ค่า 2
> 2
.05,86 แสดงว่าผลการทดสอบความไม่
แปรเปลี่ยนของโมเดล มีความแปรเปลี่ยนของโมเดลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
จากผลการทดสอบดังกล่าว ผู้วิจัยจึงพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลภายในโมเดล พบว่ามีเส้น
อิทธิพลบางเส้นที่แตกต่างกันมาก ซึ่งน่าจะเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดความแตกต่างกันระหว่างโมเดลโรงเรียนของรัฐ
และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผู้วิจัยจึงทดสอบเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาว่ามีเส้นทางอิทธิพลใดบ้างที่มีความ
แปรเปลี่ยนและแตกต่างกันโดยการทดสอบทีละเส้นทางอิทธิพล ผลการทดสอบแสดงได้ดังตาราง 3
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1626
ตาราง 3 การทดสอบเส้นทางอิทธิพลภายในโมเดลที่ละเส้น
สมมติฐาน 2
df 2
/df
1. HFreeForm 1013.78 304 3.33
2. HAggressive-Defen ->MOTIVE 1048.13 305 3.43
3. HAggressive-Defen->COMPETEN 1020.88 305 3.34
4. HConstructive->COMPETEN 1058.70 305 3.47
5. HPassive-Defen->MOTIVE 1015.94 305 3.33
6. HMOTIVE->COMPETEN 1050.49 305 3.44
ค่าเปรียบเทียบ 2
df P
2 เปรียบเทียบ 1
3 เปรียบเทียบ 1
4 เปรียบเทียบ 1
5 เปรียบเทียบ 1
6 เปรียบเทียบ 1
34.35
7.1
44.92
2.16
36.71
1
1
1
1
1
< .05
< .05
< .05
> .05
< .05
หมายเหตุ : 2
.05,1= 3.841
จากตาราง 3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
ของครูมัธยมระหว่างโรงเรียนของรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม พบว่า ดัชนีความกลมกลืนของโมเดลกับ
ข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในระดับยอมรับได้ เนื่องจากดัชนีค่า 2
/df มีค่าน้อยกว่า 5 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับยอมรับได้
จากการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของสัมประสิทธิ์อิทธิพล ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่มีความ
แตกต่างของไคสแควร์ที่ค่าองศาอิสระเท่ากับ 1 ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลสมรรถนะการ
ปฏิบัติงานของครูมัธยม ดังแสดงตามตาราง 3 พบว่าโมเดลมีความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 เมื่อพิจารณารายเส้นพบว่าค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่มีความแตกต่างของไคสแควร์ที่ค่าองศาอิสระเท่ากับ 1
มีจานวน 4 เส้นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบ
เชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อ
สมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตัวแปรจากวัฒนธรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และตัว
แปรขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
อภิปรายผลการวิจัย
1) การตรวจสอบความกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยม
ในจังหวัดสตูล พบว่า โมเดลตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยม มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูล
เชิงประจักษ์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยตัวแปรแฝงในตัวแบบสมการโครงสร้างทั้งหมดสามารถ
อธิบายความแปรปรวนของสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูได้ร้อยละ 69 โดยปัจจัยที่มีผลกระทบรวมต่อ
สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมากที่สุดคือ ตัวแปรวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ (TE = 0.75) รองลงมาคือ
วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง (TE = 0.06) ที่ได้รับอิทธิพลทั้งทางตรงทางบวก (DE = 0.85) และทางอ้อมทาง
ลบ (IE = -0.79) และได้รับอิทธิพลทางอ้อมทางลบ (IE = -0.01) จากวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (TE = -
0.01) ตามลาดับ ส่วนตัวแปรขวัญและกาลังใจถึงแม้มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานทางตรงทางลบ
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1627
ต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน (DE = -0.82) แต่ก็มีผลต่อโมเดลโดยรวม นอกจากนี้ยังพบว่า ตัวแปรด้านขวัญ
และกาลังใจในการปฏิบัติงาน (MOTIVE) มีสัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 92 โดย
ได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง (DE = 0.96) กับวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง
(DE = 0.01) จะเห็นได้ว่า สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมทั้งโรงเรียนของรัฐและโรงเรียนเอกชนสอน
ศาสนาอิสลามส่วนใหญ่ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง
และวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง สอดคล้องกับงานวิจัยของนวลพรรณ วุฒิไชยนานนท์ (2555) ที่ศึกษา
วัฒนธรรมองค์การและความผูกพันต่อองค์การที่มีผลต่อประสิทธิผลขององค์การ พบว่า การบรรลุเป้าหมาย
ขององค์การมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมองค์การลักษณะแบบตั้งรับ-ปกป้อง ลักษณะแบบเชิงรุก-ปกป้อง และ
ลักษณะแบบสร้างสรรค์ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อพิจาณาความสัมพันธ์ของเส้นทางอิทธิพล พบว่า ครูส่วนใหญ่ทั้ง
ในโรงเรียนของรัฐและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมีวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์สูงที่สุด เนื่องจากครูส่วน
ใหญ่มีความเชื่อที่เป็นบรรทัดฐานของวัฒนธรรมแบบนี้ คือ การมุ่งเน้นความสาเร็จ การส่งเสริม สนับสนุนให้
สมาชิกเกิดแรงจูงใจในการทางาน มีความสุขกับงานที่ทา ซึ่งประกอบด้วยการแสดงออกในลักษณะการ
ประนีประนอม อ่อนน้อม ให้ความเอาใจใส่และห่วงใยในเรื่องความสัมพันธ์ ให้ความสนใจกับคุณภาพชีวิต มี
การช่วยเหลือกันและกัน และมีความผูกพันกันเป็นสังคม โดยให้ความสนใจกับวัฒนธรรมแบบความเหลื่อมล้า
ของอานาจ ความเป็นหญิง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงพัฒนา และการหลีกเลี่ยงความไม่
แน่นอนจะส่งเสริมให้สมาชิกร่วมกันทางานเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จของโรงเรียนได้ สอดคล้องกับ Embree
(1950) เขากล่าวว่าลักษณะที่โดดเด่นของคนไทยที่แตกต่างจากชาวญี่ปุ่นหรือชาวเวียดนามคือ คนไทยเป็นคน
รักอิสระ ไม่ชอบข้อผูกมัดและหลีกเลี่ยงพันธะทางสังคม โครงสร้างและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถ
ควบคุมพฤติกรรมของปัจเจกบุคคลได้ คนไทยมักเลือกทาตามใจตนเองมากกว่าทาตามความคาดหวังและ
พันธะผูกพันทางสังคม สอดคล้องกับงานวิจัยของพรชุลี อาชวอารุง และคณะ (2547) ซึ่งได้ศึกษากระบวน
ทัศน์และคุณลักษณะของข้าราชการไทยการโดยใช้กรอบความคิดเรื่องการปฏิรูประบบราชการ ทฤษฎีพัฒนา
องค์การ และแนวคิดเรื่องกระบวนทัศน์สาหรับองค์การในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งความคิดเห็นของ
นายกรัฐมนตรีและนักวิชาการสาคัญๆ อีกหลายท่านมากาหนดตัวแปรในการศึกษา และใช้การสารวจประเมิน
ความคิดเห็นของข้าราชการแบบ 360 องศา คือ ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินตนเอง ผู้บังคับบัญชา เพื่อน
ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชาในแบบสารวจเดียวกัน กระบวนทัศน์ที่คณะผู้ศึกษาได้กาหนดในการสารวจมี 12
ด้าน แต่ผลการวิจัยกระบวนทัศน์ข้าราชการไทยทั้ง 12 ด้าน พบว่า ข้าราชการไทยมี 10 ด้าน ได้แก่ การ
หลีกเลี่ยง การเอื้ออานวย การประนีประนอม การแข่งขัน การร่วมมือ การวินิจฉัย การวิพากษ์ การคัดสรร
การปฏิสัมพันธ์และการเปลี่ยนผ่าน
จากคุณลักษณะของข้าราชการไทยได้สะท้อนความคิดความเชื่อและค่านิยมของข้าราชการไทย
ในปัจจุบันที่หลายๆ อย่างยังคงเป็นค่านิยมแบบเก่าที่สืบเนื่องมาแต่ครั้งโบราณ และบางอย่างก็เป็นค่านิยมใหม่
ที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดการบริหารจัดการยุคใหม่ของตะวันตกที่แพร่หลายไปในองค์การบริหารภาครัฐและ
และธุรกิจเอกชน สอดรับกับผลการวิจัยที่พบว่า สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูทั้งโรงเรียนของรัฐและ
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมแบบความเป็นหญิง ความเป็นอันหนึ่ง
อันเดียวกัน ความเหลื่อมล้าของอานาจ การเปลี่ยนแปลงพัฒนา และการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน สะท้อนให้
เห็นค่านิยมวัฒนธรรมที่ส่งเสริมให้สมาชิกร่วมกันทางานเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จของโรงเรียน ขณะเดียวกัน
สมาชิกก็ได้เรียนรู้และมีพัฒนา วัฒนธรรมแบบนี้เป็นค่านิยมใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์เป็นแบบผสมผสานที่
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1628
หลากหลายนาไปสู่วัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ นอกจากนี้ยังได้อิทธิพลจากวัฒนธรรมที่มีการกาหนดมาตรฐาน
การปฏิบัติงาน มีวัฒนธรรมแบบราชการ และวัฒนธรรมแบบเน้นการตลาด สะท้อนให้เห็นค่านิยมเดิมในแง่
การเอาตัวรอด การไม่ขัดแย้ง ไม่ขัดใจกับผู้อื่น การชอบสังคม และรู้จักปรับตัวตามสถานการณ์ เนื่องจากไม่
กล้าคิดและทาอะไรใหม่ๆ เพราะเกรงว่าจะถูกเพ่งเล็ง เป็นภัยแก่ตนเอง ซึ่งนาไปสู่วัฒนธรรมแบบตั้งรับ-
ปกป้อง และได้รับอิทธิพลจากลักษณะโครงสร้างองค์การ การสนับสนุนการปฏิบัติงาน ความอบอุ่นในการ
ปฏิบัติงาน การเปิดโอกาสให้เรียนรู้ ความขัดแย้ง ความเสี่ยง ความเป็นชาย ความเป็นปัจเจกนิยม ความเป็น
กลุ่มนิยม และความเป็นครอบครัว สะท้อนให้เห็นค่านิยมที่สมาชิกมักแสดงออกถึงพฤติกรรมอย่างชัดแจ้งใน
การปกป้องสถานภาพและความมั่นคงในงานของตน ค่านิยมของสมาชิกในโรงเรียนที่มีวัฒนธรรมแบบนี้เน้น
การทางานที่มีความสมบูรณ์แบบ ซึ่งนาไปสู่วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง
2) ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู
โรงเรียนของรัฐบาลและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดสตูล พบว่า ผลการทดสอบความไม่
แปรเปลี่ยนของรูปแบบโมเดล มีความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ผู้วิจัยจึงทดสอบเพิ่มเติม
เพื่อพิจารณาว่ามีเส้นทางอิทธิพลใดบ้างที่มีความแปรเปลี่ยนและแตกต่างกันโดยการทดสอบทีละเส้นทางอิทธิพล
พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่มีความแตกต่างของไคสแควร์ที่ค่าองศาอิสระเท่ากับ 1 ผลการทดสอบความไม่
แปรเปลี่ยนของโมเดลสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยม พบว่าโมเดลมีความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายเส้นพบว่าค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่มีความแตกต่างของไคสแควร์ที่ค่า
องศาอิสระเท่ากับ 1 มีจานวน 4 เส้นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ตัวแปรจาก
วัฒนธรรมโรงเรียนแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจ ตัวแปรจากวัฒนธรรมโรงเรียนแบบเชิงรุก-
ปกป้องที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตัวแปรจากวัฒนธรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการ
ปฏิบัติงาน และตัวแปรขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนของรัฐ
และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมีวัฒนธรรมโรงเรียนที่มีผลต่อขวัญและกาลังใจกับสมรรถนะในการ
ปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน เนื่องจากครูในโรงเรียนของรัฐต้องทางานภายใต้ระบบราชการ มีขั้นตอนในการทางาน
มากเกินไป สอดคล้องกับบุญเรือง พรมสิทธิ์ (2540) ได้ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการ
พัฒนาครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น พบว่า สภาพปัจจุบันในการพัฒนาครูที่
สาคัญ คือ ให้โรงเรียน มีการกาหนดผลงานและโครงงานตามความต้องการของครูและจัดวิทยากรหรือ
ผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้กับครู ต่างจากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่ได้รับอิทธิพลสูงสุดจากวัฒนธรรม
แบบเชิงรุก-ปกป้อง ด้านการสนับสนุนในการปฏิบัติงาน และได้รับอิทธิพลน้อยที่สุดจากด้านความเป็นชาย
เนื่องจากครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามยังได้รับการสนับสนุนอยู่ในระดับที่น้อยกว่าโรงเรียนของรัฐ
จึงทาให้เกิดทัศนคติ และความพึงพอใจที่ส่งผลต่อการทางาน สอดคล้องกับเบิร์คและกรีนกลาส (Burke &
Greenglass, 1989) พบว่า หากครูได้รับการสนับสนุนทางสังคม ครูย่อมทาให้เกิดความท้อแท้ในการทางาน
น้อยลง เกิดบรรยากาศในการทางานที่ดีมีความพึงพอใจและส่งผลต่อความสาเร็จในงานด้วย สอดคล้องกับคิล
เลี่ยน (Killian, 1968) พบว่า บรรยากาศของโรงเรียนมีอิทธิพลต่อการคิด แรงจูงใจ ความพึงพอใจ ตลอดจน
ความสาเร็จของการปฏิบัติงานในโรงเรียน เพราะฉะนั้นเส้นทางอิทธิพลในการให้ความสาคัญของทั้งสององค์กร
จึงแตกต่างกันตามความต้องการที่มีต่างกัน ซึ่งก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน กล่าวคือ มีวัฒนธรรมคนละ
รูปแบบ ทาให้ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจต่างกันตามรูปแบบของวัฒนธรรมโรงเรียนที่ต่างกัน สอดคล้องกับ วิริ
ยาภรณ์ สุวัฒนสวัสดิ์ (2538) ที่ศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษาพยาบาล ระหว่าง
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1629
สถาบันการศึกษาที่สังกัดหน่วยงาน 3 แห่ง คือ กระทรวงสาธารณสุข ทบวงมหาวิทยาลัย และสังกัดเอกชน
พบว่ามีลักษณะแตกต่างกันทั้งสามแบบ นอกจากนี้ยังมีขวัญและกาลังใจที่มีผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานที่
แตกต่างกันอีกด้วย ส่งผลให้ผลการทดสอบโมเดลระหว่างโรงเรียนของรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
มีความแปรเปลี่ยน ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้สมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมีความแตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย
จากผลการศึกษาตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมในจังหวัดสตูล
และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน พบว่า ขวัญและกาลังใจ วัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ วัฒนธรรมแบบตั้งรับ-
ปกป้อง และวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และวัฒนธรรม
แบบสร้างสรรค์มีอิทธิพลทางอ้อมต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน โดยตัวแบบสมการโครงสร้างดังกล่าวสามารถ
อธิบายสมรรถนะการปฏิบัติงานได้ถึงร้อยละ 69 ฉะนั้นผู้บริหารหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกาหนดนโยบาย
ในการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูควรให้ความสาคัญกับปัจจัยดังกล่าวเพื่อให้เกิดการพัฒนา
สมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูที่สูงขึ้น โดยเฉพาะครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม เนื่องจากโมเดล
ดังกล่าวสามารถอธิบายสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามได้ดีกว่าครูใน
โรงเรียนของรัฐ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะกับผู้บริหารที่มีบทบาทสาคัญที่สุด รวมทั้งครูที่เป็นกาลังสาคัญใน
การพัฒนาสมรรถนะ โดยมีแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้
1.1ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายกับรัฐบาล และกระทรวงศึกษาธิการหรือหน่วยงานต้นสังกัด
1.1.1 ผู้บริหารหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสนใจและพัฒนาคุณภาพชีวิตกับ
ครูผู้สอนให้มากกว่าที่ควร โดยเฉพาะขวัญและกาลังใจด้านค้าจุน คือ ความชัดเจนของเป้าหมายและนโยบาย
กับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และด้านจูงใจ คือลักษณะของงาน ความก้าวหน้าในงาน และความรับผิดชอบ
ในงาน ซึ่งจะส่งผลให้บุคลากรมีความกระตือรือร้นในการทางานมากขึ้น และควรให้ความสนใจกับโรงเรียน
เอกชนสอนศาสนาอิสลามเป็นพิเศษ เนื่องจากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามเป็นโรงเรียนที่อยู่กับชุมชน
และสอดคล้องกับความต้องการ ความเชื่อ และศรัทธาของคนในชุมชน ที่ผู้ปกครองในจังหวัดชายแดนใต้ส่วน
ใหญ่ส่งบุตรหลานเข้าเรียนในระดับมัธยมสูงกว่าโรงเรียนของรัฐบาล
1.1.2 ผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องในองค์การควรกระตุ้นให้บุคลากรปรับเปลี่ยนวิธีการ
ปฏิบัติงาน เพื่อก่อให้เกิดวัฒนธรรมองค์การที่เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะ
วัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์สาหรับโรงเรียนของรัฐ ที่จะส่งผลให้ครูมีขวัญและกาลังใจเพิ่มขึ้นได้ และวัฒนธรรม
แบบตั้งรับ-ปกป้อง สาหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามซึ่งจะส่งเสริมให้ครูในโรงเรียนของรัฐมีขวัญและ
กาลังใจเพิ่มมากขึ้น และส่งเสริม สนับสนุน สร้างแรงกระตุ้นด้านขวัญและกาลังใจให้ครูมีความภาคภูมิใจและ
เต็มใจที่จะปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่
1.1.3 หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริมและให้การสนับสนุน วัฒนธรรมองค์การ กับขวัญและ
กาลังใจ ที่สอดคล้องกับแต่ละองค์การเพื่อให้สามารถพัฒนา และปรับปรุงปัจจัยต่างๆ ให้มีความเหมาะสม
และแก้ไขแนวทางการดาเนินงานที่ส่งผลให้ครูมีสมรรถนะที่สูงขึ้น
1.2 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการสาหรับโรงเรียนของรัฐบาลและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
จากการศึกษาที่พบว่า ตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงาน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสามารถอธิบาย
สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามได้ดีกว่าโรงเรียนของรัฐบาล จึงในควร
พัฒนาและส่งเสริมวัฒนธรรมองค์การที่เหมาะสมกับแต่ละโรงเรียน ซึ่งจะส่งผลให้ครูมีสมรรถนะในการ
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1630
ปฏิบัติงานที่สูงขึ้น โดยการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์การบางอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการทาให้สมรรถนะในการ
ปฏิบัติงานลดลง และส่งเสริม สนับสนุน สร้างแรงกระตุ้นด้านขวัญและกาลังใจให้ครูมีความภาคภูมิใจและเต็ม
ใจที่จะปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรนาตัวแปรสาเหตุอื่น ที่ไม่ได้นามาศึกษาในครั้งนี้ มาทาการศึกษา
2. ควรมีการศึกษาในเขตพื้นที่อื่นๆ เพื่อนามาเปรียบเทียบความแตกต่างแต่ละพื้นที่
3. ควรมีการศึกษาเชิงคุณภาพ
บรรณานุกรม
ครอบครัวข่าว3. (2556). สกู๊ป..ถอดรหัสการศึกษาไทยรั้งท้ายอาเซียน. (Online). Available:
https://:www.krobkruakao.com (5 สิงหาคม 2556)
นวลพรรณ วุฒิไชยนานนท์. (2555.) วัฒนธรรมองค์การและความผูกพันต่อองค์การที่มีต่อประสิทธิผลของ
องค์การ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญเรือง พรมสิทธิ์. (2540). การศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการพัฒนาครูในโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สาเนา)
พรชุลี อาชวอารุง และคณะ. (2547). กระบวนทัศนะและคุณลักษณะของข้าราชการไทย.รายงานการวิจัย.
กรุงเทพมหานคร.
พิณสุดา สิริธรังศรี. (2552). ภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10 – 20 ปี. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์ดีการพิมพ์ จากัด.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2553). คู่มือประเมินสมรรถนะครู 53. (Online). Available:
http://www.tmk.ac.th/teacher/capasity.pdf, (ตุลาคม 2553).
สุรินทร์ พิศสุวรรณ. (2555). ทิศทางเครือข่ายอุดมศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราชกับความพร้อมในการ
ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. ภาคใต้โฟกัส รายสัปดาห์, 2555 p.2C (การศึกษา – เยาวชน). ปีที่ 15
ฉบับที่ 728 วันที่ 4 – 10 กุมภาพันธ์ 2555.
สุวรรณี คามั่น. (2551). สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวโน้มบริบทการเปลี่ยนแปลงสังคมโลกและสังคมไทย
ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ด้านสังคม. กรุงเทพมหานคร: สานักนโยบายและแผนการศึกษา,
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
Bollen, Kenneth A.(1989). Structural Equations with Latent Variables.New York: John Wiley & Sons.
Burke, R. J., & Greengalss, E. R. (1989). Sex differences in teachers. Psychological Reports,
65(1),55 – 63.
Killian, R. A. (1968). Managing by decision for maximum executive effectiveness. North
Carolina: Valle – Balou Press.
Suntaree Komin. (1990). The Psychology of the Thai People Values and Behavioral
Patterns. Bangkok: Research Center. Nation Institute of Development Administration.
Schumacker, R.E.; & Lomax, RG. (1996). A Beginner’s Guide to Structural Equation
Modeling. New Jersey: Lawrence Erlbaum.
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1631
Vandenberg, Robert J. and Lance, Charles E. (2000). Organizational Research Methods.
(Online). Available: http://www.orm.sagepub.com/content/3/1/4,2000. (01 October
2013)
การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1
วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1632
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณลักษณะทางวิชาชีพของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี
Factors affecting the professional characteristics of Students
at the Pattani Vocational College
ณัฐลักษณ์ อิสสระ1*#
กษมน รุ่งโรจน์รังสรร2#
นาอีมะห์ หะยีบานุง3#
และอาฟีฟี ลาเต๊ะ4
#
นักศึกษาหลักสูตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
1
พนักงานบริหารทั่วไป วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
2
อาจารย์พิเศษ ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตยะลา อาเภอเมือง จังหวัดยะลา
3
ครูผู้ช่วย โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา อาเภอเมือง จังหวัดยะลา
4
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
*
E-mail : nuinat310@gmail.com
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณลักษณะทางวิชาชีพและสร้างสมการ
พยากรณ์คุณลักษณะทางวิชาชีพของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน
นักศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จานวน
214 คน ผลการวิจัยพบว่า บุคลิกภาพ ทัศนคติ แรงจูงใจ อนาคตของงาน ค่านิยม และคุณลักษณะทางวิชาชีพ
มีความสัมพันธ์ทางบวกกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ระหว่าง .430 -
.762 การสร้างสมการพยากรณ์ได้พบว่า แรงจูงใจ ทัศนคติ อนาคตของงาน และบุคลิกภาพ ที่สามารถพยากรณ์
คุณลักษณะทางวิชาชีพอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีสมการในรูปคะแนนดิบและคะแนน
มาตรฐาน ดังนี้
Yˆ = 0.067+0.318(แรงจูงใจ) + 0.315 (ทัศนคติ) + 0.213 (อนาคตของงาน) + 0.138 (บุคลิกภาพ)
Z = 0.060 (แรงจูงใจ) + 0.055 (ทัศนคติ) + 0.053 (อนาคตของงาน) + 0.050 (บุคลิกภาพ)
คาสาคัญ: คุณลักษณะทางวิชาชีพ อาชีวศึกษา
Abstract
This research aims to study the factors that affect the professional characteristics and
created regression equation of professional characteristics of Students at the Pattani Vocational
College. The sample were 214 students in Semester 2 Year 2556 B.G. of Pattani Vocational College
in Muang District Province. The results showed that personality, attitudes, motivation, future
work, values and professional characteristics had positive correlation with statistically
significant at the .05 level, the correlation coefficient between 0.430 to 0.762. An equation
for prediction found that motivation, attitude, future work and personality could be
predictors of professional features with Statistically significant at the .05 level. The equation
of the raw scores and standardize scores as follow.
Yˆ = 0.067+0.318 (motivation)+0.315(attitudes)+0.213(future of work)+0.138 (personality)
Z = 0.060 (motivation)+0.055 (attitudes) + 0.053 future of work) + 0.050 (personality)
Keywords : professional characteristics, Vocational education
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ
9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie 9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ

Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1 Prasong Somarat
 
Performance Competency Modeling
Performance Competency ModelingPerformance Competency Modeling
Performance Competency ModelingMadpouzee Rubama
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาวิทวัส รัตนวิรุฬห์
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum PlanningChompri Ch
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554DrDanai Thienphut
 
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์Goal Maria
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัยpapa2519pa
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2guidena
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2onjiranaja
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2onjiranaja
 

Ähnlich wie 9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ (20)

Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1  Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
Best ไม้เด็ดครู เรื่องที่ 1
 
Performance Competency Modeling
Performance Competency ModelingPerformance Competency Modeling
Performance Competency Modeling
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
2013 09-12 complete set
2013 09-12 complete set2013 09-12 complete set
2013 09-12 complete set
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum Planning
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
Teerapong13
Teerapong13Teerapong13
Teerapong13
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
วิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา 3/ 2554
 
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
โรงเรียนนานาชาติ อไจล์
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
Hr 3565401
Hr 3565401Hr 3565401
Hr 3565401
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 

Mehr von Madpouzee Rubama

Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...Madpouzee Rubama
 
Processding สันติภาพ มอ.60
Processding สันติภาพ มอ.60Processding สันติภาพ มอ.60
Processding สันติภาพ มอ.60Madpouzee Rubama
 
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395Madpouzee Rubama
 
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394Madpouzee Rubama
 
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393Madpouzee Rubama
 
Performance Competency Model
Performance Competency ModelPerformance Competency Model
Performance Competency ModelMadpouzee Rubama
 

Mehr von Madpouzee Rubama (6)

Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
Assessment of arts and cultural festival project the 3rd koree murottal and a...
 
Processding สันติภาพ มอ.60
Processding สันติภาพ มอ.60Processding สันติภาพ มอ.60
Processding สันติภาพ มอ.60
 
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
วลัยลักษณ์วิจัย T253105205085395
 
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
การประชุมด้านอิสลามและมุสลิมศึกษา T253105205085394
 
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
การประชุมด้านบริหารจัดการ T253105205085393
 
Performance Competency Model
Performance Competency ModelPerformance Competency Model
Performance Competency Model
 

9. ภาคบรรยายกลุ่ม 6 การวัด ประเมินผล ฯ

  • 1. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1618 กลุ่มที่ 6 การวัด ประเมินผล การประกัน คุณภาพ การวิจัยและสถิติ การศึกษา
  • 2. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1619 ตัวแบบสมการโครงสร้างและการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูจังหวัดสตูล หมัดเฟาซี รูบามา1* ชาลี ไตรจันทร์2 อิศรัฐฎ์ รินไธสง3 จุฑารัตน์ สถิรปัญญา4 1 นักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2,3 อาจารย์ดร. ประจาภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4 อาจารย์ ผศ.ดร. ประจาภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ * MZ_RBM@HOTMAIL.COM บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจสอบความกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานและ 2) ทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน (Invariance Model) ของตัวแบบสมการโครงสร้าง สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ครูในโรงเรียนของรัฐ จานวน 300 คน 2) ครู โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จานวน 300 คน โดยใช้การสุ่มอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามจานวน 1 ฉบับ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.958 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ โมเดลสมการเชิงเส้น และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนด้วยเทคนิคการวิเคราะห์โมเดลกลุ่มพหุ โดยใช้ โปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1. โมเดลที่สร้างขึ้นหลังปรับโมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ คือ 2 (df = 131) = 363.56, p-value = 0.00, 2 /df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95, AGFI = 0.90, CFI = 0.99, NFI = 0.99 และ SRMR = 0.036 และเมื่อพิจารณาสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมจังหวัดสตูล พบว่า ตัวแปรสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู มีสัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 69 โดย ได้รับอิทธิพลรวมสูงสุดจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ (TE = 0.75) รองลงมาคือ วัฒนธรรมแบบเชิงรุก- ปกป้อง (TE = 0.06) ที่ได้รับอิทธิพลทั้งทางตรงทางบวก (DE = 0.85) และทางอ้อมทางลบ (IE = -0.79) และ ได้รับอิทธิพลทางอ้อมทางลบ (IE = -0.01) จากวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (TE = -0.01) ตามลาดับ ส่วนตัว แปรขวัญและกาลังใจถึงแม้มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานทางตรงทางลบต่อสมรรถนะการ ปฏิบัติงาน (DE = -0.82) แต่ก็มีผลต่อโมเดล ตัวแปรขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงานมีสัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 92 โดยได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง (DE = 0.96) กับวัฒนธรรมแบบตั้งรับ- ปกป้อง (DE = 0.01) 2. ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยม พบว่าโมเดลมี ความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายเส้นพบว่ามีเส้นทางอิทธิพลจานวน 4 เส้นที่แตกต่างกัน ได้แก่ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจ ตัวแปร จากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตัวแปรจากวัฒนธรรม สร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และตัวแปรขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน คาสาคัญ : ตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู, โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม, โรงเรียนของรัฐบาล
  • 3. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1620 Abstract This study aimed to investigate 1) to check the fit of a structural equation modeling the performance competency and 2) to test the invariability of a structural equation modeling of competency of secondary school teachers in Satun province of Public schools and Islamic private schools. The subjects of study were secondary school teachers. The subjects were divided into two groups: 1) 300 teachers working for the Public schools; and 2) 300 teachers working for the Islamic private schools. The subjects were selected with simple random sampling method. The data were collected through a questionnaire. Construct Reliability of each questionnaire is 0.958. The data were analyzed by using linear regression analysis model and to testing the invariability of the model with multiple group analysis models using LISREL. The research showed that: 1. The model was consistent with the empirical data at 2 (df = 131) = 363.56, p-value = 0.00, 2 /df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95, AGFI = 0.90, CFI = 0.99, NFI = 0.99 and SRMR = 0.03 and considering the performance competency of secondary school teachers of Satun province, the performance competency variable of teachers. The proportion of variance explained approximately 69 percent influenced by the total of the constructive culture variable (TE = 0.75), followed by aggressive-defensive culture (TE = 0.06) influenced both directly positive (DE = 0.85) and indirect negative (IE = -0.79) and a negative indirect effects (IE = -0.01) of passive-defensive culture (TE = -0.01), respectively. Although the motive variable coefficient standard direct negative influence on performance practice (DE = -0.82), but it affects the overall model. The motive of operational variables of variance explained by 92 percent by the direct effects of variant aggressive-defensive culture (DE = 0.96) with the passive-defensive culture (DE = 0.01). 2. The result of the effects models to testing the invariability of the performance competency of secondary school teachers was found that the model has the rainstorms with statistical significance at the .05 level; considering the four lines showed the influence of the different variables that affect the aggressive-defensive culture variables affecting the motive, aggressive-defensive culture variables that affects performance competency, constructive culture variables that affecting the performance competency and motive variables that affects performance competency. Keywords: Structural equation modeling performance competency, Islamic private schools, Public schools.
  • 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1621 บทนา ความสาคัญและความเป็นมา การเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคอาเซียนส่งผลโดยตรงต่อประเทศไทยในการเตรียมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงเพื่อความพร้อมในการเปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) ทุกองค์กรจาเป็นต้องเตรียมความ พร้อมให้ตนเองสามารถแข่งขันกับองค์กรอื่นๆได้ การเตรียมความพร้อมดังกล่าวมิใช่แต่เพียงด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมเท่านั้น แต่รวมไปถึงสถาบันทางการศึกษาด้วย (สุรินทร์ พิศสุวรรณ, 2555) เพราะการเรียนรู้เป็นตัวจักรสาคัญในการขับเคลื่อนสังคมที่คนในสังคมมีความรู้และทักษะที่จาเป็นในการ ดารงชีวิตและสามารถแข่งขันได้จะมีความได้เปรียบ (สุวรรณี คามั่น, 2551) การพัฒนาประเทศโดยใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือ จึงจาเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาการโดยเร่งรัดพัฒนา คุณภาพการศึกษาทุกระดับ โดยมุ่งเน้นที่ตัวครู คณาจารย์ เป็นด้านหลัก เพื่อเป็นกลไกการพัฒนาผู้เรียนและ คุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน (พิณสุดา สิริธรังศรี, 2552) ดังนั้น การพัฒนาครูจึงมีความสาคัญมาก เพราะครู เป็นบุคคลสาคัญที่จะสร้างเด็กให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้เป็นคนดี คนเก่งฯ เพราะฉะนั้นครูจะต้องพัฒนา ตนเองให้มีหลักการ มีอุดมการณ์ มีใจรักในการสอน ใฝ่หาความรู้ สร้างความรู้จากความเป็นจริง ถ้าครูขาดการ พัฒนาตนเองครูก็ไม่สามารถที่จะพัฒนานักเรียนไปสู่จุดมุ่งหมายได้เลย สิ่งที่จะทาให้ทราบว่าครูเหล่านั้นมี คุณภาพหรือไม่ อย่างหนึ่งที่สามารถตรวจสอบได้คือ สมรรถนะของครู สมรรถนะ เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการองค์กรที่มีประโยชน์อย่างมากต่อการบริหารบุคคล ใน หน่วยงานทางการศึกษา จึงมีการนาแนวคิดการพัฒนาบุคคลโดยยึดหลักสมรรถนะไปใช้ในสานักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยได้กาหนดกรอบสมรรถนะครูไว้ 2 ด้าน คือ สมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจาสายงาน สมรรถนะหลักประกอบด้วย การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการ ปฏิบัติงาน การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทีม และจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู ส่วน สมรรถนะประจาสายงานประกอบด้วย การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียน การ บริหารจัดการชั้นเรียน การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ภาวะผู้นาครู และการสร้าง สัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553) จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พบว่า นักวิชาการส่วนใหญ่ให้ความสนใจศึกษาสมรรรถนะใน การปฏิบัติงานลักษณะคล้ายคลึงกัน เช่นการศึกษาเชิงสาเหตุ เป็นต้น ผู้วิจัยจึงศึกษาจากเอกสาร ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงาน พบว่า สามารถแบ่งออกเป็น 2 ด้านคือ ด้าน ขวัญและกาลังใจ (Cooper, 1958; Herzberg, 1959; McGregor, 1960; Maslow, 1970; Barnard, 1972) และด้านวัฒนธรรมองค์การ (Forehand, 1964; Halpin, 1966; litwin&stringer, 1968; Muchinsky, 1983; Reddin, 1988; Dubrin, 1989; Handy, 1993; Greert Hofstede, 1997; Cameron and Ettington, 1998; Cameron and Quinn, 1999; Daft, 2000; Denison, 2000) ที่อาจส่งผลต่อความสามารถในการ พัฒนาสมรรถนะของครูให้มีประสิทธิภาพในการสอนมากขึ้น ซึ่งจากการศึกษาปัจจัยด้านขวัญและกาลังใจที่ ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า ประกอบด้วยปัจจัยด้านความสาเร็จของงาน เงินเดือน ความก้าวหน้าในงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน การยอมรับนับถือ ความรับผิดชอบ นโยบาย การบริหารงาน การปกครองบังคับบัญชา สภาพการทางาน ความมั่นคงในงาน และด้านลักษณะของงาน (เยาวลักษณ์ น้อยสกุล, 2548; สมหมาย นาควิเชียร, 2548; สิริรักษ์ วรรธนะพินธุ, 2548; อภิชัย จันทร์เทศ,
  • 5. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1622 2548; เกียรติพันธ์ หนูทอง, 2549; สุนันทา พงศ์ประเสริฐศรี, 2550; วิศรุตา ทองแกมแก้ว, 2552; วิไลวรรณ จันทิพย์, 2552) ผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาตามแนวทางของ เฟรดเดอริก เฮอร์ซเบิร์ก (Herzberg, 1959) เนื่องจากสอดรับกับงานวิจัยมากที่สุด ส่วนปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานจากงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง พบว่าประกอบด้วย โครงสร้างองค์การ ความท้าทายและความรับผิดชอบ ความอบอุ่นและการ สนับสนุน การเปิดโอกาสให้เรียนรู้โดยการทดลอง ความขัดแย้ง มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความเสี่ยง และ ความผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ลักษณะความเหลื่อมล้าของอานาจ ลักษณะความเป็นปัจเจกนิยม ลักษณะ ความเป็นกลุ่มนิยม ลักษณะความเป็นชาย ลักษณะความเป็นหญิง ลักษณะการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน รวมถึงลักษณะของวัฒนธรรมในรูปแบบครอบครัว แบบราชการ แบบตลาด และวัฒนธรรมในรูปแบบการ เปลี่ยนแปลงพัฒนา (เบญจมาศ โรจน์ธนกิจ, 2546; วิริณธิ์ ธรรมนารถสกุล, 2547; ฐิตาภัทร ยงค์ประวัติ, 2549; เตือนใจ พิทยาวัฒนชัย, 2549; พรรนิภา ม่วงคร้าม, 2550; คะนึงนิจ อนุโรจน์, 2551; อินทิรา ลิ้ม ปัญญา, 2552; Petty, 1995) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีของลิทวิน และสติงเจอร์, 1968; Hofstede, 1997 และ Cameron and Ettington, 1988 ผู้วิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาตามแนวทางทั้ง 3 ทฤษฎีนี้ จังหวัดสตูลเป็นจังหวัดหนึ่งในชายแดนภาคใต้ที่มีอาณาเขตติดกับชายแดนประเทศเพื่อนบ้านอย่าง ประเทศมาเลเซียและมีสถาบันทางการศึกษาอยู่เป็นจานวนมากทั้งสังกัดรัฐบาลและเอกชน ความร่วมมือกัน ของประชาคมอาเซียน (AEC) จะเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันทางด้านการศึกษา หากสถาบันทางการศึกษาใน พื้นที่ยังไม่ได้รับการพัฒนาก็จะไม่สามารถแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้านได้ อีกทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้ ประเทศเพื่อนบ้านมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน ดังจะเห็นได้จากความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ไทยจากการจัดอันดับของสถาบันนานาชาติเพื่อพัฒนาการจัดการ (IMD) ได้จัดอันดับความสามารถในการ แข่งขันของประเทศไทยในช่วง 7 ปี (ปี 2549 - 2555) ที่ผ่านมา พบว่า ประเทศไทยมีอันดับความสามารถไม่ แน่นอนและค่อนข้างต่าลง โดยเฉพาะการศึกษาไทยอยู่ในลาดับที่ 78 จาก 144 ประเทศ และยังต่ากว่า ประเทศในอาเซียนด้วยกันอย่าง มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม (ครอบครัวข่าว3, 2556) ที่เป็นประเทศคู่ แข่งขันของไทย ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมจังหวัดสตูล เพื่อเป็นแนวทางใน การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูให้มีความสามารถในการแข่งขันที่สอดรับกับการเปิดประตูสู่ ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1) เพื่อตรวจสอบความกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูสังกัด โรงเรียนของรัฐบาลและสังกัดโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดสตูล 2) เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูใน โรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดสตูล วิธีดาเนินการวิจัย ประชากร ประชากรในงานวิจัยนี้รวมทั้งสิ้น 1,048 คน คือครูในโรงเรียนของรัฐ 566 คน และครู โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 482 คน กลุ่มตัวอย่าง การวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์สมการโครงสร้างเชิงเส้น ซึ่งเป็นเทคนิคการวิเคราะห์แบบ หลายตัวแปรกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างต่อจานวนตัวแปรสังเกตในโมเดลที่เพียงพอต่อการวิเคราะห์ข้อมูลที่ ควรมีสัดส่วนอย่างน้อย 10:1 (Schumacker; & Lomax, 1996) การวิเคราะห์มีตัวแปรสังเกต 40 ตัวแปร
  • 6. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1623 กลุ่มตัวอย่างจึงไม่ควรต่ากว่า 400 คน ผู้วิจัยจึงกาหนดกลุ่มตัวอย่างครู จานวน 600 คน ซึ่งเป็นขนาดกลุ่ม ตัวอย่างที่ใหญ่มากกว่าเกณฑ์ขั้นต่า จึงคาดว่าจะมีความถูกต้องและมีความคงที่ โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 300 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นและกาหนดสัดส่วนอย่างง่าย การวิเคราะห์ข้อมูล 1) ผู้วิจัยนาแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับครูที่สอนโรงเรียนมัธยมใน จังหวัดสตูล จากนั้นพิจารณาความสมบูรณ์และตั้งใจตอบแบบสอบถามจากที่ได้รับคืนทั้งหมดแล้วคัดเลือกไว้ จานวน 600 ฉบับ 2) วิเคราะห์สมการโครงสร้างและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลปัจจัยที่มีผลต่อ สมรรถนะในการปฏิบัติงานในภาพรวมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์ โดยใช้โปรแกรม LISREL ทาการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีความควรจะเป็นสูงสุด (Maximum Likelihood Estimate: ML) โดยจะทดสอบความมีนัยสาคัญของค่าอิทธิพลทางตรง ค่าอิทธิพล ทางอ้อม และค่าอิทธิพลรวมของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน 3) ทดสอบความ ไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลและสัมประสิทธิ์อิทธิพลของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของ ครูผู้สอนระหว่างโรงเรียนของรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม โดยใช้การวิเคราะห์กลุ่มพหุ (Multiple Group Analysis) ในโปรแกรมลิสเรล (LISREL) ตามแนวคิดของ Vandenberg & Lance, 2000 ที่แนะนาว่า การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลควรทาตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ทดสอบโมเดลกลุ่มย่อย 2) ทดสอบ ความเท่าเทียมกันของโมเดล 3) ทดสอบความเท่าเทียมกันของสัมประสิทธิ์อิทธิพลของแต่ละกลุ่ม 4) การ วิเคราะห์เพื่อทดสอบความแตกต่างของแต่ละโมเดลเชิงสาเหตุตามสมมติฐาน โดยการหาผลต่างของ 2 และ 2 .05,df ในขั้นนี้ถือว่าเป็นการวิเคราะห์สรุปผลจากการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน ผลการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู ผู้วิจัยวิเคราะห์โมเดลตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู ด้วยโปรแกรม LISREL เพื่อทาการ ประเมินความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่าโมเดลตั้งต้นยังสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ไม่ดีนัก และภายหลังจากการปรับรูปแบบความสัมพันธ์แล้วพบว่า โมเดลตามสมมติฐานมีความสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า 2 (df = 131) = 363.56, p-value = 0.00, 2 /df = 2.77, RMSEA = 0.05, GFI = 0.95, AGFI = 0.90, CFI = 0.99, NFI = 0.99 และ SRMR = 0.036 แสดงให้เห็นว่าหลังการปรับโมเดลทาให้ โมเดลมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ถึงแม้ว่าค่าไคสแควร์ยังมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 แต่สัดส่วนไคส แควร์ต่อค่าองศาอิสระมีค่าไม่เกิน 3 และค่า RMSEA เท่ากับ 0.05 โดยภาพรวมโมเดลมีความกลมกลืนกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ ดัชนีวัดความกลมกลืนต่างๆของโมเดลหลังปรับ นาเสนอดังภาพประกอบ 1 และตาราง 1
  • 7. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1624 ภาพประกอบ 1 แบบจาลองสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูหลังปรับโมเดล ตาราง 1 ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานของตัวแบบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยม หลัง การปรับโมเดล ตัวแปรผล R2 อิทธิ พล ตัวแปรเชิงสาเหตุ MOTIVE Aggressive- Defen Constructive Passive- Defen COMPETEN MOTIVE 0.69 0.92 DE IE TE DE IE TE -0.82 - -0.82 - - - 0.85 -0.79 0.06 0.96 - 0.96 0.75 - 0.75 - - - - -0.01 -0.01 0.01 - 0.01 จากตาราง1 ผลการศึกษาผลกระทบทางตรง (Direct effect) ผลกระทบทางอ้อม (Indirect effect) และผลกระทบรวม (Total effect) พบว่า ตัวแปรแฝงในตัวแบบสมการโครงสร้างทั้งหมดสามารถอธิบายความ แปรปรวนของสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูได้ร้อยละ 69 โดยปัจจัยที่มีผลกระทบรวมต่อสมรรถนะการ ปฏิบัติงานของครูมากที่สุดคือ ตัวแปรวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ (TE = 0.75) รองลงมาคือ วัฒนธรรมแบบเชิง รุก-ปกป้อง (TE = 0.06) ที่ได้รับอิทธิพลทั้งทางตรงทางบวก (DE = 0.85) และทางอ้อมทางลบ (IE = -0.79) และได้รับอิทธิพลทางอ้อมทางลบ (IE = -0.01) จากวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (TE = -0.01) ตามลาดับ ส่วนตัวแปรขวัญและกาลังใจถึงแม้มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานทางตรงทางลบต่อสมรรถนะใน การปฏิบัติงาน (DE = -0.82) แต่ก็มีผลต่อโมเดลโดยรวม นอกจากนี้ยังพบว่า ตัวแปรด้านขวัญและกาลังใจใน การปฏิบัติงาน (MOTIVE) มีสัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 92 โดยได้รับอิทธิพล ทางตรงจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง (DE = 0.96) กับวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (DE = 0.01) 2. ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู สังกัดโรงเรียนของรัฐบาลและสังกัดโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
  • 8. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1625 การวิเคราะห์ในส่วนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน และสัมประสิทธิ์อิทธิพลหลังการ ปรับโมเดลระหว่างโรงเรียนของรัฐและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผู้วิจัยทาการทดสอบค่าไคสแควร์ของ โมเดลการวัดด้วยวิธีวิเคราะห์กลุ่มพหุ (Vandenberg & Lance, 2000) โดยแยกการทดสอบออกเป็น 2 ส่วน คือ (1) กาหนดโดยวิธี Free parameters ผลการทดสอบพบว่า ค่า 2 = 2437.73, df = 435 และ (2) กาหนดโดย วิธี Weak factorial invariance ซึ่งกาหนดให้โมเดลยืดหยุ่นอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ผลการทดสอบพบว่า ค่า 2 = 2451.80, df = 444 การทดสอบโดยกาหนดให้แต่ละโมเดลมีอิสระจากกัน โดยพิจารณาค่า 2 /df จากเกณฑ์ของ Bollen, 1989 พบว่า 1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมโรงเรียน ของรัฐ พบว่าโมเดลสมมติฐานการวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า 2 /df = 3.48 ซึ่งอยู่ใน เกณฑ์ระดับยอมรับได้ 2. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับดี โดยมีค่า 2 /df = 2.82 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับดี 3. การวิเคราะห์กลุ่มพหุ ผู้วิจัยแยกการวิเคราะห์ออกเป็น 2 ลักษณะคือ 3.1 ผู้วิจัยทาการทดสอบโดยกาหนดให้โมเดลทั้งสองกลุ่มเท่ากัน ผลการทดสอบพบว่า โมเดล มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า 2 = 1465.17, df = 390, p-value = .00, 2 /df = 3.75 เนื่องจากดัชนีค่า 2 /df มีค่าเท่ากับ 3.75 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับยอมรับได้ 3.2 ผู้วิจัยทาการทดสอบโดยกาหนดให้โมเดลทั้งสองกลุ่มมีอิสระจากกัน ผลการทดสอบ พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า 2 = 1013.78, df = 304, p-value = .00, 2 /df = 3.33 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์รับได้ จากนั้นผู้วิจัยจึงทาการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครู มัธยมระหว่างโรงเรียนรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ดังตาราง 2 ตาราง 2 ผลการประมาณค่าความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมระหว่าง โรงเรียนของรัฐบาลกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สมมติฐานการวิจัย 2 df 2 /df 2 df P 1. HEqual 1465.17 390 3.75 451.39 86 < .05 2. HFree Parameter 1013.78 304 3.33 หมายเหตุ : 2 .05,86= 108.6478 จากตาราง 2 จะเห็นได้ว่า ค่า 2 > 2 .05,86 แสดงว่าผลการทดสอบความไม่ แปรเปลี่ยนของโมเดล มีความแปรเปลี่ยนของโมเดลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 จากผลการทดสอบดังกล่าว ผู้วิจัยจึงพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลภายในโมเดล พบว่ามีเส้น อิทธิพลบางเส้นที่แตกต่างกันมาก ซึ่งน่าจะเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดความแตกต่างกันระหว่างโมเดลโรงเรียนของรัฐ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ผู้วิจัยจึงทดสอบเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาว่ามีเส้นทางอิทธิพลใดบ้างที่มีความ แปรเปลี่ยนและแตกต่างกันโดยการทดสอบทีละเส้นทางอิทธิพล ผลการทดสอบแสดงได้ดังตาราง 3
  • 9. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1626 ตาราง 3 การทดสอบเส้นทางอิทธิพลภายในโมเดลที่ละเส้น สมมติฐาน 2 df 2 /df 1. HFreeForm 1013.78 304 3.33 2. HAggressive-Defen ->MOTIVE 1048.13 305 3.43 3. HAggressive-Defen->COMPETEN 1020.88 305 3.34 4. HConstructive->COMPETEN 1058.70 305 3.47 5. HPassive-Defen->MOTIVE 1015.94 305 3.33 6. HMOTIVE->COMPETEN 1050.49 305 3.44 ค่าเปรียบเทียบ 2 df P 2 เปรียบเทียบ 1 3 เปรียบเทียบ 1 4 เปรียบเทียบ 1 5 เปรียบเทียบ 1 6 เปรียบเทียบ 1 34.35 7.1 44.92 2.16 36.71 1 1 1 1 1 < .05 < .05 < .05 > .05 < .05 หมายเหตุ : 2 .05,1= 3.841 จากตาราง 3 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ของครูมัธยมระหว่างโรงเรียนของรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม พบว่า ดัชนีความกลมกลืนของโมเดลกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในระดับยอมรับได้ เนื่องจากดัชนีค่า 2 /df มีค่าน้อยกว่า 5 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับยอมรับได้ จากการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของสัมประสิทธิ์อิทธิพล ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่มีความ แตกต่างของไคสแควร์ที่ค่าองศาอิสระเท่ากับ 1 ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลสมรรถนะการ ปฏิบัติงานของครูมัธยม ดังแสดงตามตาราง 3 พบว่าโมเดลมีความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายเส้นพบว่าค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่มีความแตกต่างของไคสแควร์ที่ค่าองศาอิสระเท่ากับ 1 มีจานวน 4 เส้นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบ เชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจ ตัวแปรจากวัฒนธรรมองค์การแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อ สมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตัวแปรจากวัฒนธรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และตัว แปรขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน อภิปรายผลการวิจัย 1) การตรวจสอบความกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยม ในจังหวัดสตูล พบว่า โมเดลตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยม มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูล เชิงประจักษ์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยตัวแปรแฝงในตัวแบบสมการโครงสร้างทั้งหมดสามารถ อธิบายความแปรปรวนของสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูได้ร้อยละ 69 โดยปัจจัยที่มีผลกระทบรวมต่อ สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมากที่สุดคือ ตัวแปรวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ (TE = 0.75) รองลงมาคือ วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง (TE = 0.06) ที่ได้รับอิทธิพลทั้งทางตรงทางบวก (DE = 0.85) และทางอ้อมทาง ลบ (IE = -0.79) และได้รับอิทธิพลทางอ้อมทางลบ (IE = -0.01) จากวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (TE = - 0.01) ตามลาดับ ส่วนตัวแปรขวัญและกาลังใจถึงแม้มีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลคะแนนมาตรฐานทางตรงทางลบ
  • 10. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1627 ต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน (DE = -0.82) แต่ก็มีผลต่อโมเดลโดยรวม นอกจากนี้ยังพบว่า ตัวแปรด้านขวัญ และกาลังใจในการปฏิบัติงาน (MOTIVE) มีสัดส่วนของความแปรปรวนที่อธิบายได้ประมาณร้อยละ 92 โดย ได้รับอิทธิพลทางตรงจากตัวแปรวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง (DE = 0.96) กับวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง (DE = 0.01) จะเห็นได้ว่า สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยมทั้งโรงเรียนของรัฐและโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลามส่วนใหญ่ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง และวัฒนธรรมแบบตั้งรับ-ปกป้อง สอดคล้องกับงานวิจัยของนวลพรรณ วุฒิไชยนานนท์ (2555) ที่ศึกษา วัฒนธรรมองค์การและความผูกพันต่อองค์การที่มีผลต่อประสิทธิผลขององค์การ พบว่า การบรรลุเป้าหมาย ขององค์การมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมองค์การลักษณะแบบตั้งรับ-ปกป้อง ลักษณะแบบเชิงรุก-ปกป้อง และ ลักษณะแบบสร้างสรรค์ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อพิจาณาความสัมพันธ์ของเส้นทางอิทธิพล พบว่า ครูส่วนใหญ่ทั้ง ในโรงเรียนของรัฐและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมีวัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์สูงที่สุด เนื่องจากครูส่วน ใหญ่มีความเชื่อที่เป็นบรรทัดฐานของวัฒนธรรมแบบนี้ คือ การมุ่งเน้นความสาเร็จ การส่งเสริม สนับสนุนให้ สมาชิกเกิดแรงจูงใจในการทางาน มีความสุขกับงานที่ทา ซึ่งประกอบด้วยการแสดงออกในลักษณะการ ประนีประนอม อ่อนน้อม ให้ความเอาใจใส่และห่วงใยในเรื่องความสัมพันธ์ ให้ความสนใจกับคุณภาพชีวิต มี การช่วยเหลือกันและกัน และมีความผูกพันกันเป็นสังคม โดยให้ความสนใจกับวัฒนธรรมแบบความเหลื่อมล้า ของอานาจ ความเป็นหญิง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงพัฒนา และการหลีกเลี่ยงความไม่ แน่นอนจะส่งเสริมให้สมาชิกร่วมกันทางานเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จของโรงเรียนได้ สอดคล้องกับ Embree (1950) เขากล่าวว่าลักษณะที่โดดเด่นของคนไทยที่แตกต่างจากชาวญี่ปุ่นหรือชาวเวียดนามคือ คนไทยเป็นคน รักอิสระ ไม่ชอบข้อผูกมัดและหลีกเลี่ยงพันธะทางสังคม โครงสร้างและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถ ควบคุมพฤติกรรมของปัจเจกบุคคลได้ คนไทยมักเลือกทาตามใจตนเองมากกว่าทาตามความคาดหวังและ พันธะผูกพันทางสังคม สอดคล้องกับงานวิจัยของพรชุลี อาชวอารุง และคณะ (2547) ซึ่งได้ศึกษากระบวน ทัศน์และคุณลักษณะของข้าราชการไทยการโดยใช้กรอบความคิดเรื่องการปฏิรูประบบราชการ ทฤษฎีพัฒนา องค์การ และแนวคิดเรื่องกระบวนทัศน์สาหรับองค์การในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งความคิดเห็นของ นายกรัฐมนตรีและนักวิชาการสาคัญๆ อีกหลายท่านมากาหนดตัวแปรในการศึกษา และใช้การสารวจประเมิน ความคิดเห็นของข้าราชการแบบ 360 องศา คือ ผู้ตอบแบบสอบถามประเมินตนเอง ผู้บังคับบัญชา เพื่อน ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชาในแบบสารวจเดียวกัน กระบวนทัศน์ที่คณะผู้ศึกษาได้กาหนดในการสารวจมี 12 ด้าน แต่ผลการวิจัยกระบวนทัศน์ข้าราชการไทยทั้ง 12 ด้าน พบว่า ข้าราชการไทยมี 10 ด้าน ได้แก่ การ หลีกเลี่ยง การเอื้ออานวย การประนีประนอม การแข่งขัน การร่วมมือ การวินิจฉัย การวิพากษ์ การคัดสรร การปฏิสัมพันธ์และการเปลี่ยนผ่าน จากคุณลักษณะของข้าราชการไทยได้สะท้อนความคิดความเชื่อและค่านิยมของข้าราชการไทย ในปัจจุบันที่หลายๆ อย่างยังคงเป็นค่านิยมแบบเก่าที่สืบเนื่องมาแต่ครั้งโบราณ และบางอย่างก็เป็นค่านิยมใหม่ ที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดการบริหารจัดการยุคใหม่ของตะวันตกที่แพร่หลายไปในองค์การบริหารภาครัฐและ และธุรกิจเอกชน สอดรับกับผลการวิจัยที่พบว่า สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูทั้งโรงเรียนของรัฐและ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมแบบความเป็นหญิง ความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน ความเหลื่อมล้าของอานาจ การเปลี่ยนแปลงพัฒนา และการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน สะท้อนให้ เห็นค่านิยมวัฒนธรรมที่ส่งเสริมให้สมาชิกร่วมกันทางานเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จของโรงเรียน ขณะเดียวกัน สมาชิกก็ได้เรียนรู้และมีพัฒนา วัฒนธรรมแบบนี้เป็นค่านิยมใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์เป็นแบบผสมผสานที่
  • 11. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1628 หลากหลายนาไปสู่วัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ นอกจากนี้ยังได้อิทธิพลจากวัฒนธรรมที่มีการกาหนดมาตรฐาน การปฏิบัติงาน มีวัฒนธรรมแบบราชการ และวัฒนธรรมแบบเน้นการตลาด สะท้อนให้เห็นค่านิยมเดิมในแง่ การเอาตัวรอด การไม่ขัดแย้ง ไม่ขัดใจกับผู้อื่น การชอบสังคม และรู้จักปรับตัวตามสถานการณ์ เนื่องจากไม่ กล้าคิดและทาอะไรใหม่ๆ เพราะเกรงว่าจะถูกเพ่งเล็ง เป็นภัยแก่ตนเอง ซึ่งนาไปสู่วัฒนธรรมแบบตั้งรับ- ปกป้อง และได้รับอิทธิพลจากลักษณะโครงสร้างองค์การ การสนับสนุนการปฏิบัติงาน ความอบอุ่นในการ ปฏิบัติงาน การเปิดโอกาสให้เรียนรู้ ความขัดแย้ง ความเสี่ยง ความเป็นชาย ความเป็นปัจเจกนิยม ความเป็น กลุ่มนิยม และความเป็นครอบครัว สะท้อนให้เห็นค่านิยมที่สมาชิกมักแสดงออกถึงพฤติกรรมอย่างชัดแจ้งใน การปกป้องสถานภาพและความมั่นคงในงานของตน ค่านิยมของสมาชิกในโรงเรียนที่มีวัฒนธรรมแบบนี้เน้น การทางานที่มีความสมบูรณ์แบบ ซึ่งนาไปสู่วัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง 2) ผลการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนของรัฐบาลและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดสตูล พบว่า ผลการทดสอบความไม่ แปรเปลี่ยนของรูปแบบโมเดล มีความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ผู้วิจัยจึงทดสอบเพิ่มเติม เพื่อพิจารณาว่ามีเส้นทางอิทธิพลใดบ้างที่มีความแปรเปลี่ยนและแตกต่างกันโดยการทดสอบทีละเส้นทางอิทธิพล พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่มีความแตกต่างของไคสแควร์ที่ค่าองศาอิสระเท่ากับ 1 ผลการทดสอบความไม่ แปรเปลี่ยนของโมเดลสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูมัธยม พบว่าโมเดลมีความแปรเปลี่ยนอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายเส้นพบว่าค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่มีความแตกต่างของไคสแควร์ที่ค่า องศาอิสระเท่ากับ 1 มีจานวน 4 เส้นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ตัวแปรจาก วัฒนธรรมโรงเรียนแบบเชิงรุก-ปกป้องที่ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจ ตัวแปรจากวัฒนธรรมโรงเรียนแบบเชิงรุก- ปกป้องที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ตัวแปรจากวัฒนธรรมสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน และตัวแปรขวัญและกาลังใจที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน แสดงให้เห็นว่า โรงเรียนของรัฐ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมีวัฒนธรรมโรงเรียนที่มีผลต่อขวัญและกาลังใจกับสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน เนื่องจากครูในโรงเรียนของรัฐต้องทางานภายใต้ระบบราชการ มีขั้นตอนในการทางาน มากเกินไป สอดคล้องกับบุญเรือง พรมสิทธิ์ (2540) ได้ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการ พัฒนาครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น พบว่า สภาพปัจจุบันในการพัฒนาครูที่ สาคัญ คือ ให้โรงเรียน มีการกาหนดผลงานและโครงงานตามความต้องการของครูและจัดวิทยากรหรือ ผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้กับครู ต่างจากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามที่ได้รับอิทธิพลสูงสุดจากวัฒนธรรม แบบเชิงรุก-ปกป้อง ด้านการสนับสนุนในการปฏิบัติงาน และได้รับอิทธิพลน้อยที่สุดจากด้านความเป็นชาย เนื่องจากครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามยังได้รับการสนับสนุนอยู่ในระดับที่น้อยกว่าโรงเรียนของรัฐ จึงทาให้เกิดทัศนคติ และความพึงพอใจที่ส่งผลต่อการทางาน สอดคล้องกับเบิร์คและกรีนกลาส (Burke & Greenglass, 1989) พบว่า หากครูได้รับการสนับสนุนทางสังคม ครูย่อมทาให้เกิดความท้อแท้ในการทางาน น้อยลง เกิดบรรยากาศในการทางานที่ดีมีความพึงพอใจและส่งผลต่อความสาเร็จในงานด้วย สอดคล้องกับคิล เลี่ยน (Killian, 1968) พบว่า บรรยากาศของโรงเรียนมีอิทธิพลต่อการคิด แรงจูงใจ ความพึงพอใจ ตลอดจน ความสาเร็จของการปฏิบัติงานในโรงเรียน เพราะฉะนั้นเส้นทางอิทธิพลในการให้ความสาคัญของทั้งสององค์กร จึงแตกต่างกันตามความต้องการที่มีต่างกัน ซึ่งก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน กล่าวคือ มีวัฒนธรรมคนละ รูปแบบ ทาให้ส่งผลต่อขวัญและกาลังใจต่างกันตามรูปแบบของวัฒนธรรมโรงเรียนที่ต่างกัน สอดคล้องกับ วิริ ยาภรณ์ สุวัฒนสวัสดิ์ (2538) ที่ศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษาพยาบาล ระหว่าง
  • 12. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1629 สถาบันการศึกษาที่สังกัดหน่วยงาน 3 แห่ง คือ กระทรวงสาธารณสุข ทบวงมหาวิทยาลัย และสังกัดเอกชน พบว่ามีลักษณะแตกต่างกันทั้งสามแบบ นอกจากนี้ยังมีขวัญและกาลังใจที่มีผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานที่ แตกต่างกันอีกด้วย ส่งผลให้ผลการทดสอบโมเดลระหว่างโรงเรียนของรัฐกับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มีความแปรเปลี่ยน ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้สมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมีความแตกต่างกัน ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย จากผลการศึกษาตัวแบบสมการโครงสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูมัธยมในจังหวัดสตูล และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยน พบว่า ขวัญและกาลังใจ วัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์ วัฒนธรรมแบบตั้งรับ- ปกป้อง และวัฒนธรรมแบบเชิงรุก-ปกป้อง มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และวัฒนธรรม แบบสร้างสรรค์มีอิทธิพลทางอ้อมต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงาน โดยตัวแบบสมการโครงสร้างดังกล่าวสามารถ อธิบายสมรรถนะการปฏิบัติงานได้ถึงร้อยละ 69 ฉะนั้นผู้บริหารหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกาหนดนโยบาย ในการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูควรให้ความสาคัญกับปัจจัยดังกล่าวเพื่อให้เกิดการพัฒนา สมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูที่สูงขึ้น โดยเฉพาะครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม เนื่องจากโมเดล ดังกล่าวสามารถอธิบายสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามได้ดีกว่าครูใน โรงเรียนของรัฐ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะกับผู้บริหารที่มีบทบาทสาคัญที่สุด รวมทั้งครูที่เป็นกาลังสาคัญใน การพัฒนาสมรรถนะ โดยมีแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ 1.1ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายกับรัฐบาล และกระทรวงศึกษาธิการหรือหน่วยงานต้นสังกัด 1.1.1 ผู้บริหารหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสนใจและพัฒนาคุณภาพชีวิตกับ ครูผู้สอนให้มากกว่าที่ควร โดยเฉพาะขวัญและกาลังใจด้านค้าจุน คือ ความชัดเจนของเป้าหมายและนโยบาย กับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และด้านจูงใจ คือลักษณะของงาน ความก้าวหน้าในงาน และความรับผิดชอบ ในงาน ซึ่งจะส่งผลให้บุคลากรมีความกระตือรือร้นในการทางานมากขึ้น และควรให้ความสนใจกับโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลามเป็นพิเศษ เนื่องจากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามเป็นโรงเรียนที่อยู่กับชุมชน และสอดคล้องกับความต้องการ ความเชื่อ และศรัทธาของคนในชุมชน ที่ผู้ปกครองในจังหวัดชายแดนใต้ส่วน ใหญ่ส่งบุตรหลานเข้าเรียนในระดับมัธยมสูงกว่าโรงเรียนของรัฐบาล 1.1.2 ผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องในองค์การควรกระตุ้นให้บุคลากรปรับเปลี่ยนวิธีการ ปฏิบัติงาน เพื่อก่อให้เกิดวัฒนธรรมองค์การที่เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะ วัฒนธรรมแบบสร้างสรรค์สาหรับโรงเรียนของรัฐ ที่จะส่งผลให้ครูมีขวัญและกาลังใจเพิ่มขึ้นได้ และวัฒนธรรม แบบตั้งรับ-ปกป้อง สาหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามซึ่งจะส่งเสริมให้ครูในโรงเรียนของรัฐมีขวัญและ กาลังใจเพิ่มมากขึ้น และส่งเสริม สนับสนุน สร้างแรงกระตุ้นด้านขวัญและกาลังใจให้ครูมีความภาคภูมิใจและ เต็มใจที่จะปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่ 1.1.3 หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริมและให้การสนับสนุน วัฒนธรรมองค์การ กับขวัญและ กาลังใจ ที่สอดคล้องกับแต่ละองค์การเพื่อให้สามารถพัฒนา และปรับปรุงปัจจัยต่างๆ ให้มีความเหมาะสม และแก้ไขแนวทางการดาเนินงานที่ส่งผลให้ครูมีสมรรถนะที่สูงขึ้น 1.2 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการสาหรับโรงเรียนของรัฐบาลและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จากการศึกษาที่พบว่า ตัวแบบสมรรถนะการปฏิบัติงาน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสามารถอธิบาย สมรรถนะการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามได้ดีกว่าโรงเรียนของรัฐบาล จึงในควร พัฒนาและส่งเสริมวัฒนธรรมองค์การที่เหมาะสมกับแต่ละโรงเรียน ซึ่งจะส่งผลให้ครูมีสมรรถนะในการ
  • 13. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1630 ปฏิบัติงานที่สูงขึ้น โดยการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์การบางอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการทาให้สมรรถนะในการ ปฏิบัติงานลดลง และส่งเสริม สนับสนุน สร้างแรงกระตุ้นด้านขวัญและกาลังใจให้ครูมีความภาคภูมิใจและเต็ม ใจที่จะปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรนาตัวแปรสาเหตุอื่น ที่ไม่ได้นามาศึกษาในครั้งนี้ มาทาการศึกษา 2. ควรมีการศึกษาในเขตพื้นที่อื่นๆ เพื่อนามาเปรียบเทียบความแตกต่างแต่ละพื้นที่ 3. ควรมีการศึกษาเชิงคุณภาพ บรรณานุกรม ครอบครัวข่าว3. (2556). สกู๊ป..ถอดรหัสการศึกษาไทยรั้งท้ายอาเซียน. (Online). Available: https://:www.krobkruakao.com (5 สิงหาคม 2556) นวลพรรณ วุฒิไชยนานนท์. (2555.) วัฒนธรรมองค์การและความผูกพันต่อองค์การที่มีต่อประสิทธิผลของ องค์การ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. บุญเรือง พรมสิทธิ์. (2540). การศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับการพัฒนาครูในโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญ จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สาเนา) พรชุลี อาชวอารุง และคณะ. (2547). กระบวนทัศนะและคุณลักษณะของข้าราชการไทย.รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร. พิณสุดา สิริธรังศรี. (2552). ภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10 – 20 ปี. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์ดีการพิมพ์ จากัด. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2553). คู่มือประเมินสมรรถนะครู 53. (Online). Available: http://www.tmk.ac.th/teacher/capasity.pdf, (ตุลาคม 2553). สุรินทร์ พิศสุวรรณ. (2555). ทิศทางเครือข่ายอุดมศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราชกับความพร้อมในการ ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. ภาคใต้โฟกัส รายสัปดาห์, 2555 p.2C (การศึกษา – เยาวชน). ปีที่ 15 ฉบับที่ 728 วันที่ 4 – 10 กุมภาพันธ์ 2555. สุวรรณี คามั่น. (2551). สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวโน้มบริบทการเปลี่ยนแปลงสังคมโลกและสังคมไทย ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ด้านสังคม. กรุงเทพมหานคร: สานักนโยบายและแผนการศึกษา, สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. Bollen, Kenneth A.(1989). Structural Equations with Latent Variables.New York: John Wiley & Sons. Burke, R. J., & Greengalss, E. R. (1989). Sex differences in teachers. Psychological Reports, 65(1),55 – 63. Killian, R. A. (1968). Managing by decision for maximum executive effectiveness. North Carolina: Valle – Balou Press. Suntaree Komin. (1990). The Psychology of the Thai People Values and Behavioral Patterns. Bangkok: Research Center. Nation Institute of Development Administration. Schumacker, R.E.; & Lomax, RG. (1996). A Beginner’s Guide to Structural Equation Modeling. New Jersey: Lawrence Erlbaum.
  • 14. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1631 Vandenberg, Robert J. and Lance, Charles E. (2000). Organizational Research Methods. (Online). Available: http://www.orm.sagepub.com/content/3/1/4,2000. (01 October 2013)
  • 15. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ศึกษาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 1 วันที่ 29-30 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมหรรษา เจบี อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Our Soul is for the Benefit of Mankind | ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 45 ปี คณะศึกษาศาสตร์ สร้างครูผู้สร้างชาติ ตามรอยพระบาทพระราชบิดา 1632 ปัจจัยที่มีผลต่อคุณลักษณะทางวิชาชีพของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี Factors affecting the professional characteristics of Students at the Pattani Vocational College ณัฐลักษณ์ อิสสระ1*# กษมน รุ่งโรจน์รังสรร2# นาอีมะห์ หะยีบานุง3# และอาฟีฟี ลาเต๊ะ4 # นักศึกษาหลักสูตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 1 พนักงานบริหารทั่วไป วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 2 อาจารย์พิเศษ ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตยะลา อาเภอเมือง จังหวัดยะลา 3 ครูผู้ช่วย โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา อาเภอเมือง จังหวัดยะลา 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี * E-mail : nuinat310@gmail.com บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณลักษณะทางวิชาชีพและสร้างสมการ พยากรณ์คุณลักษณะทางวิชาชีพของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน นักศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จานวน 214 คน ผลการวิจัยพบว่า บุคลิกภาพ ทัศนคติ แรงจูงใจ อนาคตของงาน ค่านิยม และคุณลักษณะทางวิชาชีพ มีความสัมพันธ์ทางบวกกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ระหว่าง .430 - .762 การสร้างสมการพยากรณ์ได้พบว่า แรงจูงใจ ทัศนคติ อนาคตของงาน และบุคลิกภาพ ที่สามารถพยากรณ์ คุณลักษณะทางวิชาชีพอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีสมการในรูปคะแนนดิบและคะแนน มาตรฐาน ดังนี้ Yˆ = 0.067+0.318(แรงจูงใจ) + 0.315 (ทัศนคติ) + 0.213 (อนาคตของงาน) + 0.138 (บุคลิกภาพ) Z = 0.060 (แรงจูงใจ) + 0.055 (ทัศนคติ) + 0.053 (อนาคตของงาน) + 0.050 (บุคลิกภาพ) คาสาคัญ: คุณลักษณะทางวิชาชีพ อาชีวศึกษา Abstract This research aims to study the factors that affect the professional characteristics and created regression equation of professional characteristics of Students at the Pattani Vocational College. The sample were 214 students in Semester 2 Year 2556 B.G. of Pattani Vocational College in Muang District Province. The results showed that personality, attitudes, motivation, future work, values and professional characteristics had positive correlation with statistically significant at the .05 level, the correlation coefficient between 0.430 to 0.762. An equation for prediction found that motivation, attitude, future work and personality could be predictors of professional features with Statistically significant at the .05 level. The equation of the raw scores and standardize scores as follow. Yˆ = 0.067+0.318 (motivation)+0.315(attitudes)+0.213(future of work)+0.138 (personality) Z = 0.060 (motivation)+0.055 (attitudes) + 0.053 future of work) + 0.050 (personality) Keywords : professional characteristics, Vocational education