SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 9
Downloaden Sie, um offline zu lesen
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๑
ตอนที่ ๔
สรุปผลการพัฒนาและการนาผลการประเมินไปใช้
๑. สรุปผลการดาเนินงานในภาพรวม
ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ของสถานศึกษาโดยรวม พบว่า
มีโครงการที่ประสบความสาเร็จ จานวน 14 โครงการ ไม่ประสบความสาเร็จ จานวน 1 โครงการ ดังนี้
๑.๑ โครงการ/กิจกรรมที่ประสบผลสาเร็จ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม ปัจจัยสนับสนุน
1.โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1.ผู้บริหารสร้างความตระหนักและให้การสนับสนุนงบประมาณในการ
จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
2.ครูทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA)
3.ครูมีความตระหนักทุ่มเทการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
4.ใช้กิจกรรมที่หลากหลายในการจัดการเรียนการสอน
๒.โครงการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
1.ผู้บริหารสร้างความตระหนัก
2.ทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA)
3.ครูมีความตระหนักทุ่มเทการทางานเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนให้แก่นักเรียน
4.ใช้กิจกรรมแบบบูรณาการในการเรียนการสอนเพื่อยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ให้แก่นักเรียน
3.โครงการพัฒนางานเอดส์และเพศศึกษา 1.ผู้บริหารสร้างความตระหนักและให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมทั้ง
ในและนอกสถานศึกษา
2.มีการทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA)
3.เผยแพร่ความรู้แก่โรงเรียนใกล้เคียงและหน่วยงานอื่น
4.โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต
และสุนทรียภาพทางดนตรี
1.ผู้บริหารให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกาย
สุขภาพจิตและสุนทรียภาพทางดนตรี ทั้งในและนอกสถานศึกษา
2.มีกระบวนการการทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA)
3.มีห้องปฏิบัติการ อาคาร สถานที่ ที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพกาย
สุขภาพจิตและสุนทรียภาพทางดนตรีของนักเรียน
5.โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน
1.ผู้บริหารสร้างความตระหนักในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน
2.ทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA)
3.ครูมีการวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล ออกเยี่ยมบ้าน ประชุม วาง
วางแผนการแก้ปัญหานักเรียนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับผู้บริหาร ผู้ปกครอง
และนักเรียน
6.โครงการประกันคุณภาพการศึกษา 1.ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เข้าใจระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
2.ครูมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษา มีส่วนร่วมในการ
ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการทาโครงการ การทา ID Plan
การสรุปโครงการ สรุปผลการปฏิบัติงานประจาปี นาไปปรับปรุง
พัฒนาในปีการศึกษาต่อไป
3.มีโครงสร้างการบริหารงาน การมอบหมายภาระหน้าที่ตาม
โครงสร้างการบริหารอย่างชัดเจน
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๒
ชื่อโครงการ/กิจกรรม ปัจจัยสนับสนุน
7.โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาสู่
มาตรฐานการศึกษา
1.ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ จัดการศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษา
2.ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรม มีความตระหนัก
ทุ่มเทการทางาน
3.มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบได้ตรงกับความสามารถและความถนัด
4.ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการนิเทศโครงการ/กิจกรรม
8.โครงการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร 1.ผู้บริหารใช้กระบวนการทางานที่เป็นระบบ
2.ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรมที่หลากหลายและ
บูรณาการมุ่งสู่เป้าหมาย
3.มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบได้ตรงกับความสามารถและความถนัด
4.ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการนิเทศโครงการ/กิจกรรม
9.โครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์และ
การสื่อสาร
1.ผู้บริหารใช้กระบวนการทางานที่เป็นระบบ
2.ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรม
3.มีระบบเครือข่ายแบบไร้สาย ให้บริการในโรงเรียน
4. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียน
10.โครงการส่งเสริมรักการอ่าน 1.ผู้บริหารมีจุดเด่นด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ การมีวิสัยทัศน์ การสื่อสาร
และจูงใจใช้กระบวนการทางานที่เป็นระบบ
2.ครูมีส่วนร่วมในส่งเสริมรักการอ่านในกระบวนการจัดการเรียนการ
สอนในชั้นเรียน
3.มีงบประมาณในการจัดซื้อหนังสืออ่านนอกเวลา
12.โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
1.ผู้บริหารมีจุดเด่นด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ การมีวิสัยทัศน์ การสื่อสาร
และจูงใจประสานความร่วมมือ ในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้
2.ผู้บริหารสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินโครงการ
3.นักเรียนส่วนใหญ่มีผู้ปกครองที่มีอาชีพเกษตรกรรมทาให้มี
ความคุ้นเคยกับงานเกษตร
4.ทางานอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการ PDCA
5.มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อที่เหมาะสม
13.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 1.ผู้บริหารสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินโครงการ
2.ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรมและบูรณาการ
กิจกรรมมุ่งสู่เป้าหมาย
3.มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบได้ตรงกับความสามารถและความถนัด
14.โครงการสานสัมพันธ์ชุมชน 1.ผู้บริหารมีจุดเด่นด้านการสานสัมพันธ์กับชุมชน มีวิสัยทัศน์ การ
สื่อสารและจูงใจให้ชุมชนเข้าร่วมจัดการศึกษา
2.ครูมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกคน
3.บุคลากร ครู นักเรียนให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมต่างๆใน
ชุมชน เช่น วันออกพรรษา วันพ่อแห่งชาติ วันแม่แห่งชาติ
15.โครงการพัฒนาอาคารสถานที่และ
สิ่งแวดล้อม
1.ผู้บริหารสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินโครงการ
2.โรงเรียนมีต้นไม้มาก ร่มรื่น ทาให้มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม น่าอยู่
3.ทางานอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการ PDCA
4.ช่างครุภัณฑ์มีความชานาญในการซ่อม บารุง รักษา สิ่งก่อสร้าง
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๓
๑.๒ โครงการ/กิจกรรมที่ไม่ประสบผลสาเร็จ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม สาเหตุ
11.โครงการสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน 1.เป็นโครงการใหม่
2.ครูได้รับการอบรม สร้างความรู้เกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์ใน
โรงเรียนเพียงบางส่วน ยังไม่ครบทุกคน
3.ยังไม่มีการบูรณาการให้เข้ากับกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละ
รายวิชา
2. จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา
1. ด้านคุณภาพผู้เรียน
จุดเด่น ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีสุขนิสัยสุขภาพกายและ
สุขภาพจิตที่ดี มีสุนทรียภาพและมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา มีความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ มีทักษะในการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทักษะในการทางาน รักการทางาน
สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผล และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีผลงานทั้งในระดับ นานาชาติ
ระดับประเทศ ระดับภาค ระดับเขตพื้นที่ และระดับจังหวัด เช่น รางวัลถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพพระ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการประกวดนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีระดับประเทศ ครั้งที่ 4 หัวข้อ
นวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีกับการประยุกต์ใช้วัสดุนาโน รางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์
ระดับมัธยมศึกษา เรื่อง การกาจัดเชื้อราในบ่อเลี้ยงจิ้งหรีดด้วยอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ ได้รับคัดเลือกให้เข้า
ร่วมโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ของสานักกองทุนวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับธนาคารกสิกรไทย โครงการยุวชนไทย
ร่วมใจรักษ์น้า ในการสนับสนุนงบประมาณในการทางานวิจัยเกี่ยวกับ นวัตกรรมการอนุรักษ์น้าเพื่อชุมชน
จุดที่ควรพัฒนา ควรพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้
และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านกระบวนการคิด
วิเคราะห์จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
2. ด้านการจัดการศึกษา
จุดเด่น ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา มีภาวะความเป็นผู้นาและมี
ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษามีความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียน วัด สร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ระหว่างโรงเรียนและชุมชน มีการจัดตั้งองค์กรโครงสร้างการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบวงจรให้บรรลุ
เป้าหมายการศึกษา มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ส่งเสริมความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับชุมชน
ในการพัฒนาการศึกษา ครูมีคุณวุฒิและความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ และมีครูอย่างเพียงพอ
ส่งผลให้โรงเรียนผ่านการประเมินรับรองให้เป็น ต้นแบบโรงเรียนในฝันรุ่นที่ 3 “โรงเรียนดี ประจาอาเภอ” จัด
การศึกษาให้กับเด็กทุกคนให้ได้รับโอกาสทางการศึกษา ส่งผลให้เด็กชายอุ้มบุญ หมายเขา ได้รับการส่งเสริม
และพัฒนาให้ได้รับรางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ อันดับที่ 1 ระดับประเทศ กิจกรรมการประกวดเล่านิทาน
ประเภท บกพร่องทางร่างกายฯ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
จุดที่ควรพัฒนา การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนในการบริหารจัดการศึกษา การปรับปรุง
หลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน เพื่อให้มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่นของตนเอง ครู
ควรมีสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย และนาเทคโนโลยีมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๔
3. ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
จุดเด่น สถานศึกษาสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ระดมทรัพยากรในท้องถิ่น สื่อภูมิปัญญา
ชาวบ้านจัดรวบรวมอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าของผู้เรียนและชุมชน
จุดที่ควรพัฒนา ควรรวบรวมสื่อ อุปกรณ์ ภูมิปัญญาชาวบ้าน ศูนย์การเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทาเพื่อสะดวกในการศึกษาค้นคว้า
4. ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
จุดเด่น สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม โครงการ สอคล้องกับนโยบายกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงาน
แผนงานงบประมาณ ในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ปลูกฝังค่านิยมให้ผู้เรียนมีจิตสานึกในการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมตามสภาพบริบทของโรงเรียนและชุมชน นาหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน การปฏิบัติงาน หน้าที่ของบุคลากร ส่งผลให้โรงเรียนผ่านการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง ประเภท ค
ซึ่งรับการประเมินเป็นสถานศึกษาประเภท ข ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ในช่วงต้นเดือนมีนาคม
2556 ที่ผ่านมา
จุดที่ควรพัฒนา วิเคราะห์สภาพปัญหาและการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการ
อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประจาถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้เทคโนโลยี ในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ
5.ด้านมาตรการส่งเสริม
จุดเด่น สถานศึกษามีนโยบายแผนปฏิบัติงาน กลยุทธ์ โครงการหรือกิจกรรมของแต่ละฝ่าย
อย่างชัดเจน มีโครงสร้างการบริการงานในการร่วมมือ การสร้างช่องทางการช่วยเหลือที่หลากหลายกาหนด
เป้าหมายสร้างสังคม สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนรู้พร้อมปฏิบัติให้เกิดการบูรณาการ
ที่เหมาะสม ระดมทรัพยากรจัดหาสื่อเทคโนโลยี สร้างศูนย์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ตอบสนองนโยบาย
จุดเน้นของเขตพื้นที่ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ส่งผลให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 มีผลการประเมินระดับชาติ (O-Net) ที่สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา 2554 มีคะแนนสรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ 5
คะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้ 8.4 คะแนน คุณภาพ ระดับ พอใช้ (ผ่านการรับรองประเมินคุณภายนอกรอบสาม
จาก สมศ.)
จุดที่ควรพัฒนา การจัดทาแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงาน นโยบายไม่สอดคล้องกับโครงการ
หรือกิจกรรมที่จาเป็นต้องดาเนินการเร่งด่วน ทาให้โครงการหรือกิจกรรมบางอย่างเกิดขึ้นกับผู้เรียนไม่มี
ประสิทธิภาพและไม่บรรลุวัตถุประสงค์
3.แนวทางการพัฒนาในอนาคต
สถานศึกษาจะส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลายโดยผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการจัดกิจกรรมการสอนแบบโครงงานในทุกกลุ่ม
สาระและพัฒนาผู้เรียนให้มีส่วนร่วมสารวจความคิดเห็นในการจัดรูปแบบการเรียนการสอน โดยเน้น
กระบวนการกลุ่มเพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกล้าคิด กล้าทา เน้น
การส่งเสริมความสามัคคีในหมู่เหล่า พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการผลิตสื่อ
อุปกรณ์ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบปฏิสัมพันธ์ Tablet พัฒนาปรับปรุง
ห้องเรียนห้องพิเศษต่าง ๆ ให้มีอุปกรณ์ สื่อประกอบการเรียนการสอนที่เหมาะสม เพียงพอ เอื้อต่อการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน จัดกิจกรรมที่เหมาะสมน่าสนใจและมีการใช้สอยอย่างคุ้มค่า จัดทาแผนปฏิบัติการ
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๕
แผนงานงบประมาณ สอดคล้องกับมาตรฐาน เป้าหมายการจัดการศึกษาสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน จัดให้
มีกล่องแสดงความคิดเห็นของผู้เรียน ผู้ปกครองในสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อ
ควบคุมดูแลการบริหารจัดการในสถานศึกษา
4. ความต้องการและความช่วยเหลือ
- การจัดสรรอัตรากาลัง ได้แก่ ครูผู้สอนและสายสนับสนุนเพื่อให้เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน
ของสถานศึกษา
- การสนับสนุนด้านงบประมาณในด้านต่างๆ อย่างเร่งด่วน ได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์ทางการเรียน
คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ อุปกรณ์กีฬา เพื่อใช้ในการประกอบการเรียนการสอน
- ความจาเป็นพื้นฐานในการดาเนินชีวิต ซึ่งบริบทของชุมชนยังมีค่านิยมเรื่องการแต่งงานกับ
ชาวต่างชาติ การกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินผูกพัน ลดปัญหาการทางานต่างถิ่น ปัญหาอย่าร้าง
ปัญหาความยากจน จะช่วยลดปัญหาการออกโรงเรียนกลางคันของเด็กนักเรียน ส่งผลกระทบต่อการจัดทา
แผนการบริหารจัดการ ปัญหารถรับส่งนักเรียนไม่คลอบคลุมพื้นที่การบริการ จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและ
เอกชน
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๖
เอกสารอ้างอิง
สานักทดสอบทางการศึกษา. “แนวทางการรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปีของสถานศึกษา โครงการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ลาดับที่ ๖” การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ ๓.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๕.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการเขียนรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประจาปีของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: ชุมนุมเกษตรสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด,
๒๕๔๙.
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๗
ภาคผนวก
 ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา/กาหนดค่าเป้าหมาย/อัตลักษณ์/เอกลักษณ์
 คาสั่งแต่งตั้งคณะทางาน/คณะติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา/คณะ
ตรวจสอบคุณภาพการเขียนรายงานประจาปีของสถานศึกษา/ผู้ทรงคุณวุฒิ
 รายชื่อของคณะกรรมการสถานศึกษา
 สาเนาภาพโล่ เกียรติบัตรดีเด่นของนักเรียน สถานศึกษา ครู และผู้บริหาร (ปีการศึกษา 2555)
 ภาพประกอบการประเมินระดับสถานศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด (โดยเขตพื้นที่)
 สรุปผลการตรวจสอบรายงาน SAR
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๘
งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๙

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้sitharukkhiansiri
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียนsitharukkhiansiri
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2Yodhathai Reesrikom
 

Was ist angesagt? (20)

๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
๔.๓ การวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Bp
BpBp
Bp
 
ชุดที่16
ชุดที่16ชุดที่16
ชุดที่16
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Devalue
DevalueDevalue
Devalue
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 2
 
Scbf
ScbfScbf
Scbf
 

Andere mochten auch

Trenton roofing 888 778 0212
Trenton roofing 888 778 0212Trenton roofing 888 778 0212
Trenton roofing 888 778 0212hansons0588
 
#1NWebinar - Transparency in SEO: A Look Inside the Black Box
#1NWebinar - Transparency in SEO: A Look Inside the Black Box#1NWebinar - Transparency in SEO: A Look Inside the Black Box
#1NWebinar - Transparency in SEO: A Look Inside the Black BoxOne North
 
The Emerging Role of the Content Strategist
The Emerging Role of the Content StrategistThe Emerging Role of the Content Strategist
The Emerging Role of the Content StrategistTomorrow People
 
Are Americans worried about the NSA?
Are Americans worried about the NSA? Are Americans worried about the NSA?
Are Americans worried about the NSA? AEI
 
Xenia roofing 888 778 0212
Xenia roofing 888 778 0212Xenia roofing 888 778 0212
Xenia roofing 888 778 0212hansons0588
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓Wijitta DevilTeacher
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 

Andere mochten auch (13)

Trenton roofing 888 778 0212
Trenton roofing 888 778 0212Trenton roofing 888 778 0212
Trenton roofing 888 778 0212
 
#1NWebinar - Transparency in SEO: A Look Inside the Black Box
#1NWebinar - Transparency in SEO: A Look Inside the Black Box#1NWebinar - Transparency in SEO: A Look Inside the Black Box
#1NWebinar - Transparency in SEO: A Look Inside the Black Box
 
The Emerging Role of the Content Strategist
The Emerging Role of the Content StrategistThe Emerging Role of the Content Strategist
The Emerging Role of the Content Strategist
 
Are Americans worried about the NSA?
Are Americans worried about the NSA? Are Americans worried about the NSA?
Are Americans worried about the NSA?
 
Xenia roofing 888 778 0212
Xenia roofing 888 778 0212Xenia roofing 888 778 0212
Xenia roofing 888 778 0212
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 

Ähnlich wie 4 ตอน4 sar55

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานAon Narinchoti
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8Suwakhon Phus
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 

Ähnlich wie 4 ตอน4 sar55 (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
C
CC
C
 
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
World class
World classWorld class
World class
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
Develop school
Develop schoolDevelop school
Develop school
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

Mehr von Miss.Yupawan Triratwitcha (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
Book pp56legal
 
Teacher
TeacherTeacher
Teacher
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyu
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
Test phy2
Test phy2Test phy2
Test phy2
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 

4 ตอน4 sar55

  • 1. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๑ ตอนที่ ๔ สรุปผลการพัฒนาและการนาผลการประเมินไปใช้ ๑. สรุปผลการดาเนินงานในภาพรวม ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ของสถานศึกษาโดยรวม พบว่า มีโครงการที่ประสบความสาเร็จ จานวน 14 โครงการ ไม่ประสบความสาเร็จ จานวน 1 โครงการ ดังนี้ ๑.๑ โครงการ/กิจกรรมที่ประสบผลสาเร็จ ชื่อโครงการ/กิจกรรม ปัจจัยสนับสนุน 1.โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1.ผู้บริหารสร้างความตระหนักและให้การสนับสนุนงบประมาณในการ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 2.ครูทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA) 3.ครูมีความตระหนักทุ่มเทการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 4.ใช้กิจกรรมที่หลากหลายในการจัดการเรียนการสอน ๒.โครงการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 1.ผู้บริหารสร้างความตระหนัก 2.ทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA) 3.ครูมีความตระหนักทุ่มเทการทางานเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนให้แก่นักเรียน 4.ใช้กิจกรรมแบบบูรณาการในการเรียนการสอนเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ให้แก่นักเรียน 3.โครงการพัฒนางานเอดส์และเพศศึกษา 1.ผู้บริหารสร้างความตระหนักและให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมทั้ง ในและนอกสถานศึกษา 2.มีการทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA) 3.เผยแพร่ความรู้แก่โรงเรียนใกล้เคียงและหน่วยงานอื่น 4.โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุนทรียภาพทางดนตรี 1.ผู้บริหารให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสุนทรียภาพทางดนตรี ทั้งในและนอกสถานศึกษา 2.มีกระบวนการการทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA) 3.มีห้องปฏิบัติการ อาคาร สถานที่ ที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสุนทรียภาพทางดนตรีของนักเรียน 5.โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน 1.ผู้บริหารสร้างความตระหนักในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน 2.ทางานอย่างเป็นระบบ (PDCA) 3.ครูมีการวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล ออกเยี่ยมบ้าน ประชุม วาง วางแผนการแก้ปัญหานักเรียนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับผู้บริหาร ผู้ปกครอง และนักเรียน 6.โครงการประกันคุณภาพการศึกษา 1.ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เข้าใจระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 2.ครูมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษา มีส่วนร่วมในการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการทาโครงการ การทา ID Plan การสรุปโครงการ สรุปผลการปฏิบัติงานประจาปี นาไปปรับปรุง พัฒนาในปีการศึกษาต่อไป 3.มีโครงสร้างการบริหารงาน การมอบหมายภาระหน้าที่ตาม โครงสร้างการบริหารอย่างชัดเจน
  • 2. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๒ ชื่อโครงการ/กิจกรรม ปัจจัยสนับสนุน 7.โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาสู่ มาตรฐานการศึกษา 1.ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ จัดการศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษา 2.ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรม มีความตระหนัก ทุ่มเทการทางาน 3.มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบได้ตรงกับความสามารถและความถนัด 4.ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการนิเทศโครงการ/กิจกรรม 8.โครงการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร 1.ผู้บริหารใช้กระบวนการทางานที่เป็นระบบ 2.ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรมที่หลากหลายและ บูรณาการมุ่งสู่เป้าหมาย 3.มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบได้ตรงกับความสามารถและความถนัด 4.ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการนิเทศโครงการ/กิจกรรม 9.โครงการพัฒนางานประชาสัมพันธ์และ การสื่อสาร 1.ผู้บริหารใช้กระบวนการทางานที่เป็นระบบ 2.ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรม 3.มีระบบเครือข่ายแบบไร้สาย ให้บริการในโรงเรียน 4. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียน 10.โครงการส่งเสริมรักการอ่าน 1.ผู้บริหารมีจุดเด่นด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ การมีวิสัยทัศน์ การสื่อสาร และจูงใจใช้กระบวนการทางานที่เป็นระบบ 2.ครูมีส่วนร่วมในส่งเสริมรักการอ่านในกระบวนการจัดการเรียนการ สอนในชั้นเรียน 3.มีงบประมาณในการจัดซื้อหนังสืออ่านนอกเวลา 12.โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง 1.ผู้บริหารมีจุดเด่นด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ การมีวิสัยทัศน์ การสื่อสาร และจูงใจประสานความร่วมมือ ในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ 2.ผู้บริหารสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินโครงการ 3.นักเรียนส่วนใหญ่มีผู้ปกครองที่มีอาชีพเกษตรกรรมทาให้มี ความคุ้นเคยกับงานเกษตร 4.ทางานอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการ PDCA 5.มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อที่เหมาะสม 13.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 1.ผู้บริหารสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินโครงการ 2.ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรมและบูรณาการ กิจกรรมมุ่งสู่เป้าหมาย 3.มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบได้ตรงกับความสามารถและความถนัด 14.โครงการสานสัมพันธ์ชุมชน 1.ผู้บริหารมีจุดเด่นด้านการสานสัมพันธ์กับชุมชน มีวิสัยทัศน์ การ สื่อสารและจูงใจให้ชุมชนเข้าร่วมจัดการศึกษา 2.ครูมีการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกคน 3.บุคลากร ครู นักเรียนให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมต่างๆใน ชุมชน เช่น วันออกพรรษา วันพ่อแห่งชาติ วันแม่แห่งชาติ 15.โครงการพัฒนาอาคารสถานที่และ สิ่งแวดล้อม 1.ผู้บริหารสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินโครงการ 2.โรงเรียนมีต้นไม้มาก ร่มรื่น ทาให้มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม น่าอยู่ 3.ทางานอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการ PDCA 4.ช่างครุภัณฑ์มีความชานาญในการซ่อม บารุง รักษา สิ่งก่อสร้าง
  • 3. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๓ ๑.๒ โครงการ/กิจกรรมที่ไม่ประสบผลสาเร็จ ชื่อโครงการ/กิจกรรม สาเหตุ 11.โครงการสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียน 1.เป็นโครงการใหม่ 2.ครูได้รับการอบรม สร้างความรู้เกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์ใน โรงเรียนเพียงบางส่วน ยังไม่ครบทุกคน 3.ยังไม่มีการบูรณาการให้เข้ากับกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละ รายวิชา 2. จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา 1. ด้านคุณภาพผู้เรียน จุดเด่น ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีสุขนิสัยสุขภาพกายและ สุขภาพจิตที่ดี มีสุนทรียภาพและมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผล และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีผลงานทั้งในระดับ นานาชาติ ระดับประเทศ ระดับภาค ระดับเขตพื้นที่ และระดับจังหวัด เช่น รางวัลถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพพระ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการประกวดนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีระดับประเทศ ครั้งที่ 4 หัวข้อ นวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีกับการประยุกต์ใช้วัสดุนาโน รางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์ ระดับมัธยมศึกษา เรื่อง การกาจัดเชื้อราในบ่อเลี้ยงจิ้งหรีดด้วยอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ ได้รับคัดเลือกให้เข้า ร่วมโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ของสานักกองทุนวิจัยแห่งชาติ ร่วมกับธนาคารกสิกรไทย โครงการยุวชนไทย ร่วมใจรักษ์น้า ในการสนับสนุนงบประมาณในการทางานวิจัยเกี่ยวกับ นวัตกรรมการอนุรักษ์น้าเพื่อชุมชน จุดที่ควรพัฒนา ควรพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 2. ด้านการจัดการศึกษา จุดเด่น ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา มีภาวะความเป็นผู้นาและมี ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษามีความร่วมมือระหว่างบ้าน โรงเรียน วัด สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างโรงเรียนและชุมชน มีการจัดตั้งองค์กรโครงสร้างการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบวงจรให้บรรลุ เป้าหมายการศึกษา มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ส่งเสริมความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับชุมชน ในการพัฒนาการศึกษา ครูมีคุณวุฒิและความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ และมีครูอย่างเพียงพอ ส่งผลให้โรงเรียนผ่านการประเมินรับรองให้เป็น ต้นแบบโรงเรียนในฝันรุ่นที่ 3 “โรงเรียนดี ประจาอาเภอ” จัด การศึกษาให้กับเด็กทุกคนให้ได้รับโอกาสทางการศึกษา ส่งผลให้เด็กชายอุ้มบุญ หมายเขา ได้รับการส่งเสริม และพัฒนาให้ได้รับรางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ อันดับที่ 1 ระดับประเทศ กิจกรรมการประกวดเล่านิทาน ประเภท บกพร่องทางร่างกายฯ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จุดที่ควรพัฒนา การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนในการบริหารจัดการศึกษา การปรับปรุง หลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน เพื่อให้มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่นของตนเอง ครู ควรมีสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย และนาเทคโนโลยีมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 4. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๔ 3. ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ จุดเด่น สถานศึกษาสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอก โรงเรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ระดมทรัพยากรในท้องถิ่น สื่อภูมิปัญญา ชาวบ้านจัดรวบรวมอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าของผู้เรียนและชุมชน จุดที่ควรพัฒนา ควรรวบรวมสื่อ อุปกรณ์ ภูมิปัญญาชาวบ้าน ศูนย์การเรียนรู้อย่างเป็น ระบบโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทาเพื่อสะดวกในการศึกษาค้นคว้า 4. ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา จุดเด่น สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม โครงการ สอคล้องกับนโยบายกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงาน แผนงานงบประมาณ ในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ปลูกฝังค่านิยมให้ผู้เรียนมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมตามสภาพบริบทของโรงเรียนและชุมชน นาหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนการ สอน การปฏิบัติงาน หน้าที่ของบุคลากร ส่งผลให้โรงเรียนผ่านการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง ประเภท ค ซึ่งรับการประเมินเป็นสถานศึกษาประเภท ข ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2556 ที่ผ่านมา จุดที่ควรพัฒนา วิเคราะห์สภาพปัญหาและการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประจาถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้เทคโนโลยี ในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 5.ด้านมาตรการส่งเสริม จุดเด่น สถานศึกษามีนโยบายแผนปฏิบัติงาน กลยุทธ์ โครงการหรือกิจกรรมของแต่ละฝ่าย อย่างชัดเจน มีโครงสร้างการบริการงานในการร่วมมือ การสร้างช่องทางการช่วยเหลือที่หลากหลายกาหนด เป้าหมายสร้างสังคม สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนรู้พร้อมปฏิบัติให้เกิดการบูรณาการ ที่เหมาะสม ระดมทรัพยากรจัดหาสื่อเทคโนโลยี สร้างศูนย์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ตอบสนองนโยบาย จุดเน้นของเขตพื้นที่ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ส่งผลให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 มีผลการประเมินระดับชาติ (O-Net) ที่สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา 2554 มีคะแนนสรุปผลรวมตัวบ่งชี้ที่ 5 คะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้ 8.4 คะแนน คุณภาพ ระดับ พอใช้ (ผ่านการรับรองประเมินคุณภายนอกรอบสาม จาก สมศ.) จุดที่ควรพัฒนา การจัดทาแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงาน นโยบายไม่สอดคล้องกับโครงการ หรือกิจกรรมที่จาเป็นต้องดาเนินการเร่งด่วน ทาให้โครงการหรือกิจกรรมบางอย่างเกิดขึ้นกับผู้เรียนไม่มี ประสิทธิภาพและไม่บรรลุวัตถุประสงค์ 3.แนวทางการพัฒนาในอนาคต สถานศึกษาจะส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลายโดยผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการจัดกิจกรรมการสอนแบบโครงงานในทุกกลุ่ม สาระและพัฒนาผู้เรียนให้มีส่วนร่วมสารวจความคิดเห็นในการจัดรูปแบบการเรียนการสอน โดยเน้น กระบวนการกลุ่มเพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกล้าคิด กล้าทา เน้น การส่งเสริมความสามัคคีในหมู่เหล่า พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการผลิตสื่อ อุปกรณ์ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบปฏิสัมพันธ์ Tablet พัฒนาปรับปรุง ห้องเรียนห้องพิเศษต่าง ๆ ให้มีอุปกรณ์ สื่อประกอบการเรียนการสอนที่เหมาะสม เพียงพอ เอื้อต่อการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน จัดกิจกรรมที่เหมาะสมน่าสนใจและมีการใช้สอยอย่างคุ้มค่า จัดทาแผนปฏิบัติการ
  • 5. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๕ แผนงานงบประมาณ สอดคล้องกับมาตรฐาน เป้าหมายการจัดการศึกษาสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน จัดให้ มีกล่องแสดงความคิดเห็นของผู้เรียน ผู้ปกครองในสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อ ควบคุมดูแลการบริหารจัดการในสถานศึกษา 4. ความต้องการและความช่วยเหลือ - การจัดสรรอัตรากาลัง ได้แก่ ครูผู้สอนและสายสนับสนุนเพื่อให้เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน ของสถานศึกษา - การสนับสนุนด้านงบประมาณในด้านต่างๆ อย่างเร่งด่วน ได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์ทางการเรียน คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ อุปกรณ์กีฬา เพื่อใช้ในการประกอบการเรียนการสอน - ความจาเป็นพื้นฐานในการดาเนินชีวิต ซึ่งบริบทของชุมชนยังมีค่านิยมเรื่องการแต่งงานกับ ชาวต่างชาติ การกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินผูกพัน ลดปัญหาการทางานต่างถิ่น ปัญหาอย่าร้าง ปัญหาความยากจน จะช่วยลดปัญหาการออกโรงเรียนกลางคันของเด็กนักเรียน ส่งผลกระทบต่อการจัดทา แผนการบริหารจัดการ ปัญหารถรับส่งนักเรียนไม่คลอบคลุมพื้นที่การบริการ จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชน
  • 6. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๖ เอกสารอ้างอิง สานักทดสอบทางการศึกษา. “แนวทางการรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปีของสถานศึกษา โครงการ ประกันคุณภาพการศึกษา ลาดับที่ ๖” การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ ๓.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวทางการเขียนรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจาปีของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: ชุมนุมเกษตรสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, ๒๕๔๙.
  • 7. งานประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนกระแชงวิทยา : SAR ปีการศึกษา ๒๕๕๕ หน้า ๑๑๗ ภาคผนวก  ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา/กาหนดค่าเป้าหมาย/อัตลักษณ์/เอกลักษณ์  คาสั่งแต่งตั้งคณะทางาน/คณะติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา/คณะ ตรวจสอบคุณภาพการเขียนรายงานประจาปีของสถานศึกษา/ผู้ทรงคุณวุฒิ  รายชื่อของคณะกรรมการสถานศึกษา  สาเนาภาพโล่ เกียรติบัตรดีเด่นของนักเรียน สถานศึกษา ครู และผู้บริหาร (ปีการศึกษา 2555)  ภาพประกอบการประเมินระดับสถานศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัด (โดยเขตพื้นที่)  สรุปผลการตรวจสอบรายงาน SAR