SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 40
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1


                              เลาขานเรื่องบานคําชะอี
                                                                                โดยณรงค อุปญญ


                                        กอนเขามาอยู
         ตรงที่เปนหมูบานคําชะอี กอนหนาที่จะกําเนิดเกิดเปนหมูบานนัน ไดเปนสวนหนึ่งของ
                                                                        ้
บริเวณดงหนาปาทึบอันกวางใหญ ซึ่งเปนดงที่อดมสมบูรณมากและมีเนินเขาหลายลูกที่เปนตน
                                                ุ
กําเนิดของลําหวยหลายสายกระจัดกระจายอยู มีลําหวยทีใหญและยาวสุดที่สดในบริเวณนี้ ตนของ
                                                           ่                  ุ
ลําหวยสายนี้อยูที่ภูสีฐานอําเภอคําชะอี ไหลผานอําเภอหนองสูง อําเภอนิคมคําสรอย มีลําหวยหลาย
สายที่เกิดจากเนินเขาหลายลูกทีกลาวแลวไหลมาสมทบทําใหเปนลําหวยสายใหญ แลวไปตกแมน้ํา
                                 ่
โขงทีอําเภอดอนตาล ลําหวยสายใหญสายนี้เรียกวา "หวยบังอี่" ดงหนาปาทึบทังสองฟากฝงลํา
     ่                                                                            ้
หวยบังอี่นี้จึงเรียกวา "ดงบังอี" เปนดงทีกวางใหญกินเนือที่อําเภอคําชะอี อําเภอหนองสูง อําเภอ
                                 ่         ่              ้
นิคมคําสรอยและอําเภอดอนตาล ทังหมดนี้อยูในเขตจังหวัดมุกดาหาร
                                      ้


                                            บรรพบุรุษเดิม
           ผูไทยเราเคยมีประวัติเลาขานถึงความยิงใหญตงแตสมัย “อาณาจักรนานเจา” เรื่อยลง
                                                        ่            ั้
มาถึง “สิบสองเจาไทย” หรือ “สิบสองจุไทย” ที่จะกลาวตอไปนี้จะกลาวเฉพาะเกี่ยวกับบรรพบุรุษ
ของผูไทยชาวบานคําชะอีพอสังเขปเทานัน           ้
          บรรพบุรุษของชาวบานคําชะอี ตําบลคําชะอี อําเภอคําชะอี จังหวัดมุกดาหาร เปนชนเผา
ผูไทยดํา เทาที่ผูรูคนพบไดบันทึกไววาเดิมผูไทยเผานี้มนิวาสถานอยูที่ เมืองแถน หรือ เมืองแถง
                                                                 ี
(หรือ เมืองนานอยออยหนู หรือ เมืองน้ํานอยออยหนู) เมืองนี้ในปจจุบันคือ เมืองเดียนเบียนฟู ใน
ประเทศเวียดนาม
          ที่เรียกวา ผูไทยดํา นั้น ไมใชวาผูไทยเผานี้มผิวสีดํา เพราะผิวผูไทยนันออกจะดําแดง ถึง
                                                               ี                     ้
ขาวแดง แตเรียกตามสีของเสื้อผาเครื่องแตงกายที่ผไทยเผานี้ชอบใชสดํา เพราะในสมัยนันชนเผานี้
                                                            ู               ี                ้
ไดรูจักกรรมวิธีสกัดสีจากพืชชนิดหนึ่ง เมือสกัดออกมาแลวจะไดสีเปนสีคราม ตอมาพืชชนิดนี้จึง
                                                   ่
เรียกวา "ตนคราม" กรรมวิธีที่สกัดเอาสีจากตนครามนี้มขบวนการที่ซับซอนพอสมควร ซึ่ง
                                                                        ี
นับเปนภูมปญญาอันสูงสงของบรรพบุรษสมัยนัน ที่ยงไมรูจักคําวา "เทคโนโลจี" เลย เมื่อนําผา
              ิ                                ุ          ้ ั
(ที่ผลิตดวยมือและมีขบวนการที่ซับซอนเชนกัน) มายอมกับสีที่สกัดไดนเี้ สร็จแลวจะไดผาสีดํา
คราม ซึ่งในความรูสึกของผูไทยเผานี้วาเปนสีที่สวยงามมาก จึงนิยมนําผาสีดําครามนี้มาตัดเย็บ
(ดวยมือ) เปนเสื้อ กางเกง ผาถุง หรือแมกระทั่งเครื่องนุงหมอื่นๆ เสื้อผาสีดําครามนี้จะเปนทีนิยม
                                                                                                ่
ใสเปนประจําไมวาจะไปทํางาน (ทํานา ทําไร ทําสวน) หรือไปงานบุญประเพณี หรืองานพิธีตางๆ
2

การแตงกายดวยเสือผาสีดํานี้จึงเปนเอกลักษณอยางหนึ่งของผูไทยเผานี้ จึงไดรับขนานนามวา "ผู
                    ้                                            
ไทยดํา"
         สวนผูไทยอีกเผาหนึงอยูที่ "เมืองไล" ซึ่งเปนเมืองคูแฝดกับเมืองแถน เมืองนี้อยูตอน
                               ่ 
เหนือของเมืองแถนขึนไปใกลกับดินแดนจีน คงจะยอมผาสีครามไดเชนเดียวกัน แตเนืองจากอยู
                       ้                                                              ่
ใกลจีน จึงมีรสนิยมไปทางจีน ซึ่งจีนนั้นชอบนุงขาวหมขาว ผูไทยเมืองไลนี้จึงนุงชอบขาวหมขาว
เหมือนชาวจีน เลยไดขนานนามวา "ผูไทยขาว"
         อยูมาเมืองแถนเกิดทุพภิกขภัย คือภัยจากธรรมชาติ ฟาฝนไมตกตองตามฤดูกาล ขาวยาก
หมากแพง เจาเมืองไมสามารถแกปญหาได หนําซ้ําเจาเมืองอาจไปขมเหงรังแกชาวเมืองก็เปนได
                                      
ชาวเมืองแถนกลุมใหญกลุมหนึงจึงอพยพหนีลงมาอาศัยอยูกับเจาอนุรุธราชเจาเมืองเวียงจันทน
                                 ่
         เจาเมืองเวียงจันทจึงใหผไทยกลุมนีไปอยูที่ "เมืองวัง" และตอมาไดขยับขยายไปเปนอีก
                                   ู        ้
หลายเมือง เชน เมืองบก เมืองผาบัง เมืองอางคํา เมืองพิน เมืองนอง เมืองเซโปน เมืองคําออ
เมืองเซียงฮม เมืองพาน เปนตน (เมืองเหลานี้อยูในแขวงสะหวันนะเขด ประเทศลาว)
                                                
         บรรพบุรุษของชาวบานคําชะอีเปนชาวเมืองวัง


                                           ถูกกวาดตอน
        ประเทศลาวไดตกเปนเมืองขึ้นของสยามใยสมัยกรุงธนบุรี
         พ.ศ. 2369 เจาอนุวงษเวียงจันทนเปนกบฏตอกรุงเทพ รัชกาลที่ 3 จึงโปรดฯ ใหกองทัพ
สยามขึ้นไปปราบไดสําเร็จและไดกวาดตอนผูคน รวมทังผูไทยเมืองตางๆ เขามาอยูทางฝงขวาของ
                                                           ้                          
แมน้ําโขงดวย ผูไทยทีถูกกวาดตอนมานี้บางกลุมขออาศัยอยูใกลแมม้ําโขงเพราะใกลกับบานเกา
                           ่
เมืองเกาทีเ่ คยอยูเดิม เชน ที่จังหวัดกาฬสินธุ จังหวัดสกลนคร จังหวัดนครพนม จังหวัด
มุกดาหาร เปนตน บางกลุมก็ใหไปอยูใกลๆ กับกรุงเทพฯ เชนที่อําเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ฯลฯ
         ยังมีชาวผูไทยอีกเปนจํานวนมากที่ทิ้งบานทิงเมืองหลบหนีภัยสงครามเขาไปอยูปา ซึ่ง
                                                        ้                           
กองทัพสยามไมสามารถกวาดตอนลงมาได ครั้นบานเมืองสงบจึงกลับออกมาตังบานตั้งเมืองอีก
                                                                             ้
ในปจจุบน ชาวผูไทยทีอยูทางฝงลาวจึงมีอยูมากมายหลายเมือง
         ั                   ่      
         ผูไทยเมืองวังและเมืองคําออกลุมหนึงทีถูกกวาดตอนมา จํานวน 1,658 คน มี "ทาวสิงห"
                                                  ่ ่
เจาเมืองคําออเปนผูนําไดขอเขาไปอยูกับ พระจันทรสุริยวงค (พรหม) เจาเมืองมุกดาหารคนที่ 3
                                          
(พ.ศ. 2384 – 2405) สันนิษฐานวา เจาเมืองมุกดาหารใหผูไทยกลุมนี้ไปอยูที่เมืองใหม ปจจุบันคือ
บริเวณตั้งแตสแยกไฟแดงขึ้นไปจนถึงสถานีขนสง พรอมทั้งที่ริมถนนพิทักษพนมเขตดานทิศ
                   ี่
เหนือตั้งแตสแยกไฟแดงจนเกือบถึงทางโคงเมืองใหม คือตรงขามกับโรงแรมมุกธาราขึ้นไปทาง
                ี่
เหนือเกือบถึงชุมสายโทรศัพท ตอนนั้นเปน “ปาไมกุง ไมจิก ไมฮัง” ไดสัมภาษณ นาย
3

ประดิษฐ สลางสิงห อายุ 63 ป เมือวันที่ 5 ต.ค. 2552 ไดยืนยันวา มีพนองชาวบานคําบกรุนปู
                                  ่                                   ี่
(ซึ่งเปนผูไทยเชื้อสายเดียวกับบานคําชะอี) กลุมหนึ่ง ไดยอนกลับขึ้นไปอยูบริเวณดังกลาวนี้เมื่อ
                                                         
100 ปกวามานี้ เพราะคงจะเห็นวาเปนทีบรรพบุรุษเคยอยู และขณะนั้นกลายเปนที่รกรางวางเปลา
                                        ่
ไมมีเจาของ เมือขึ้นไปอยูแลวก็แผวถางเปนทีทํามาหากินและจับจองเปนของตน จนไดเปน
                    ่                         ่
เจาของที่ดนบริเวณนีอยางกวางขวาง อยูมาความเจริญเขามาถึงก็ไดแบงขายใหนักธุรกิจไปเสียเปน
                ิ     ้
สวนมาก โดยเฉพาะที่ตดกับถนนใหญ ในปจจุบันนี้ พี่นองของนายประดิษฐรนลูกรุนหลานก็
                        ิ                                                         ุ   
ยังอยูที่นี่ และไปมาหาสูกนเปนระจํา และมีนามสกุล “สลางสิงห” ยกเวนผูหญิงทีแตงงานไปแลว
                           ั                                                    ่
สวนภาษาพูดนันเปนลาวไปแลว เพราะถูกลาวกลืน .
                  ้


                                             หาที่อยูใหม
            อยูกบเจาเมืองมุกดาหารชั่วระยะหนึ่งก็ขออนุญาตจากเจาเมืองมุกดาหารออกสํารวจหา
                  ั
ทําเลที่จะตั้งหลักแหลงแหงใหม เมื่อไดรบอนุญาตแลวจึงใหคณะออกสํารวจเรื่อยมาทางทิศ
                                          ั
ตะวันตกของเมืองมุกดาหาร โดยใหทาวสิงหเจาเมืองคําออเปนผูนํา (เมื่อรัชกาลที่ 3 โปรดเกลาใหตั้ง
หนองสูงเปน "เมืองหนองสูง" ทาวสิงหเจาเมืองคําออผูนก็ไดรับโปรดเกลาใหเปน "พระไกรสร
                                                            ี้
ราช" เจาเมืองหนองสูงคนแรก) ตอนแรกไดมาพักอยูทแหงหนึ่ง (อยูระหวางบานตากแดดและบาน
                                                       ี่
หนองเอียนทุง) แตเห็นวาบริเวณดังกลาว "เปนโคก เปนแหล เปนแฮ เปนทราย เอ็ดโสนมิพอได
         ่ 
เอ็ดไฮมิพอกิน" (เปนโคก เปนแหล เปนแห(ลูกรัง) เปนทราย ทําสวนไมพอได ทําไรไมพอกิน) ผู
                ๋
ไทยไมชอบอยู บริเวณทีผูไทยชอบอยูคือใกลภูเขา (มองเห็นภูเขาแลวรูสึกสบายใจ) ใกลสายน้ํา ลํา
                            ่
หวย “ขึ้นบนภูใหไดกินกระรอก กระแต ลงในน้ําใหไดกนปลากังปูหน” จึงไดสํารวจตอเรื่อยลงมา
                                                          ิ    ้ ิ
ทางทิศใตเขาสูดงบังอี่ซึ่งเปนดงหนาปาทึบ จนมาเห็นบริเวณแหงหนึงมีสายน้ําเล็กๆ และบริเวณ
                                                                   ่
รอบๆ ก็อดมสมบูรณชุมชื้นเหมาะแกการเพาะปลูก ชาวเมืองวังจึงตัดสินใจที่จะพักอยูที่นเี่ พื่อ
          ุ
สํารวจที่ทางตอไป สวนชาวเมืองคําออนันไดเดินสํารวจตอลงไปทางทิศใตจนไดที่เหมาะสมแหง
                                            ้
หนึ่งซึ่งหางจากลงไปประมาณ 6 กิโลเมตร จึงพักและจับจองไวเพื่อที่จะตั้งเปนหลักแหลง ซึ่งใน
ปจจุบันนี้คอ บานหนองสูง
             ื


                                        ที่มาของชื่อหมูบาน
                                                       
          สาเหตุที่ตงชื่อของหมูบานวา "คําชะอี" นั้นไดมีผเู ลาใหฟง ซึ่งมีหลายความเห็น
                    ั้                                                 
ดังตอไปนี้
          1. สายน้ําตรงที่ชาวเมืองวังพักอยูตอนแรกนีเ้ ปนสายน้ําซับ ซึ่งผูไทยเรียกวา "น้ําคํา" มี
                                                                                
น้ําใสเย็นไหลตลอดป ในปาบริเวณรอบๆ มีจกจั่นชนิดหนึงจํานวนเรือนหมื่นอาศัยอยู เสียงมันรอง
                                              ั             ่
4

ที่หูผูไทยไดยนเปนเสียง "อี ๆ ๆ ๆ..." ลากเสียงยาวตอกัน ผูไทยจึงเรียกวา "จักจั่นแมงอี" ตามเสียง
                   ิ
รองของมัน ตอนกลางวันมันจะพากันบินลงกินน้ําที่สายน้าคํานี้ทุกวันจนสิ้นอายุขัยของมัน จึง
                                                                   ํ
เรียกสายน้ําแหงนี้วา "สายคําแมงอี" อยูมาก็เพี้ยนเปน "คําสระอี" แลวก็เพียนอีกเปน "คําชะอี"
                                                                               ้
ชื่อของหมูบานจึงเปน "บานคําแมงอี" แลวเปลี่ยนเปน "บานคําสระอี" สุดทายกลายมาเปน "บาน
              
คําชะอี" จนถึงปจจุบน     ั
            2. "คําชะอี" เปนชื่อของตนไมชนิดหนึงที่มีอยูทั่วไปในดงนี้ ดอกสีเหลือง มีกลินหอม
                                                       ่                                     ่
เปลือกและแกนลําตนก็หอมเหมือนดอก ชาวบานมักนิยมนํามาอบเสื้อผาทําใหเสือผามีกลิ่นหอม
                                                                                   ้
ดวย จึงไดเอานามของตนไมนี้มาเปนชื่อของหมูบาน ตนไมชนิดนีไดสญพันธไปนานแลว
                                                                        ้ ู
            3. ตอนผูเ ขียนเปนเด็ก คุณแมเคยเลาใหฟง และเมือโตขึนมาก็มีคุณลุงฮัน (นายโจม คน
                                                                     ่ ้
ซื่อ คุณพอของนายสันดร คนซื่อ) ไดเลาใหฟงอีกมีเนือความตองกันวา ตอนแรกนั้นหมูบานนี้มี
                                                           ้                               
ชื่อวา "บานดงหมากบา ปาเครือเขือง" เพราะรอบๆหมูบานนั้นเปนปารกมีเครือเถาสะบา และเครือ
                                                             
เถาเขืองมากมาย วันหนึงผูชายชื่อวา "ตาคํา" ไดสะพายของเดินเขาปา อาจจะหาของปาอยางใด
                               ่
อยางหนึ่ง เถาสะบาก็เกาะเกียวเอาของที่สะพายนั้น แกตองหยุดปลดออก อีกไมนานก็ไปติดเถา
                                   ่
เขือง ตองหยุดปลดอีก ทําใหการเดินปาเปนไปอยางลําบากทุลักทุเลเพราะเถาสะบาและเถาเขือง
เหตุการณทถูกเถาสะบาและเถาเขืองมาเกี่ยวติดของบอยเขาๆ แกก็โมโหจนเหลืออด ก็เลย "ปอย"
                ี่
(สาป) ใหเสือมาคาบเอาของไปกิน อยูมาตาคําไดวางของไว ตัวเองไปธุระ (คิดวาอาจจะไปถาย
ทุกข) จึงไดวางของไว พอกลับมาหาของปรากฏวาของไดหายไปแลว เห็นแตรอยเทาเสือตรงที่วาง
ของไวนั้น ก็เลยแปลกใจวาทําไมเพียงแคคําปอยนีเ้ สือก็คาบเอาไปจริงๆ แกก็เลยครวญกับตัวเอง
ดวยความแปลกใจวา "อี๋ เนาะ เพิ้งเดเนาะ อี๋ อี๋ ๆ ๆ ๆ ๆ" (เอ เปนจริงแทนะ เอ เอ ๆ ๆ ๆ) อยูมาคน
ก็เรียกดงนั้นวา "ดงตาคําอี" จึงไดเอาชื่อดงนี้มาเปนชื่อหมูบาน "คําชะอี" สามความเห็นนี้ขอ
ฝากทานผูอานพิจารณา
            นอกจากนี้ยงมีผูเชือวา ชือบานคําชะอี เอามาจากชือ บานคําสะอี ที่เมืองพินประเทศลาว
                        ั        ่    ่                          ่
และเชื่อวาผูไทยบานคําชะอีเคยอยูทนั่น เมือถูกกวาดตอนอพยพมาจึงเอานามบานเดิมมาตังชื่อบาน
                                        ี่    ่                                                ้
ใหมแหงนี้ เรืองนี้ ผูเขียนไดไปถึงบานคําสะอี ครั้งแรกเมือวันที่ 23 กุมภาพันธ 2551 ได
                     ่                                         ่
สัมภาษณผูเฒาสามคน คือลุงเซียงสา อินทิลาด (สะกดตามภาษาลาว) อายุ 70 ป ลุงสะหวาง ไซ
ยะจัก อายุ 73 ป และปามอน ไซยะจัก เมียลุงสะหวาง อายุ 72 ป ไดความวา บรรพบุรุษมาจาก
บานหวยสาน บานเฟอง เมืองเซโปน อพยพมาอยูกับชาวบานนาแซง (ซึ่งติดกับบานคําสะอี) และ
                                                         
ไดมาตังบานคําสะอีขนเมือ ป ค.ศ. 1933 (ตรงกับ พ.ศ. 2476) อายุบาน 76 ป แตบานคําชะอีเรา
          ้                 ึ้ ่
อายุ ประมาณ 160 กวาป เปนอันเชื่อไดวา ชื่อ “บานคําชะอี” ไมไดเอาชือมาจาก “บานคําสะอี”
                                                                           ่
เมืองพิน ประเทศลาวแนนอน และภาษาพูดของชาวบานคําสะอีเปนภาษาผูไทยอยู แตสําเนียงไม
5

เหมือนผูไทยบานคําชะอี ขณะที่สัมภาษณ ผูเ ฒาทั้งสามยังไดทกผูเ ขียนวา “ฟงเสงเจาแลว คือเสง
                                                             ั
ไทเมิงวัง” (ฟงเสียงสําเนียงพูดเจาแลว เหมือนเสียงชาวเมืองวัง)


                                        ที่พักตอนแรก
         บริเวณที่พักตอนแรกนั้นคือ “ดานตึง” อยูที่ริมสายน้ําคําดานตะวันออกนั้น (ตั้งแตหนา
เมรุออกมาจนถึงถนนใหญและขามฟากไปทางทิศตะวันออก) เปนลานหินเรียบสลับกับที่โลง เมือ              ่
เดินย่ําลงไปที่ลานหินจะมีเสียงดัง "ตึง ๆ" ทุกครั้งที่เทาย่ําลง เปนทีนาอัศจรรย บรรพบุรษเชือวามี
                                                                      ่                  ุ ่
โพลงหรือถ้ําอยูใตลานหิน เมือย่ําเทาลงหรือมีวัตถุตกกระทบจึงมีเสียงกองดังตึงๆ ดังกลาวแลว จึง
                              ่
ไดขนานนามบริเวณนี้วา "ดานตึง" มาจนถึงปจจุบัน
         แตในปจจุบันนีเ้ สียงกองดังตึงๆ ไมไดยินแลวเพราะมีการเอาดินมาถมใหสูงขึ้นเพือปรับ
                                                                                          ่
บริเวณแหงนี้ใหเหมาะแกการใชสอย เชน ทําเปนที่สรางเมรุ ศาลาพักญาติ ลานจอดรถ เปนตน


                                                   ผูนํา
         จากหนังสือ "เมืองมุกดาหาร" ของสุรจิต จันทรสาขา และหนังสือ "เลาเรื่องเมืองหนอง
สูง" ของพูลสวัสดิ์ อาจวิชัย พอจะสันนิษฐานไดวาผูไทยเมืองวังระดับผูนําทีอพยพมาพรอมกับ
                                                                           ่
ทาวสิงหเจาเมืองคําออในครั้งนั้น มี ทาวสุวรรณะ หรือสุวรรณโคตร (นาจะเปนตนสกุล "สุวรรณ
ไตรย" ) พระศรีวังคะฮาต (นาจะเปนตนสกุล "วังคะฮาต") ทาวอุปคุต (จะเปนตนสกุลใดไม
ทราบ) พรอมทังญาติพี่นอง ลูกนอง และริวารอีกทีไมปรากฏชื่อ เชื่อวามาเปนคณะมีมากกวา 20
                 ้                                ่
คน และตองมีอาวุธครบมือ จะมานอยคนไมไดเพราะสมัยนั้นดงบังอี่ยงเปนดงหนาปาทึบ ดงชางปา
                                                                   ั
เสือ ภัยอันตรายมีอยูรอบดาน


                                              สํารวจพื้นที่
           พอไดพักและสรางเพิงที่พกเปนที่เก็บ "ขาวไถ ขาวถง กระบอกพริก ปลาแดก เกลือ เครื่อง
                                     ั
นอน" ตางๆ แลว ชาวเมืองวังกลุมนี้ก็พากันแบงเปนคณะแยกทางออกสํารวจปารอบๆดานตึงนัน      ้
ทุกทิศทางจากระยะใกลแลวก็ไกลออกไปเรือยๆ ใครชอบตรงใดทีเ่ ปนที่ราบเหมาะที่จะเปนนาก็
                                            ่
หมายจับจองเอาตามใจชอบ เพราะสมัยนั้นคนมีนอย ที่ดนที่เปนดงหนาปามีมากมายและไมมีการ
                                                           ิ
หวงหามแตอยางใด แตละคนก็ไดที่ดนที่ตัวเองสํารวจและจับจองกันอยางกวางขวาง บางคนเอา
                                        ิ
ทางทิศคะวันออก (นาหลวง) บางคนเอาทางทิศใต (นาขี้หมู นาหนองแจง) บางคนก็เอาทางทิศ
ตะวันตก เปนตน และเมือพากันพิจารณาสถานที่ทั่วไปแลวเห็นวาเหมาะสมมากที่จะตั้งหลักแหลง
                            ่
ที่นี่ กลาวคือ มีที่ราบกวางขวางอยูทามกลางภูหลายลูกออมถึงสามดาน ทางทิศตะวันออกมีภู (ตอมา
6

เรียกภูนาหลวง) ทอดยาวตอลงไปทางทิศใตถงภูผากูด (ตอนนั้นยังไมตงชือ) ไกลลงไปทางดานทิศ
                                             ึ                     ั้ ่
ใตถงบริเวณที่ทาวสิงหและชาวเมืองคําออสํารวจ (เชือวาผูไทยพีนองสองเมืองนี้ตองติดตอกัน
     ึ                                            ่          ่             
ตลอด) ก็มีแนวภูทอดยาวจากทิศตะออกไปทิศตะวันตก (ภูจอกอ) ทิศตะวันตกก็มีภู (ทางบานแกง
ชางเนียม)
          สวนสายน้ําลําหวยก็มีทางทิศตะวันตกมีสายหวยยาวสองสาย (หวยคันแทใหญ และหวย
คันแทนอย) ใกลๆ ที่จะตั้งเปนบานก็มีสายหวยสั้นๆ สองสาย คือทางตะวันออกก็เปนสายหวยที่ตอ
จากสายคําแมงอีลงไปตกหวยคันแทใหญ (ปจจุบันคือหวยสายนา) ทางตะวันตกก็มอีกสายหนึ่ง
                                                                                ี
ไหลตกหวยคันแทใหญเชนเดียวกัน (ปจจุบนคือหวยนอยซึ่งอยูตดหมูบานทางทิศตะวันตก) สรุป
                                           ั                     ิ
แลวก็คอ "ขึ้นภูก็ไดกนกระรอก กระแต ลงน้ําก็ไดกินปลากั้งปูหน" จึงตกลงใจแนนอนวาจะพากัน
        ื              ิ                                     ิ
ตั้งหลักปกฐานกันทีนี่ ประกอบกับทีไดประสานไปยังพีนองเมืองคําออก็ทราบวาจะตั้งหลักแหลงที่
                     ่               ่                ่ 
นั่นเหมือนกัน (บานหนองสูง) เห็นวาดีแลวพี่นองสองเมืองที่เคยฝาทุกขฝายากมาดวยกันจะไดอยู
                                               
ใกลกัน จะไดไปมาหาสูและชวยเหลือซึ่งกันและกัน (ตอมาก็เปนจริงตามนั้น)


                                             เริ่มลงมือ
        เมื่อหักลางถางพงลงเปนสวนและตั้งใจจะตั้งหลักแหลงที่นแลว ก็เขาไปแจงเจาเมืองทราบ
                                                                 ี่
และอพยพครอบครัวตามมาแลวเขาไปอยูประจําที่สวนของตน "เครื่องปลูก ของฝง" จากการทํา
สวนตอนแรกก็จะปลูก "ขาวไร" เปนหลัก ที่รองลงมาก็มฝาย คราม ฟกทอง แตงชนิดตางๆ พริก
                                                          ี
เปนตน คือคิดดูวาสิ่งจําเปนตอชีวิตในรอบปนั้นมีอะไร ก็ทําการหาสะสมเพื่อแกการที่จะตั้งเปน
                    
หลักแหลงยาวนานตอไป สวนปู ปลา ตามลําหวยตางๆ มีมากมาย "เปนชั้น เปนหลืบ" สัตวปา ทั้ง
เล็กและใหญธรรมชาติสรรสรางไวใหอยางเหลือเฟอ พอปที่ 2 - 3 - 4 ตอไมเล็ก ตอไมใหญ
บางสวนก็เริ่มผุพง จึงไดเริ่มที่จะปรับเปนนาและขยายใหเปนนาออกไปเรื่อยๆ
                  ั


                                 ประชากรเพิ่มเริ่มเปนชุมชน
         สวนพี่นองที่อยูเมืองวังที่หนีหลบเรนไปอยูตามปาเพราะศึกสงครามนั้น เมื่อบานเมืองสงบ
แลวก็ไดกลับเขามาอยูเมืองวังอีก และไดสืบทราบวา พี่นองที่ถูกกวาดตอนไปอยูทางฝงขวาของ
                                                                                   
แมน้ําโขงเมือคราวสงครามนั้น กลุมหนึ่งอยูทบานคําชะอี เมืองมุกดาหาร ดวยความรัก คิดถึงและ
             ่                                  ี่
หวงไยตอญาติพี่นอง จึงไดเดินทางมาเยียมเยียน (สมัยนันไปงายมางายเพราะลาวยังเปนของไทย
                                          ่                 ้
อยู จะยากแตตองนั่งเรือพายขามแมน้ําโขงและตองเดินทางดวยเทาเปนเวลาหลายคืนเพราะจาก
บานคําชะอีไปเมืองวังระยะทางประมาณ 300 กิโลเมตร) ไดเห็นสภาพพื้นที่เปนที่ราบกวางขวาง
ดินดี และอุดมสมบูรณ จึงกลับไปเมืองวังชักชวนญาติพนองไดหลายคนอพยพตามมาอยูดวย และ
                                                         ี่ 
7

หลายปตอมา ลูกหลานไดเกิดมาจํานวนคนก็เพิ่มขึ้นกลายเปนบานเล็กๆ เปนชุมชนยอมๆ กระจาย
กันอยู เชน
            บานคําสระอี เอาชือตามสายคําแมงอี ตอมาก็เปน บานคําชะอี เปนบานที่ใหญกวาเพื่อน
                                 ่
ปจจุบันก็คอหมูที่ 4 และ 14
               ื
            บานโพนแดง บานนีอยูตดกับหวยคันแทใหญตรงทีเ่ ปนหวยคดหักศอก ตรงที่คดหักศอก
                                         ้ ิ
นี้เปนวังน้ําลึก น้ําใสจนดูเขียวครึ้ม เคยมีสตวประหลาดสีเทาคอนขางดําโผลขึ้นมาเหนือน้ํา ตรง
                                                     ั
ลําคอมีสีขาวพาดขวางรอบคอ ผูไทยเรียกวา "คอกาน" วังนี้จึงไดชอวา "วังคอกาน" ใตวงคอ
                                                                      ื้                       ั
กานลงไปเปนแกงหิน (แกงหิน) จึงทําใหวงคอกานเปนวังน้ําลึก "น้ําเจิ่งนอง" อยูตลอดป แกงหิน
                                                   ั                              
ตรงนี้จึงเรียกวา "แกงวังนอง" บานโพนแดงตั้งอยูทางฝงขวาของแกงวังนอง (การเรียกฝงของหวย 
หรือฝงแมน้ําวาฝงไหนเปนฝงซาย ฝงไหนเปนฝงขวานั้น มีขอตกลงเปนสากลวา ใหหนหนาไปตาม
                                                                                     ั
ทางน้ําไหล ฝงทีอยูทางขวามือเรียกวาฝงขวา ฝงที่อยูทางซายมือเรียกวาฝงซาย) มีเนื้อที่ประมาณ
                    ่                                                    
ตั้งแตทดินคุณอินทา วังคะฮาต ที่ดนของคุณครูบญเพ็ง สุวรรณไตรย แผขึ้นทางทิศเหนือรวมเอา
         ี่                                  ิ                 ุ
ที่เปน "สํานักสงฆแกงวังนอง" หรือที่เรียกกันติดปากวา "วัดแกงวงนอง" ดวย
            บานฟากหวย อยูฝงชวาของหวยคันแทใหญเหนือบานโพนแดงขึ้นมาประมาณ 900 เมตร
                               
ตามลําหวย บานนี้อยูตรงขามกับโรงสีใหญเจริญทรัพย
                         
            บานตาดโตน อยูฝงขวาของหวยคันแทใหญเชนเดียวกัน แตอยูเหนือบานฟากหวยขึ้นไป
                             
ประมาณ 800 เมตร ตามลําหวย บานตาดโตนนี้จะใหญเปนที่สองรองจากบานคําชะอี เพราะมีวัด
วาอาราม
            บานหนองไหล อยูติดสายหนองไหล สายหนองไหลนี้อยูทางตะวันตกของนาหนองแจง
                                                                   
ไหลลงสูหวยคันแทนอย บานหนองไหลในปจจุบันคือบริเวณแถวนาของนายคลาย วังคะฮาต
(พอตาของคุณครูเวลา คนซื่อ) และบริเวณขางเคียง
            อยูมา บานโพนแดง บานฟากหวย บานตาดโตน บานหนองไหล ก็รางเพราะอพยพเขามา
อยูบานใหญ คือบานคําชะอี เพราะที่เคยอยูเดิมนันเห็นวามันเหมาะที่จะเปนนามากวา และก็มี
                                                             ้
หลายครอบครัวอพยพไปอยูถิ่นอื่น จังหวัดอืน
                                                      ่


                                             ชุมชนขยาย
        บานคําชะอีไดพัฒนาขึ้นกลายเปนบานใหญขึ้นมาเรือยๆ พ.ศ. 2450 ไดรบยกฐานะเปน
                                                        ่                  ั
ตําบลคําชะอีขึ้นกับอําเภอมุกดาหาร มีกานันปกครองเรื่อยมาดังนี:-
                                      ํ                     ้
        1. เจาพรหมรินทร (นายตอน สุวรรณไตรย)           พ.ศ. 2450 – 2452
        2. หมื่นบริครุฑ (นายสุวรรณะ วังคะฮาต)             พ.ศ. 2452 – 2462
        3. ขุนคําชะอีบํารุง (นายเนียม สุวรรณไตรย)        พ.ศ. 2462 – 2467
8

        4. ขุนนิคมคําชะอี (นายนารี วังคะฮาต)              พ.ศ. 2467 – 2482
        5. นายฟอง อุปญญ                                 พ.ศ. 2482 – 2487
        6. นายคลอย วังคะฮาต                              พ.ศ. 2487 – 2503
        7. นายตรอง อุปญญ                                พ.ศ. 2503 – 2514
        8. นายจําลอง (เหลิน) อุปญญ                      พ.ศ. 2514 – 2524
        9. นายแถม แสนโสม                                  พ.ศ. 2524 – 2540
       10. นายเหมย สุวรรณไตรย                            พ.ศ. 2540 – 2543
       11. นายสกล คนซื่อ                                  พ.ศ. 2543 – 2546
       12. ทองปาน หาญจริง                                 พ.ศ. 2546 – 2549
        13. นายบุญทวี สุวรรณไตรย                         พ.ศ. 2549 – ปจจุบัน
        จากลําดับที่ 1 – 9 สืบคนโดย อาจารยนําชัย อุปญญ
                                                      
        จะเห็นวากํานันแตละคนนั้นเปนคนบานคําชะอี ยกเวนเมือสิ้นวาระของกํานันคนที่ 10
                                                              ่
(นายสกล คนซือ) ชาวบานคําชะอีมีความแตกแยกดานความคิด เมือเลือกกํานันคนที่ 11 จึงไดคน
                 ่                                              ่
บานหนองกะปาด (นายทองปาน หาญจริง) เมือสิ้นวาระแลวจึงเลือกกํานันคนที่ 12 ไดคนบานคํา
                                              ่
ชะอีอีกครั้งหนึ่ง


                                          ยกฐานะ
            สมัย นายฟอง อุปญญ เปนกํานันตําบลคําชะอีนั้นไดทําเรืองขอยกฐานะตําบลคําชะอี
                                                                    ่
ขึ้นเปนกิงอําเภอคําชะอี และไดรบการยกฐานะเปน "กิงอําเภอคําชะอี" เมือวันที่ 5 มิถุนายน 2484
          ่                        ั                    ่                  ่
ปลัดอําเภอผูเ ปนหัวหนากิ่ง (สมัยนันไมทราบวาเรียกตําแหนงวาอยางไร) คนแรก ชื่อ นายเจริญ
                                     ้
วดิศักดิ์ คนที่สองชื่อ นายอวน เคหาศัย (สิน สุวรรณไตรย. 4 ต.ค. 2552 : สัมมภาษณ) ที่ทําการ
กิ่งอยูตรงตลาด อบ.ต. ตรงขามกับโรงเรียนคําชะอีพิทยาคมในปจจุบน สถานีตํารวจอยูบริเวณ
                                                                       ั
ขางบานอาจารยบุษบา อุปญญ ดานทิศตะวันออกครอบคลุมบริเวณทีเ่ ปนศูนยพฒนาเด็กเล็กใน
                                                                                 ั
ปจจุบัน และกอนหนาที่จะตั้งสถานีตํารวจนั้น บริเวณนี้เคยเปนวัดปามากอน มีตนโพใหญอยู 3 ตน
อยูขางบานอาจารยพิน สุวรรณไตรยหนึ่งตน อยูฟากทางดานทิศตะวันออกขางสวนอาจารยเพียร
สุวรรณไตรยหนึ่งตน ใกลตนโพตนนี้กํานันฟองไดขดบอน้า เปนบอรูปทรงกระบอก ใหน้ําทีใสเย็น
                                                      ุ    ํ                               ่
รสดี ผนังบอกออิฐอยางแนนหนาเพื่อปองผนังบอพัง ขอบบอสูงประมาณหนึ่งเมตรกออิฐโบกปูน
อยางดีและแนนหนา นับเปนบอน้ําที่ดีที่สดในหมูบานคําชะอี ชาวบานทั่วไปเรียกบอน้ําแหงนี้วา
                                           ุ      
"น้ําสรางหลวง" แตเดียวนี้ถกถมไปแลวไมเหลือรองรอยอีกเลย ตนโพอีกตนหนึ่งอยูทางทิศเหนือ
                       ๋        ู
ขางบานคุณบังเกิด คนตรง ทั้งสามตนแผกิ่งกานสาขาเปนที่รมครึ้ม อยูมาวัดปาแหงนีไดยายมาอยู
                                                                                       ้
แหงใหมเปนวัดโพธิ์ศรีแกว บริเวณนี้กเ็ ลยเปนวัดราง (ตอนผูเขียนยังเด็กกลัวผีบริเวณนีมาก)
                                                                                         ้
9

เดี๋ยวนี้ตนโพทั้งสามตนไดแกตายและถูกโคนลงแลวเมือประมาณ 30 กวาปมานี่เอง คุกที่ขง
                                                    ่                                ั
นักโทษนันอยูแถวบานนางเพียน วังคะฮาต (คุณแมของคุณครูสุรพล วังคะฮาต)
            ้                ้


                                                วางผังหมูบาน
                                                         
         ครั้นเมื่อตําบลคําชะอีไดตั้งเปนกิ่งอําเภอแลวก็ไดจดผังหมูบานปรับถนน ตัดซอยไวอยาง
                                                              ั      
เปนสัดเปนสวน ในปจจุบันบานคําชะอีจึงเปนบานที่มีแผนผังของหมูบานเปนสัดเปนสวนเรียบรอย
                                                                        
กวาหมูบานอืนๆ
              ่

        ตามแผนผังของหมูบาน (โดยสังเขป) ในปริญญานิพนธของอาจารยนําขัย อุปญญ ได
                          
สืบคนไดวา ในสมัยนั้น หลวงบริหารชนบท (สาน สีหไตรย ) นายอําเภอมุกดาหาร ไดออกมา
วางแผนเมืองรวมกันกับชาวบาน โดยไดตดถนนหนทางบานคําชะอีจากบานเหนือและใต และไดให
                                          ั
ชื่อถนน ดังนี้ :-
        1. ถนนคําชะอี ตั้งใหเปนเกียรติ์แกขุนคําชะอีบํารุง { (นายนารี วังคะฮาต ) (อันนี้นาจะผิด
เพราะขุนคําชะอีบํารุง คือนายเนียม สุวรรณไตรย กํานันคนที่ 3 พ.ศ. 2462 – 2467 สวนนายนารี คือขุนนิคมคําชะอี โปรดดูรายชื่อ
กํานัน : ณรงค) }
            2. ถนนศรีมงคล ตังใหเปนเกียรติ์แก พระมหามงคล พระนักพัฒนาทองถินในสมัยนัน
                            ้                                                      ่                ้
            3. ถนนชลประทาน (ทางหลวงแผนดินปจจุบัน สายมุกดาหาร – กาฬสินธุ) (เชื่อวาตั้งใหเปนเกียรติ์แก
พระชลประทาน หรือ "เจาพระชล" : ณรงค)
         4. ซอยบริหารบํารุง เปนชื่อของ หลวงบริหารชนบท
         5. ซอยผดุงนิคม ตังขือใหเปนเกียรติ์แก กํานันขุนนิคมคําชะอี (นายนารี วังคะฮาต)
                            ้ ่
         6. ซอยอุดมราษฎร ตังใหเปนเกียรติ์แก ราษฎรที่ชวยกันพัฒนา
                               ้
         7. ซอยสะอาดนิรันดร (ไมทราบที่มา)
         8. ซอยคําจันทรดําริ เปนชือของครูใหญสมัยนั้น (นายวิชย คําจันทร เดิมชื่อ นายทองคํา
                                    ่                            ั
คําจันทร) อดีตครูใหญโรงเรียนบานคําชะอี
         9. ซอยสีหไตรย เปนนามสกุลของหลวงบริหารชนบท
         หลวงบริหารชนบทเดิมชื่อ สาน สีหไตรย ดํารงตําแหนงนายอําเภอมุกดาหารคนที่ 4 ระหวาง พ.ศ.
2476 – 2482 แลวยายไปดํารงตําแหนงขาหลวงประจําจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดมหาสารคาม ( เมือง
มุกดาหาร : สุรจิตต จันทรสาขา หนา 88)
            10. ซอยวิไลวรรณ (เปนชือของผูใหญบาน)
                                   ่                          (ไมปรากฏเห็นผูใหญบานหมูใดที่มีชื่อนี้ ใหดูการแยกหมูบาน
: ณรงค )
10

        11. ซอยอุปญญประดิษฐ ตั้งใหเปนเกียรติ์แกนายฟอง อุปญญ อยูทางทิศเหนือของ
                                                               
หมูบานคําชะอี ในบริเวณกิงอําเภอคําชะอีเกา ปจจุบันทางไปบานนาปุง และแถวๆ ปาชาดานตึง
                          ่                                       
(ปจจุบันไมมีแลว : ณรงค)
              (ปริญญานิพนธ บทบาทของพอลามชาวผูไทยตําบลคําชะอี อําเภอคําชะอี จังหวัด
มุกดาหาร : นําชัย อุปญญ 2538 หนา 60 - 61)
                             
              พ.ศ. 2551 ทาง อบ.ต. คําชะอี มีความประสงคอยากจะติดปายชื่อถนน-ซอย ตางๆ เพื่อให
เปนสัดสวนที่ชดเจน โดยกําหนดใหถนนชลประทาน (ทางลาดยาง) เปนเสนแบงเขต ฟากถนนทาง
                       ั
ทิศตะวันออกใหเปนซอยจากหมายเลข 4 ถึง 11 (ยกเวนหมายเลข 2) สวนฟากถนนทางทิศ
ตะวันตกใหเปนซอยหมายเลขตั้งแต 12 – 18 โดยใหนายณรงค อุปญญ (ผูเ ขียน) คิดตั้งชือซอยให
                                                                                         ่
โดยใหมีชอคลองจองกัน ดังนี้ :-
                ื่
              12. ซอยวังนองพิมาน เพราะเปนซอยเขาสํานักสงฆแกงวังนอง วัดหรือสํานักสงฆถอเปน ื
หนทางสูความสงบ สูทางสวรรควิมาน จึงเอาคําวา "วิมาน" มาตอทายคําวา "วังนอง" โดยแผลง
                           
"วิ" ใหเปน "พิ" ตามหลักภาษาไทย จึงใหชื่อเปนซอย "วังนองพิมาน"
              13. ซอยประสานนฤมิต เมื่อ พ.ศ. 2533 ชาวนาหนองแจงและผูที่เห็นประโยชนไดรวมกัน
ประสานดําเนินการสรางซอยนีขึ้น โดยมี กํานันแถม แสนโสม นายลําทอง วังคะฮาต และอีกหลาย
                                    ้
คนเปนผูนํา แลวพากันประสานขอบริจาคที่ดินจากชาวนาและขอบริจาคเงินเปนคาเครื่องจักรใน
การกอสราง (รถไถ รถขนดิน ฯลฯ ) นายณรงค อุปญญ เปนผูดําเนินการดานเอกสารหนังสือ
                                                                   
ยินยอมบริจาคที่ดน และอีกหลายคนรวมกันประสานงานจนแทบจะกลาวไดวาทั้งหมูบานเลย
                         ิ                                                              
ซอยนี้จึงไดมีขนมา  ึ้
              14. ซอยกิจจําเริญ ตังใหเปนเกียรติ์แกนายลําทอง วังคะฮาต (หรือ "ลุงจําเริญ" เพราะ
                                  ้
ทานมีลกคนแรกชื่อ นายจําเริญ เจาของโรงสี "เจริญทรัพย" ในปจจุบัน ) ทานเปนนักธุรกิจมีหนา
          ู
มีตา เปนที่เคารพนับถือแกบุคคลในซอยและบุคลทั่วไป
              15. ซอยวังเพลินไพเราะ ตั้งใหเปนเกียรติ์แก นายโจม วัคะฮาต (หรือ "ตาเจียง" เพราะ
ทานมีลกคนแรกชื่อ นางเจียง) ทานเปนผูมีความรูความสามารถในหลายดาน เปนชางตีเหล็ก ชาง
            ู
ทําหลาปนฝาย ชางไม พูดงายๆ คือสารพัดชาง เปนหมอน้ามันงาจอดกระดูก หรือฟกช้ําดําเขียว
                                                             ํ
ลูกหลานชาวบานตกตนไมควายชน หรืออุบัตใดๆ ไดรับบาดเจ็บ ก็มาหาทานชวยเยียวยา คารักษา
                                                   ิ
แลวแตจะให ไมเคยเรียกรอง นอกจากนี้ทานยังเปนผูมีพรสวรรคในดานศิลปะการบันเทิง ทาน
เปนผูนําในการฟอน "ละครกลองตุม" และมีฝมือในการดีด สี ตี เปา ไดไพเราะมาก
              16. ซอยเกาะสวรรค เปนซอยทีไปสุดที่หวยนอย ที่หวยนอยมีเกาะอยูกลางหวย ชาวบาน
                                              ่                                 
ใหชื่อวา "เกาะสวรรค" (ในปจจุบน คือ พ.ศ. 2552 ไดสรางสะพานขามหวยนอยและขามไปยังเกาะ
                                      ั
11

สวรรคแลว มีลักษณะเปนสะพานสามแยก โดย ทาน ส.ส.วิทยา บุตรดีวงค เปนผูดงงบประมาณ
                                                                         ึ
แผนดินมาให)
       17. ซอยพันดอกบัวหลวง เรียกสั้นๆ วา "ซอยดอกบัว" เพราะซอยนี้ไปสินสุดที่หวยนอย
                                                                           ้
ในหวยนอยมีดอกบัวขึ้นอยูมากมาย ชาวบานในซอยนี้จึงเอาดอกบัวมาตั้งเปนนามซอย
       18. ซอยดวงฤดี ตังขึนมาเพียงเพือใหคําแรกคือ "ดวง" ไปสัมผัสกับคําวา "หลวง" ใน
                          ้ ้          ่
ซอยพันดอกบัวหลวง และคําทายคือ "ดี" ใหไปสัมผัสกับคําวา "ศรี" ในถนนศรีมงคล


                                      การแยกหมูบาน
                                               
           บานคําชะอีไดขยายตัวเปนชุมชนใหญขนมาเปนลําดับ เมื่อ พ.ศ. 2450 ไดรบการยกฐานะ
                                                  ึ้                               ั
เปนตําบลดังไดกลาวแลว เพื่อใหมีความคลองตัวในการปกครองและการพัฒนา จึงไดมีการแยก
หมูบานขึ้น การแยกหมูบานนี้แยกเมือปใดไมปรากฏแนชด แตเชื่อวาแยกเมื่อสมัยขุนนิคมคําชะอี
                                       ่                   ั
เปนกํานัน (นายอินทา วังคะฮาต หรือลงุก่ํา. 28 ก.ย.2552 : สัมภาษณ) โดยใหคุมบานดอน (คุม
เจาชัยอภิเดช) เปนหมูที่ 2 มีนายนัน สุวรรณไตรย (คุณปูของอาจารยถาวร สุวรรณไตรย) เปน
                                                              
ผูใหญบานคนแรก เมือสิ้นวาระแลว นายกิ เสียงล้ํา ก็ไดเปนผูใหญบานคนที่ 2 ยังไมครบวาระ
                          ่
ทางขุนนิคมฯ ก็จะแยกหมูบานอีกใหเปนหมูที่ 4 (หมูที่ 3 บานหวยทรายเอาไป ) โดยใหยบหมูที่ 2
                                                                                         ุ
เพราะจํานวนคนนอยประกอบกับตอนนันบานกกไฮก็ขอตังหมูบานจึงไดยกหมู 2 ไปใหบานกกไฮ
                                              ้                 ้
หมูที่ 2 เดิมก็มารวมกับหมูที่ 4 โดยใชซอยหนาวัดโพธิ์ศรีแกวไปยังหวยนอยเปนเสนแบงหมูบาน
                                                                                             
ฟากซอยดานทิศใตลงมาเปนหมูที่ 4 ฟากซอยดานทิศเหนือขึ้นไปเปนหมูที่ 1 (นายเหมย สุวรรณ
                                                                          
ไตรย นายสกล คนซื่อ. 28 ก.ย. 2552 : สัมภาษณ)
           เมื่อแยกหมูบานเปนหมู 1 และหมู 4 แลว หมู 1 ก็ไดเลือก นายฟอง อุปญญ เปนผูใหญบาน
                                                                                          
สวนหมูที่ 4 มีกํานันขุนนิคมฯ เปนผูปกครอง
                                      
           เมื่อกํานันขุนนิคมออกตามวาระ (พ.ศ. 2482) นายฟอง อุปญญ ก็ไดเปนกํานัน สวนหมูที่     
4 ไดเลือก นายคลอย วังคะฮาต (ลูกของขุนนิคมฯ) เปนผูใหญบาน        
           กํานันฟอง อุปญญ ไดลาออกเมื่อ พ.ศ. 2487 นายคลอย วังคะฮาต ก็ไดรับเลือกเปน
                            
กํานัน สวนหมูที่ 1 ไดเลือกนายไหล สุวรรณไตรย (คุณพอของอาจารยเข็มทอง สุวรรณไตรย)
เปนผูใหญบาน เปนไดไมถงปก็ก็หมดวาระ ชาวบานจึงยายใส (ไมมีการเลือก)นายเครือ สุวรรณ
                                ึ
ไตรย (คุณตาของอาจารยบรรเลง อุปญญ ) เปนผูใหญบาน (เฉลย สุวรรณไตรย นายอินทา วัง
                                                    
คะฮาต. 28 ก.ย. 2552 : สัมภาษณ) เมือนายเครือ สุวรรณไตรย ออกตามวาระ นายตรอง อุปญญ
                                            ่                                                  
ก็ไดเปนผูใหญบานหมูที่ 1
            
           เมื่อกํานันคลอย วังคะฮาต ออกตามวาระ (พ.ศ. 2503) นายตรอง อุปญญ ก็ไดเปนกํานัน
                                                                              
สวนหมูที่ 4 ก็ไดเลือกนายเครือ วังคะฮาต (ลูกคนสุดทองของกํานันขุนนิคมฯ ) เปนผูใหญบาน
12

          กํานันตรอง อุปญญ ออกตามวาระ (พ.ศ. 2514) นายจําลอง (เหลิน) อุปญญ (นองชายของ
                                                                               
กํานันตรอง) ก็ไดเปนผูใหญบานหมูที่ 1 เปนผูใหญบานไดไมนานก็สมัครกํานันและไดรบเลือกเปน
                                                                                      ั
กํานันแทนนายตรอง อุปญญ สวนหมูที่ 4 เมื่อนายเครือ วังคะฮาต ออกตามวาระ นายแถม แสน
                                        
โสม ก็ไดเปนผูใหญบานแทน
                        
          เมื่อกํานันจําลอง อุปญญ ออกตามวาระ (พ.ศ. 2524) นายแถม แสนโสม ก็ไดรบเลือกเปน
                                                                                         ั
กํานัน สวนหมูที่ 1 ก็ไดเลือกนายเหมย สุวรรณไตรย เปนผูใหญบาน
          ในสมัยทีนายแถม แสนโสม เปนกํานันนี้ไดมีการแยกหมูบานอีกไดเปนหมูที่ 11 เมือ พ.ศ.
                     ่                                                                     ่
2527 มีนายเปอะ วังคะฮาต เปนผูใหญบานคนแรก
          เมื่อกํานันแถม แสนโสม ออกตามวาระ (พ.ศ. 2540) นายเหมย สุวรรณไตรย ก็ไดรบ            ั
เลือกเปนกํานัน สวนหมู 4 ไดเลือก นายสกล คนซื่อ เปนผูใหญบาน ทางหมู 11 ผูใหญเปอะ วังคะ
                                                             
ฮาต ออกตามวาระ (พ.ศ. 2533) นายวันเทศ กุลวงค ก็ไดรับเลือกเปนผูใหญบานแทน
          เมื่อกํานันเหมย สุวรรณไตรย ออกตามวาระ (พ.ศ. 2543) นายสกล คนซื่อ ก็ไดรับเลือก
เปนกํานัน สวนหมูที่ 1 ไดเลือก นายจันทา สุวรรณไตรย เปนผูใหญบาน และในสมัยนีไดมีการ
                                                                                       ้
แยกหมูบานอีกไดเปนหมูที่ 14 เมือ 30 กรกฎาคม 2545 นายสุรพล วังคะฮาต ไดรบเลือกเปน
                                      ่                                           ั
ผูใหญบานคนแรก
          เมื่อกํานันสกล คนซือ ออกตามวาระ (พ.ศ. 2546) นายทองปาน หาญจริง บานหนองกะ
                                 ่
ปาด ไดรบเลือกเปนกํานัน สวนหมูที่ 1 นายจันทา สุวรรณไตรยฺ ออกตามวาระ นายบุญทวี
           ั
สุวรรณไตรย ไดรบเลือกเปนผูใหญบานแทน หมูที่ 4 ไดเลือกนายวิมล สุวรรณไตรย เปน
                       ั                            
ผูใหญบาน
          เมื่อกํานันทองปาน หาญจริง ออกตามวาระ (พ.ศ. 2549) นายบุญทวี สุวรรณไตรย ไดรบ          ั
เลือกเปนกํานัน สวนหมูที่ 4 ผูใหญบานยังเปนคนเดิมคือนายวิมล สุวรรณไตรย สวนหมูที่ 11
                                     
นายวันเทศ กลุวงค ออกตามวาระ (พ.ศ. 2550) นายสารีบุตร สุวรรณไตรย ไดรับเลือกเปน
ผูใหญบาน         ทางหมู 14 นายสุรพล วังคะฮาต ออกตามวาระ (พ.ศ. 2550) นายถาวร วังคะ
ฮาต ไดรบเลือกเปนผูใหญบาน.
             ั             

       ตอไปนี้จะเลาถึงเหตุการณ สถานที่ หรือสิ่งตางๆ ที่เกิดที่มีขนในบานคําชะอี
                                                                     ึ้

                                    การปานหวยนอย
       หวยนอย เปนสายหวยเล็กๆ จึงเรียกวา "หวยนอย" บางตอนกวางแควาเดียว แตลกมาก
                                                                                  ึ
เปนสายหวยทีไมยาวนัก อยูตดกับหมูบานทางทิศตะวันตก ไหลตกหวยคันแทใหญ
             ่              ิ
13

            ผูที่ริเริ่มทําฝายกั้นคือ นายบัง สุวรรณไตรย (นองของพอตาของคุณสันดร คนศื่อ
เดี๋ยวนี้ยังมีชีวิตอยูที่บานหวยลึก) นายบังนี้ คนทั่วไปมักเรียกวา “ลุงสงคราม” เพราะแกมีลกคนโต
                                                                                            ู
ชื่อสงคราม นายสงครามนีเ้ กิดปสงคราม คือ พ.ศ.2484 นายบังจึงใหชอวา "สงคราม" นายบัง
                                                                           ื่
ไดมาตังศาลาที่ริมหวยนอยนี้ทําเปนโรงฆาสัตว ก็เลยวานพี่นองขนดินมาถมยกคันฝายนี้ขึ้น (การ
         ้
ถมดินใหเปนคันกันน้ํานี้ทองถิ่นอีสานเรียกวา "ปาน" ตอไปจะใชคํานี้) เพื่อจะกั้นเอาน้ําไวสําหรับ
                          ้      
ลางเนื้อ และเครื่องใน ตับ ไต ไส พุง ของสัตวที่ชําแหละ พอหนาน้าหลากก็พง พังแลวก็ปานอีก
                                                                         ํ      ั
หลายครั้งหลายครา เมื่อนายไหล สุวรรณไตรย เปนผูใหญบาน (หมูที่ 1) นายไหลมีที่นาอยูทนาขี้    ี่
หมู เห็นประโยชนจากน้ําหวยนอย จึงชวนนายแสง แสนโสม (หรือลุงนาง คุณพอของกํานันแถม
แสนโสม) เจรจากับนายบัง ขอขุดเหมือง (คลอง) เขาสูนาขี้หมูโดยจะชวยปานหวยนอยใหเปนคัน
ปานที่แนนหนา นายบังเปนคนใจกวางมองการณไกลและเห็นประโยชนรวมกัน จึงตกลง นายไหล
จึงชวนพี่นองชาวนาขี้หมู (ซึ่งตอนนั้นมีแค 7 - 8 คน) มาขุดเหมืองใหน้ําเขานา พรอมกับไหววานพี่
นองระดมกําลังมาปานหวยนอยจนเปนคันปานที่ใหญและแนนหนา ประกอบกับชวงนั้น กิ่งอําเภอ
คําชะอียังอยูทบานคําชะอี มีนายเจริญ วดิศักดิ์ เปนหัวหนากิ่ง ไดลงมาควบคุมดูแลการปานดวย
                   ี่
ทําใหการดําเนินการเปนอยางดี (สิน สุวรรณไตรย. 5 ต.ค. 2552 : สัมภาษณ ) ปานหวยนอย
ตรงนี้ตอมาเรียกวา "ปานหลวง" ก็เลยมีฝายหวยนอยและคลองมาจนทุกวันนี้ ตอนแรกก็มี
ปญหา เพราะทําดวยแรงงานคนและขาดหลักวิชาการทําใหคลองพังอยูบอยๆ จะเขาหนานาแตละป
                                                                              
ตองซอมคันคลองเสียกอน มีเรืองเลาขานวา ปหนึ่งฝนตกหนักน้ําหลากมามากจนเหมืองหวยนอย
                                        ่
พัง ลุงเจียง วังคะฮาต ไดไปยืนดูตรงใกลที่มันพัง ขณะทีดูเพลินอยูนั้นดินที่ตรงที่ลงเจียงยืนอยู
                                                              ่                      ุ
เกิดพังลงทันทีทันใด ลุงเจียงไมทันระวังตกก็ตกลงไปน้ําทวมหัวลิบ และถูกน้ําพัดไปไกล โผล
ขึ้นมาก็วายเขาฝงเพราะเปนคนแข็งแรงและวายน้ําเกง คนจึงลือเลาขานวา “ลุงเจียงตกหวยนอย”
(ตองขอโทษลูกหลานของทานดวยทีเ่ ก็บเรื่องนี้มาเลา มิไดมีเจตนาจะลบหลูแตประการใด แตเปน
เรื่องที่ระทึกขวัญทีเ่ กิดขึนในบานเรา )
                               ้
           อยูมาเมือประมาณ 20 กวาปมานี้ ทางกรมชลประทานไดมาปรับคันฝาย คันคลอง และที่
                        ่
ระบายน้ําตามหลักวิชาการ จึงไดฝายอยางถาวรมาจนทุกวันนี้ ก็นบวานายบัง สุวรรณไตรย นาย
                                                                       ั
ไหล สุวรรณไตรย ตลอดทังญาติพี่นองรุนนัน ไดเอื้อประโยชนตอทองถิ่นบานคําชะอีอยางมากมาย
                                   ้              ้
ทั้งไดน้ําเขานา เปนแหลงเพาะพันธุปลา ตาน้ําใตดินก็ตื้นสะดวกแกการขุดบอน้ํา (น้ําสราง) ไดน้ํา
รดพืชผักสวนครัว และเปนที่จดงานประเพณีคืองานลอยกระทง ฯลฯ (นายอินทา (ลุงก่ํา) วังคะ
                                      ั
ฮาต นายสาคร สุวรรณไตรย นายประเนิม คนซื่อ นายเกียรติศักดิ์ (จอ) สุวรรณไตรย. 2 ต.ค.
2552 : สัมภาษณ)
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Aula 13 ferros fundidos nodulares
Aula 13   ferros fundidos nodularesAula 13   ferros fundidos nodulares
Aula 13 ferros fundidos nodularesRonald Vasconcelos
 
ACI 318 - 02 (Ingles)
ACI 318 - 02 (Ingles)ACI 318 - 02 (Ingles)
ACI 318 - 02 (Ingles)TheJamez
 
WELDED_CONNECTIONS
WELDED_CONNECTIONSWELDED_CONNECTIONS
WELDED_CONNECTIONSssuser88f04f
 
Guntner recommandations pour les sélections des matériaux d'un évaporateur su...
Guntner recommandations pour les sélections des matériaux d'un évaporateur su...Guntner recommandations pour les sélections des matériaux d'un évaporateur su...
Guntner recommandations pour les sélections des matériaux d'un évaporateur su...e-genieclimatique
 
Abnt nbr iso 4287 rugosidade - método do perfil - termos, definições e par...
Abnt nbr iso 4287    rugosidade - método do perfil - termos, definições e par...Abnt nbr iso 4287    rugosidade - método do perfil - termos, definições e par...
Abnt nbr iso 4287 rugosidade - método do perfil - termos, definições e par...Robsoncn
 
Deformação por torção e dimensionamento de eixos tubulares final 2pptx
Deformação por torção e dimensionamento de eixos     tubulares  final 2pptxDeformação por torção e dimensionamento de eixos     tubulares  final 2pptx
Deformação por torção e dimensionamento de eixos tubulares final 2pptxRafaela Chaves
 
Nbr 5875 parafusos porcas e acessorios
Nbr 5875 parafusos porcas e acessoriosNbr 5875 parafusos porcas e acessorios
Nbr 5875 parafusos porcas e acessoriosejfelix
 
Understanding printed board assembly using simulation with design of experime...
Understanding printed board assembly using simulation with design of experime...Understanding printed board assembly using simulation with design of experime...
Understanding printed board assembly using simulation with design of experime...Kiran Hanjar
 
Tratamento térmico em juntas soldadas
Tratamento térmico em juntas soldadasTratamento térmico em juntas soldadas
Tratamento térmico em juntas soldadasEdvaldo Freitas
 
Livro Manual de Perícias
Livro Manual de PeríciasLivro Manual de Perícias
Livro Manual de PeríciasRui Juliano
 
Slab column and stair case
Slab column and stair caseSlab column and stair case
Slab column and stair caseVikas Mehta
 
Origem de defeitos superficiais em tarugos de aços ao carbono e de baixa liga
Origem de defeitos superficiais em tarugos de aços ao carbono e de baixa ligaOrigem de defeitos superficiais em tarugos de aços ao carbono e de baixa liga
Origem de defeitos superficiais em tarugos de aços ao carbono e de baixa ligaJorge Madias
 
Nbr 6120 cargas para o cálculo de estruturas de edificações
Nbr 6120   cargas para o cálculo de estruturas de edificaçõesNbr 6120   cargas para o cálculo de estruturas de edificações
Nbr 6120 cargas para o cálculo de estruturas de edificaçõesmjmcreatore
 
FRP Electrical Distribution and Transmission Structures
FRP Electrical Distribution and Transmission Structures FRP Electrical Distribution and Transmission Structures
FRP Electrical Distribution and Transmission Structures Creative Pultrusions, Inc.
 

Was ist angesagt? (20)

Aula 13 ferros fundidos nodulares
Aula 13   ferros fundidos nodularesAula 13   ferros fundidos nodulares
Aula 13 ferros fundidos nodulares
 
ACI 318 - 02 (Ingles)
ACI 318 - 02 (Ingles)ACI 318 - 02 (Ingles)
ACI 318 - 02 (Ingles)
 
Resumo fe c
Resumo fe cResumo fe c
Resumo fe c
 
7344574 bolting-welding-1
7344574 bolting-welding-17344574 bolting-welding-1
7344574 bolting-welding-1
 
WELDED_CONNECTIONS
WELDED_CONNECTIONSWELDED_CONNECTIONS
WELDED_CONNECTIONS
 
Guntner recommandations pour les sélections des matériaux d'un évaporateur su...
Guntner recommandations pour les sélections des matériaux d'un évaporateur su...Guntner recommandations pour les sélections des matériaux d'un évaporateur su...
Guntner recommandations pour les sélections des matériaux d'un évaporateur su...
 
Ferros fundidos
Ferros fundidosFerros fundidos
Ferros fundidos
 
Abnt nbr iso 4287 rugosidade - método do perfil - termos, definições e par...
Abnt nbr iso 4287    rugosidade - método do perfil - termos, definições e par...Abnt nbr iso 4287    rugosidade - método do perfil - termos, definições e par...
Abnt nbr iso 4287 rugosidade - método do perfil - termos, definições e par...
 
Deformação por torção e dimensionamento de eixos tubulares final 2pptx
Deformação por torção e dimensionamento de eixos     tubulares  final 2pptxDeformação por torção e dimensionamento de eixos     tubulares  final 2pptx
Deformação por torção e dimensionamento de eixos tubulares final 2pptx
 
Nbr 5875 parafusos porcas e acessorios
Nbr 5875 parafusos porcas e acessoriosNbr 5875 parafusos porcas e acessorios
Nbr 5875 parafusos porcas e acessorios
 
German vocabulary list
German vocabulary listGerman vocabulary list
German vocabulary list
 
Informacoes tecnicas
Informacoes tecnicasInformacoes tecnicas
Informacoes tecnicas
 
Understanding printed board assembly using simulation with design of experime...
Understanding printed board assembly using simulation with design of experime...Understanding printed board assembly using simulation with design of experime...
Understanding printed board assembly using simulation with design of experime...
 
Ms plate
Ms plateMs plate
Ms plate
 
Tratamento térmico em juntas soldadas
Tratamento térmico em juntas soldadasTratamento térmico em juntas soldadas
Tratamento térmico em juntas soldadas
 
Livro Manual de Perícias
Livro Manual de PeríciasLivro Manual de Perícias
Livro Manual de Perícias
 
Slab column and stair case
Slab column and stair caseSlab column and stair case
Slab column and stair case
 
Origem de defeitos superficiais em tarugos de aços ao carbono e de baixa liga
Origem de defeitos superficiais em tarugos de aços ao carbono e de baixa ligaOrigem de defeitos superficiais em tarugos de aços ao carbono e de baixa liga
Origem de defeitos superficiais em tarugos de aços ao carbono e de baixa liga
 
Nbr 6120 cargas para o cálculo de estruturas de edificações
Nbr 6120   cargas para o cálculo de estruturas de edificaçõesNbr 6120   cargas para o cálculo de estruturas de edificações
Nbr 6120 cargas para o cálculo de estruturas de edificações
 
FRP Electrical Distribution and Transmission Structures
FRP Electrical Distribution and Transmission Structures FRP Electrical Distribution and Transmission Structures
FRP Electrical Distribution and Transmission Structures
 

Ähnlich wie เล่าขานบ้านคำชะอี

ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย0857226950bb
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
5.2.2นครเงินยาง
5.2.2นครเงินยาง5.2.2นครเงินยาง
5.2.2นครเงินยางkuraek1530
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้Nongkran_Jarurnphong
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้Nongkran_Jarurnphong
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดbawtho
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านkrunoony
 
แหล่ให้ทานช้าง
แหล่ให้ทานช้างแหล่ให้ทานช้าง
แหล่ให้ทานช้างTongsamut vorasan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1rever39
 

Ähnlich wie เล่าขานบ้านคำชะอี (20)

ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
ชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วยชาวกูย,กวย,ส่วย
ชาวกูย,กวย,ส่วย
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
5.2.2นครเงินยาง
5.2.2นครเงินยาง5.2.2นครเงินยาง
5.2.2นครเงินยาง
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
 
7
77
7
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
File
FileFile
File
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวด
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่านรู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
รู้จักคนในชุมชนเมืองน่าน
 
แหล่ให้ทานช้าง
แหล่ให้ทานช้างแหล่ให้ทานช้าง
แหล่ให้ทานช้าง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 

Mehr von กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์

Mehr von กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์ (17)

How2write-email
How2write-emailHow2write-email
How2write-email
 
Describing people.
Describing people.Describing people.
Describing people.
 
Tenses table1
Tenses table1Tenses table1
Tenses table1
 
ภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตประจำวัน1
ภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตประจำวัน1ภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตประจำวัน1
ภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตประจำวัน1
 
โครงสร้างทางไวยากรณ์
โครงสร้างทางไวยากรณ์โครงสร้างทางไวยากรณ์
โครงสร้างทางไวยากรณ์
 
practice with pronouns
practice with pronounspractice with pronouns
practice with pronouns
 
Tam narn-pa-ya-nark-2
Tam narn-pa-ya-nark-2Tam narn-pa-ya-nark-2
Tam narn-pa-ya-nark-2
 
Identifying nouns
Identifying nounsIdentifying nouns
Identifying nouns
 
Esop story
Esop storyEsop story
Esop story
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
English text ms_plai
English text ms_plaiEnglish text ms_plai
English text ms_plai
 
Smisการย้ายเข้า
Smisการย้ายเข้าSmisการย้ายเข้า
Smisการย้ายเข้า
 
Smisการเพิ่มนักเรียน
Smisการเพิ่มนักเรียนSmisการเพิ่มนักเรียน
Smisการเพิ่มนักเรียน
 
Smisการจำหน่ายนักเรียนรายบุคคล
Smisการจำหน่ายนักเรียนรายบุคคลSmisการจำหน่ายนักเรียนรายบุคคล
Smisการจำหน่ายนักเรียนรายบุคคล
 
Smisการจบการเลื่อนชั้น
Smisการจบการเลื่อนชั้นSmisการจบการเลื่อนชั้น
Smisการจบการเลื่อนชั้น
 
Smisกรอกน้ำหนักส่วนสูง
Smisกรอกน้ำหนักส่วนสูงSmisกรอกน้ำหนักส่วนสูง
Smisกรอกน้ำหนักส่วนสูง
 
Smisการย้ายออก
Smisการย้ายออกSmisการย้ายออก
Smisการย้ายออก
 

เล่าขานบ้านคำชะอี

  • 1. 1 เลาขานเรื่องบานคําชะอี โดยณรงค อุปญญ กอนเขามาอยู ตรงที่เปนหมูบานคําชะอี กอนหนาที่จะกําเนิดเกิดเปนหมูบานนัน ไดเปนสวนหนึ่งของ ้ บริเวณดงหนาปาทึบอันกวางใหญ ซึ่งเปนดงที่อดมสมบูรณมากและมีเนินเขาหลายลูกที่เปนตน ุ กําเนิดของลําหวยหลายสายกระจัดกระจายอยู มีลําหวยทีใหญและยาวสุดที่สดในบริเวณนี้ ตนของ ่ ุ ลําหวยสายนี้อยูที่ภูสีฐานอําเภอคําชะอี ไหลผานอําเภอหนองสูง อําเภอนิคมคําสรอย มีลําหวยหลาย สายที่เกิดจากเนินเขาหลายลูกทีกลาวแลวไหลมาสมทบทําใหเปนลําหวยสายใหญ แลวไปตกแมน้ํา ่ โขงทีอําเภอดอนตาล ลําหวยสายใหญสายนี้เรียกวา "หวยบังอี่" ดงหนาปาทึบทังสองฟากฝงลํา ่ ้ หวยบังอี่นี้จึงเรียกวา "ดงบังอี" เปนดงทีกวางใหญกินเนือที่อําเภอคําชะอี อําเภอหนองสูง อําเภอ ่ ่ ้ นิคมคําสรอยและอําเภอดอนตาล ทังหมดนี้อยูในเขตจังหวัดมุกดาหาร ้ บรรพบุรุษเดิม ผูไทยเราเคยมีประวัติเลาขานถึงความยิงใหญตงแตสมัย “อาณาจักรนานเจา” เรื่อยลง ่ ั้ มาถึง “สิบสองเจาไทย” หรือ “สิบสองจุไทย” ที่จะกลาวตอไปนี้จะกลาวเฉพาะเกี่ยวกับบรรพบุรุษ ของผูไทยชาวบานคําชะอีพอสังเขปเทานัน ้ บรรพบุรุษของชาวบานคําชะอี ตําบลคําชะอี อําเภอคําชะอี จังหวัดมุกดาหาร เปนชนเผา ผูไทยดํา เทาที่ผูรูคนพบไดบันทึกไววาเดิมผูไทยเผานี้มนิวาสถานอยูที่ เมืองแถน หรือ เมืองแถง   ี (หรือ เมืองนานอยออยหนู หรือ เมืองน้ํานอยออยหนู) เมืองนี้ในปจจุบันคือ เมืองเดียนเบียนฟู ใน ประเทศเวียดนาม ที่เรียกวา ผูไทยดํา นั้น ไมใชวาผูไทยเผานี้มผิวสีดํา เพราะผิวผูไทยนันออกจะดําแดง ถึง ี ้ ขาวแดง แตเรียกตามสีของเสื้อผาเครื่องแตงกายที่ผไทยเผานี้ชอบใชสดํา เพราะในสมัยนันชนเผานี้ ู ี ้ ไดรูจักกรรมวิธีสกัดสีจากพืชชนิดหนึ่ง เมือสกัดออกมาแลวจะไดสีเปนสีคราม ตอมาพืชชนิดนี้จึง ่ เรียกวา "ตนคราม" กรรมวิธีที่สกัดเอาสีจากตนครามนี้มขบวนการที่ซับซอนพอสมควร ซึ่ง ี นับเปนภูมปญญาอันสูงสงของบรรพบุรษสมัยนัน ที่ยงไมรูจักคําวา "เทคโนโลจี" เลย เมื่อนําผา ิ ุ ้ ั (ที่ผลิตดวยมือและมีขบวนการที่ซับซอนเชนกัน) มายอมกับสีที่สกัดไดนเี้ สร็จแลวจะไดผาสีดํา คราม ซึ่งในความรูสึกของผูไทยเผานี้วาเปนสีที่สวยงามมาก จึงนิยมนําผาสีดําครามนี้มาตัดเย็บ (ดวยมือ) เปนเสื้อ กางเกง ผาถุง หรือแมกระทั่งเครื่องนุงหมอื่นๆ เสื้อผาสีดําครามนี้จะเปนทีนิยม  ่ ใสเปนประจําไมวาจะไปทํางาน (ทํานา ทําไร ทําสวน) หรือไปงานบุญประเพณี หรืองานพิธีตางๆ
  • 2. 2 การแตงกายดวยเสือผาสีดํานี้จึงเปนเอกลักษณอยางหนึ่งของผูไทยเผานี้ จึงไดรับขนานนามวา "ผู ้  ไทยดํา" สวนผูไทยอีกเผาหนึงอยูที่ "เมืองไล" ซึ่งเปนเมืองคูแฝดกับเมืองแถน เมืองนี้อยูตอน ่  เหนือของเมืองแถนขึนไปใกลกับดินแดนจีน คงจะยอมผาสีครามไดเชนเดียวกัน แตเนืองจากอยู ้ ่ ใกลจีน จึงมีรสนิยมไปทางจีน ซึ่งจีนนั้นชอบนุงขาวหมขาว ผูไทยเมืองไลนี้จึงนุงชอบขาวหมขาว เหมือนชาวจีน เลยไดขนานนามวา "ผูไทยขาว" อยูมาเมืองแถนเกิดทุพภิกขภัย คือภัยจากธรรมชาติ ฟาฝนไมตกตองตามฤดูกาล ขาวยาก หมากแพง เจาเมืองไมสามารถแกปญหาได หนําซ้ําเจาเมืองอาจไปขมเหงรังแกชาวเมืองก็เปนได  ชาวเมืองแถนกลุมใหญกลุมหนึงจึงอพยพหนีลงมาอาศัยอยูกับเจาอนุรุธราชเจาเมืองเวียงจันทน ่ เจาเมืองเวียงจันทจึงใหผไทยกลุมนีไปอยูที่ "เมืองวัง" และตอมาไดขยับขยายไปเปนอีก ู ้ หลายเมือง เชน เมืองบก เมืองผาบัง เมืองอางคํา เมืองพิน เมืองนอง เมืองเซโปน เมืองคําออ เมืองเซียงฮม เมืองพาน เปนตน (เมืองเหลานี้อยูในแขวงสะหวันนะเขด ประเทศลาว)  บรรพบุรุษของชาวบานคําชะอีเปนชาวเมืองวัง ถูกกวาดตอน ประเทศลาวไดตกเปนเมืองขึ้นของสยามใยสมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2369 เจาอนุวงษเวียงจันทนเปนกบฏตอกรุงเทพ รัชกาลที่ 3 จึงโปรดฯ ใหกองทัพ สยามขึ้นไปปราบไดสําเร็จและไดกวาดตอนผูคน รวมทังผูไทยเมืองตางๆ เขามาอยูทางฝงขวาของ ้   แมน้ําโขงดวย ผูไทยทีถูกกวาดตอนมานี้บางกลุมขออาศัยอยูใกลแมม้ําโขงเพราะใกลกับบานเกา  ่ เมืองเกาทีเ่ คยอยูเดิม เชน ที่จังหวัดกาฬสินธุ จังหวัดสกลนคร จังหวัดนครพนม จังหวัด มุกดาหาร เปนตน บางกลุมก็ใหไปอยูใกลๆ กับกรุงเทพฯ เชนที่อําเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ฯลฯ ยังมีชาวผูไทยอีกเปนจํานวนมากที่ทิ้งบานทิงเมืองหลบหนีภัยสงครามเขาไปอยูปา ซึ่ง  ้  กองทัพสยามไมสามารถกวาดตอนลงมาได ครั้นบานเมืองสงบจึงกลับออกมาตังบานตั้งเมืองอีก ้ ในปจจุบน ชาวผูไทยทีอยูทางฝงลาวจึงมีอยูมากมายหลายเมือง ั  ่  ผูไทยเมืองวังและเมืองคําออกลุมหนึงทีถูกกวาดตอนมา จํานวน 1,658 คน มี "ทาวสิงห" ่ ่ เจาเมืองคําออเปนผูนําไดขอเขาไปอยูกับ พระจันทรสุริยวงค (พรหม) เจาเมืองมุกดาหารคนที่ 3  (พ.ศ. 2384 – 2405) สันนิษฐานวา เจาเมืองมุกดาหารใหผูไทยกลุมนี้ไปอยูที่เมืองใหม ปจจุบันคือ บริเวณตั้งแตสแยกไฟแดงขึ้นไปจนถึงสถานีขนสง พรอมทั้งที่ริมถนนพิทักษพนมเขตดานทิศ ี่ เหนือตั้งแตสแยกไฟแดงจนเกือบถึงทางโคงเมืองใหม คือตรงขามกับโรงแรมมุกธาราขึ้นไปทาง ี่ เหนือเกือบถึงชุมสายโทรศัพท ตอนนั้นเปน “ปาไมกุง ไมจิก ไมฮัง” ไดสัมภาษณ นาย
  • 3. 3 ประดิษฐ สลางสิงห อายุ 63 ป เมือวันที่ 5 ต.ค. 2552 ไดยืนยันวา มีพนองชาวบานคําบกรุนปู ่ ี่ (ซึ่งเปนผูไทยเชื้อสายเดียวกับบานคําชะอี) กลุมหนึ่ง ไดยอนกลับขึ้นไปอยูบริเวณดังกลาวนี้เมื่อ   100 ปกวามานี้ เพราะคงจะเห็นวาเปนทีบรรพบุรุษเคยอยู และขณะนั้นกลายเปนที่รกรางวางเปลา ่ ไมมีเจาของ เมือขึ้นไปอยูแลวก็แผวถางเปนทีทํามาหากินและจับจองเปนของตน จนไดเปน ่  ่ เจาของที่ดนบริเวณนีอยางกวางขวาง อยูมาความเจริญเขามาถึงก็ไดแบงขายใหนักธุรกิจไปเสียเปน ิ ้ สวนมาก โดยเฉพาะที่ตดกับถนนใหญ ในปจจุบันนี้ พี่นองของนายประดิษฐรนลูกรุนหลานก็ ิ ุ  ยังอยูที่นี่ และไปมาหาสูกนเปนระจํา และมีนามสกุล “สลางสิงห” ยกเวนผูหญิงทีแตงงานไปแลว ั ่ สวนภาษาพูดนันเปนลาวไปแลว เพราะถูกลาวกลืน . ้ หาที่อยูใหม อยูกบเจาเมืองมุกดาหารชั่วระยะหนึ่งก็ขออนุญาตจากเจาเมืองมุกดาหารออกสํารวจหา ั ทําเลที่จะตั้งหลักแหลงแหงใหม เมื่อไดรบอนุญาตแลวจึงใหคณะออกสํารวจเรื่อยมาทางทิศ ั ตะวันตกของเมืองมุกดาหาร โดยใหทาวสิงหเจาเมืองคําออเปนผูนํา (เมื่อรัชกาลที่ 3 โปรดเกลาใหตั้ง หนองสูงเปน "เมืองหนองสูง" ทาวสิงหเจาเมืองคําออผูนก็ไดรับโปรดเกลาใหเปน "พระไกรสร ี้ ราช" เจาเมืองหนองสูงคนแรก) ตอนแรกไดมาพักอยูทแหงหนึ่ง (อยูระหวางบานตากแดดและบาน ี่ หนองเอียนทุง) แตเห็นวาบริเวณดังกลาว "เปนโคก เปนแหล เปนแฮ เปนทราย เอ็ดโสนมิพอได ่  เอ็ดไฮมิพอกิน" (เปนโคก เปนแหล เปนแห(ลูกรัง) เปนทราย ทําสวนไมพอได ทําไรไมพอกิน) ผู ๋ ไทยไมชอบอยู บริเวณทีผูไทยชอบอยูคือใกลภูเขา (มองเห็นภูเขาแลวรูสึกสบายใจ) ใกลสายน้ํา ลํา ่ หวย “ขึ้นบนภูใหไดกินกระรอก กระแต ลงในน้ําใหไดกนปลากังปูหน” จึงไดสํารวจตอเรื่อยลงมา ิ ้ ิ ทางทิศใตเขาสูดงบังอี่ซึ่งเปนดงหนาปาทึบ จนมาเห็นบริเวณแหงหนึงมีสายน้ําเล็กๆ และบริเวณ ่ รอบๆ ก็อดมสมบูรณชุมชื้นเหมาะแกการเพาะปลูก ชาวเมืองวังจึงตัดสินใจที่จะพักอยูที่นเี่ พื่อ ุ สํารวจที่ทางตอไป สวนชาวเมืองคําออนันไดเดินสํารวจตอลงไปทางทิศใตจนไดที่เหมาะสมแหง ้ หนึ่งซึ่งหางจากลงไปประมาณ 6 กิโลเมตร จึงพักและจับจองไวเพื่อที่จะตั้งเปนหลักแหลง ซึ่งใน ปจจุบันนี้คอ บานหนองสูง ื ที่มาของชื่อหมูบาน  สาเหตุที่ตงชื่อของหมูบานวา "คําชะอี" นั้นไดมีผเู ลาใหฟง ซึ่งมีหลายความเห็น ั้  ดังตอไปนี้ 1. สายน้ําตรงที่ชาวเมืองวังพักอยูตอนแรกนีเ้ ปนสายน้ําซับ ซึ่งผูไทยเรียกวา "น้ําคํา" มี  น้ําใสเย็นไหลตลอดป ในปาบริเวณรอบๆ มีจกจั่นชนิดหนึงจํานวนเรือนหมื่นอาศัยอยู เสียงมันรอง ั ่
  • 4. 4 ที่หูผูไทยไดยนเปนเสียง "อี ๆ ๆ ๆ..." ลากเสียงยาวตอกัน ผูไทยจึงเรียกวา "จักจั่นแมงอี" ตามเสียง ิ รองของมัน ตอนกลางวันมันจะพากันบินลงกินน้ําที่สายน้าคํานี้ทุกวันจนสิ้นอายุขัยของมัน จึง ํ เรียกสายน้ําแหงนี้วา "สายคําแมงอี" อยูมาก็เพี้ยนเปน "คําสระอี" แลวก็เพียนอีกเปน "คําชะอี" ้ ชื่อของหมูบานจึงเปน "บานคําแมงอี" แลวเปลี่ยนเปน "บานคําสระอี" สุดทายกลายมาเปน "บาน  คําชะอี" จนถึงปจจุบน ั 2. "คําชะอี" เปนชื่อของตนไมชนิดหนึงที่มีอยูทั่วไปในดงนี้ ดอกสีเหลือง มีกลินหอม ่ ่ เปลือกและแกนลําตนก็หอมเหมือนดอก ชาวบานมักนิยมนํามาอบเสื้อผาทําใหเสือผามีกลิ่นหอม ้ ดวย จึงไดเอานามของตนไมนี้มาเปนชื่อของหมูบาน ตนไมชนิดนีไดสญพันธไปนานแลว  ้ ู 3. ตอนผูเ ขียนเปนเด็ก คุณแมเคยเลาใหฟง และเมือโตขึนมาก็มีคุณลุงฮัน (นายโจม คน ่ ้ ซื่อ คุณพอของนายสันดร คนซื่อ) ไดเลาใหฟงอีกมีเนือความตองกันวา ตอนแรกนั้นหมูบานนี้มี ้  ชื่อวา "บานดงหมากบา ปาเครือเขือง" เพราะรอบๆหมูบานนั้นเปนปารกมีเครือเถาสะบา และเครือ  เถาเขืองมากมาย วันหนึงผูชายชื่อวา "ตาคํา" ไดสะพายของเดินเขาปา อาจจะหาของปาอยางใด ่ อยางหนึ่ง เถาสะบาก็เกาะเกียวเอาของที่สะพายนั้น แกตองหยุดปลดออก อีกไมนานก็ไปติดเถา ่ เขือง ตองหยุดปลดอีก ทําใหการเดินปาเปนไปอยางลําบากทุลักทุเลเพราะเถาสะบาและเถาเขือง เหตุการณทถูกเถาสะบาและเถาเขืองมาเกี่ยวติดของบอยเขาๆ แกก็โมโหจนเหลืออด ก็เลย "ปอย" ี่ (สาป) ใหเสือมาคาบเอาของไปกิน อยูมาตาคําไดวางของไว ตัวเองไปธุระ (คิดวาอาจจะไปถาย ทุกข) จึงไดวางของไว พอกลับมาหาของปรากฏวาของไดหายไปแลว เห็นแตรอยเทาเสือตรงที่วาง ของไวนั้น ก็เลยแปลกใจวาทําไมเพียงแคคําปอยนีเ้ สือก็คาบเอาไปจริงๆ แกก็เลยครวญกับตัวเอง ดวยความแปลกใจวา "อี๋ เนาะ เพิ้งเดเนาะ อี๋ อี๋ ๆ ๆ ๆ ๆ" (เอ เปนจริงแทนะ เอ เอ ๆ ๆ ๆ) อยูมาคน ก็เรียกดงนั้นวา "ดงตาคําอี" จึงไดเอาชื่อดงนี้มาเปนชื่อหมูบาน "คําชะอี" สามความเห็นนี้ขอ ฝากทานผูอานพิจารณา นอกจากนี้ยงมีผูเชือวา ชือบานคําชะอี เอามาจากชือ บานคําสะอี ที่เมืองพินประเทศลาว ั ่ ่ ่ และเชื่อวาผูไทยบานคําชะอีเคยอยูทนั่น เมือถูกกวาดตอนอพยพมาจึงเอานามบานเดิมมาตังชื่อบาน ี่ ่ ้ ใหมแหงนี้ เรืองนี้ ผูเขียนไดไปถึงบานคําสะอี ครั้งแรกเมือวันที่ 23 กุมภาพันธ 2551 ได ่ ่ สัมภาษณผูเฒาสามคน คือลุงเซียงสา อินทิลาด (สะกดตามภาษาลาว) อายุ 70 ป ลุงสะหวาง ไซ ยะจัก อายุ 73 ป และปามอน ไซยะจัก เมียลุงสะหวาง อายุ 72 ป ไดความวา บรรพบุรุษมาจาก บานหวยสาน บานเฟอง เมืองเซโปน อพยพมาอยูกับชาวบานนาแซง (ซึ่งติดกับบานคําสะอี) และ  ไดมาตังบานคําสะอีขนเมือ ป ค.ศ. 1933 (ตรงกับ พ.ศ. 2476) อายุบาน 76 ป แตบานคําชะอีเรา ้ ึ้ ่ อายุ ประมาณ 160 กวาป เปนอันเชื่อไดวา ชื่อ “บานคําชะอี” ไมไดเอาชือมาจาก “บานคําสะอี” ่ เมืองพิน ประเทศลาวแนนอน และภาษาพูดของชาวบานคําสะอีเปนภาษาผูไทยอยู แตสําเนียงไม
  • 5. 5 เหมือนผูไทยบานคําชะอี ขณะที่สัมภาษณ ผูเ ฒาทั้งสามยังไดทกผูเ ขียนวา “ฟงเสงเจาแลว คือเสง ั ไทเมิงวัง” (ฟงเสียงสําเนียงพูดเจาแลว เหมือนเสียงชาวเมืองวัง) ที่พักตอนแรก บริเวณที่พักตอนแรกนั้นคือ “ดานตึง” อยูที่ริมสายน้ําคําดานตะวันออกนั้น (ตั้งแตหนา เมรุออกมาจนถึงถนนใหญและขามฟากไปทางทิศตะวันออก) เปนลานหินเรียบสลับกับที่โลง เมือ ่ เดินย่ําลงไปที่ลานหินจะมีเสียงดัง "ตึง ๆ" ทุกครั้งที่เทาย่ําลง เปนทีนาอัศจรรย บรรพบุรษเชือวามี ่ ุ ่ โพลงหรือถ้ําอยูใตลานหิน เมือย่ําเทาลงหรือมีวัตถุตกกระทบจึงมีเสียงกองดังตึงๆ ดังกลาวแลว จึง  ่ ไดขนานนามบริเวณนี้วา "ดานตึง" มาจนถึงปจจุบัน แตในปจจุบันนีเ้ สียงกองดังตึงๆ ไมไดยินแลวเพราะมีการเอาดินมาถมใหสูงขึ้นเพือปรับ ่ บริเวณแหงนี้ใหเหมาะแกการใชสอย เชน ทําเปนที่สรางเมรุ ศาลาพักญาติ ลานจอดรถ เปนตน ผูนํา จากหนังสือ "เมืองมุกดาหาร" ของสุรจิต จันทรสาขา และหนังสือ "เลาเรื่องเมืองหนอง สูง" ของพูลสวัสดิ์ อาจวิชัย พอจะสันนิษฐานไดวาผูไทยเมืองวังระดับผูนําทีอพยพมาพรอมกับ ่ ทาวสิงหเจาเมืองคําออในครั้งนั้น มี ทาวสุวรรณะ หรือสุวรรณโคตร (นาจะเปนตนสกุล "สุวรรณ ไตรย" ) พระศรีวังคะฮาต (นาจะเปนตนสกุล "วังคะฮาต") ทาวอุปคุต (จะเปนตนสกุลใดไม ทราบ) พรอมทังญาติพี่นอง ลูกนอง และริวารอีกทีไมปรากฏชื่อ เชื่อวามาเปนคณะมีมากกวา 20 ้  ่ คน และตองมีอาวุธครบมือ จะมานอยคนไมไดเพราะสมัยนั้นดงบังอี่ยงเปนดงหนาปาทึบ ดงชางปา ั เสือ ภัยอันตรายมีอยูรอบดาน สํารวจพื้นที่ พอไดพักและสรางเพิงที่พกเปนที่เก็บ "ขาวไถ ขาวถง กระบอกพริก ปลาแดก เกลือ เครื่อง ั นอน" ตางๆ แลว ชาวเมืองวังกลุมนี้ก็พากันแบงเปนคณะแยกทางออกสํารวจปารอบๆดานตึงนัน ้ ทุกทิศทางจากระยะใกลแลวก็ไกลออกไปเรือยๆ ใครชอบตรงใดทีเ่ ปนที่ราบเหมาะที่จะเปนนาก็ ่ หมายจับจองเอาตามใจชอบ เพราะสมัยนั้นคนมีนอย ที่ดนที่เปนดงหนาปามีมากมายและไมมีการ ิ หวงหามแตอยางใด แตละคนก็ไดที่ดนที่ตัวเองสํารวจและจับจองกันอยางกวางขวาง บางคนเอา ิ ทางทิศคะวันออก (นาหลวง) บางคนเอาทางทิศใต (นาขี้หมู นาหนองแจง) บางคนก็เอาทางทิศ ตะวันตก เปนตน และเมือพากันพิจารณาสถานที่ทั่วไปแลวเห็นวาเหมาะสมมากที่จะตั้งหลักแหลง ่ ที่นี่ กลาวคือ มีที่ราบกวางขวางอยูทามกลางภูหลายลูกออมถึงสามดาน ทางทิศตะวันออกมีภู (ตอมา
  • 6. 6 เรียกภูนาหลวง) ทอดยาวตอลงไปทางทิศใตถงภูผากูด (ตอนนั้นยังไมตงชือ) ไกลลงไปทางดานทิศ ึ ั้ ่ ใตถงบริเวณที่ทาวสิงหและชาวเมืองคําออสํารวจ (เชือวาผูไทยพีนองสองเมืองนี้ตองติดตอกัน ึ  ่  ่  ตลอด) ก็มีแนวภูทอดยาวจากทิศตะออกไปทิศตะวันตก (ภูจอกอ) ทิศตะวันตกก็มีภู (ทางบานแกง ชางเนียม) สวนสายน้ําลําหวยก็มีทางทิศตะวันตกมีสายหวยยาวสองสาย (หวยคันแทใหญ และหวย คันแทนอย) ใกลๆ ที่จะตั้งเปนบานก็มีสายหวยสั้นๆ สองสาย คือทางตะวันออกก็เปนสายหวยที่ตอ จากสายคําแมงอีลงไปตกหวยคันแทใหญ (ปจจุบันคือหวยสายนา) ทางตะวันตกก็มอีกสายหนึ่ง ี ไหลตกหวยคันแทใหญเชนเดียวกัน (ปจจุบนคือหวยนอยซึ่งอยูตดหมูบานทางทิศตะวันตก) สรุป ั ิ แลวก็คอ "ขึ้นภูก็ไดกนกระรอก กระแต ลงน้ําก็ไดกินปลากั้งปูหน" จึงตกลงใจแนนอนวาจะพากัน ื ิ ิ ตั้งหลักปกฐานกันทีนี่ ประกอบกับทีไดประสานไปยังพีนองเมืองคําออก็ทราบวาจะตั้งหลักแหลงที่ ่ ่ ่  นั่นเหมือนกัน (บานหนองสูง) เห็นวาดีแลวพี่นองสองเมืองที่เคยฝาทุกขฝายากมาดวยกันจะไดอยู  ใกลกัน จะไดไปมาหาสูและชวยเหลือซึ่งกันและกัน (ตอมาก็เปนจริงตามนั้น) เริ่มลงมือ เมื่อหักลางถางพงลงเปนสวนและตั้งใจจะตั้งหลักแหลงที่นแลว ก็เขาไปแจงเจาเมืองทราบ ี่ และอพยพครอบครัวตามมาแลวเขาไปอยูประจําที่สวนของตน "เครื่องปลูก ของฝง" จากการทํา สวนตอนแรกก็จะปลูก "ขาวไร" เปนหลัก ที่รองลงมาก็มฝาย คราม ฟกทอง แตงชนิดตางๆ พริก ี เปนตน คือคิดดูวาสิ่งจําเปนตอชีวิตในรอบปนั้นมีอะไร ก็ทําการหาสะสมเพื่อแกการที่จะตั้งเปน  หลักแหลงยาวนานตอไป สวนปู ปลา ตามลําหวยตางๆ มีมากมาย "เปนชั้น เปนหลืบ" สัตวปา ทั้ง เล็กและใหญธรรมชาติสรรสรางไวใหอยางเหลือเฟอ พอปที่ 2 - 3 - 4 ตอไมเล็ก ตอไมใหญ บางสวนก็เริ่มผุพง จึงไดเริ่มที่จะปรับเปนนาและขยายใหเปนนาออกไปเรื่อยๆ ั ประชากรเพิ่มเริ่มเปนชุมชน สวนพี่นองที่อยูเมืองวังที่หนีหลบเรนไปอยูตามปาเพราะศึกสงครามนั้น เมื่อบานเมืองสงบ แลวก็ไดกลับเขามาอยูเมืองวังอีก และไดสืบทราบวา พี่นองที่ถูกกวาดตอนไปอยูทางฝงขวาของ   แมน้ําโขงเมือคราวสงครามนั้น กลุมหนึ่งอยูทบานคําชะอี เมืองมุกดาหาร ดวยความรัก คิดถึงและ ่ ี่ หวงไยตอญาติพี่นอง จึงไดเดินทางมาเยียมเยียน (สมัยนันไปงายมางายเพราะลาวยังเปนของไทย  ่ ้ อยู จะยากแตตองนั่งเรือพายขามแมน้ําโขงและตองเดินทางดวยเทาเปนเวลาหลายคืนเพราะจาก บานคําชะอีไปเมืองวังระยะทางประมาณ 300 กิโลเมตร) ไดเห็นสภาพพื้นที่เปนที่ราบกวางขวาง ดินดี และอุดมสมบูรณ จึงกลับไปเมืองวังชักชวนญาติพนองไดหลายคนอพยพตามมาอยูดวย และ ี่ 
  • 7. 7 หลายปตอมา ลูกหลานไดเกิดมาจํานวนคนก็เพิ่มขึ้นกลายเปนบานเล็กๆ เปนชุมชนยอมๆ กระจาย กันอยู เชน บานคําสระอี เอาชือตามสายคําแมงอี ตอมาก็เปน บานคําชะอี เปนบานที่ใหญกวาเพื่อน ่ ปจจุบันก็คอหมูที่ 4 และ 14 ื บานโพนแดง บานนีอยูตดกับหวยคันแทใหญตรงทีเ่ ปนหวยคดหักศอก ตรงที่คดหักศอก ้ ิ นี้เปนวังน้ําลึก น้ําใสจนดูเขียวครึ้ม เคยมีสตวประหลาดสีเทาคอนขางดําโผลขึ้นมาเหนือน้ํา ตรง ั ลําคอมีสีขาวพาดขวางรอบคอ ผูไทยเรียกวา "คอกาน" วังนี้จึงไดชอวา "วังคอกาน" ใตวงคอ ื้ ั กานลงไปเปนแกงหิน (แกงหิน) จึงทําใหวงคอกานเปนวังน้ําลึก "น้ําเจิ่งนอง" อยูตลอดป แกงหิน ั  ตรงนี้จึงเรียกวา "แกงวังนอง" บานโพนแดงตั้งอยูทางฝงขวาของแกงวังนอง (การเรียกฝงของหวย  หรือฝงแมน้ําวาฝงไหนเปนฝงซาย ฝงไหนเปนฝงขวานั้น มีขอตกลงเปนสากลวา ใหหนหนาไปตาม     ั ทางน้ําไหล ฝงทีอยูทางขวามือเรียกวาฝงขวา ฝงที่อยูทางซายมือเรียกวาฝงซาย) มีเนื้อที่ประมาณ ่    ตั้งแตทดินคุณอินทา วังคะฮาต ที่ดนของคุณครูบญเพ็ง สุวรรณไตรย แผขึ้นทางทิศเหนือรวมเอา ี่ ิ ุ ที่เปน "สํานักสงฆแกงวังนอง" หรือที่เรียกกันติดปากวา "วัดแกงวงนอง" ดวย บานฟากหวย อยูฝงชวาของหวยคันแทใหญเหนือบานโพนแดงขึ้นมาประมาณ 900 เมตร  ตามลําหวย บานนี้อยูตรงขามกับโรงสีใหญเจริญทรัพย  บานตาดโตน อยูฝงขวาของหวยคันแทใหญเชนเดียวกัน แตอยูเหนือบานฟากหวยขึ้นไป  ประมาณ 800 เมตร ตามลําหวย บานตาดโตนนี้จะใหญเปนที่สองรองจากบานคําชะอี เพราะมีวัด วาอาราม บานหนองไหล อยูติดสายหนองไหล สายหนองไหลนี้อยูทางตะวันตกของนาหนองแจง   ไหลลงสูหวยคันแทนอย บานหนองไหลในปจจุบันคือบริเวณแถวนาของนายคลาย วังคะฮาต (พอตาของคุณครูเวลา คนซื่อ) และบริเวณขางเคียง อยูมา บานโพนแดง บานฟากหวย บานตาดโตน บานหนองไหล ก็รางเพราะอพยพเขามา อยูบานใหญ คือบานคําชะอี เพราะที่เคยอยูเดิมนันเห็นวามันเหมาะที่จะเปนนามากวา และก็มี ้ หลายครอบครัวอพยพไปอยูถิ่นอื่น จังหวัดอืน  ่ ชุมชนขยาย บานคําชะอีไดพัฒนาขึ้นกลายเปนบานใหญขึ้นมาเรือยๆ พ.ศ. 2450 ไดรบยกฐานะเปน ่ ั ตําบลคําชะอีขึ้นกับอําเภอมุกดาหาร มีกานันปกครองเรื่อยมาดังนี:- ํ ้ 1. เจาพรหมรินทร (นายตอน สุวรรณไตรย) พ.ศ. 2450 – 2452 2. หมื่นบริครุฑ (นายสุวรรณะ วังคะฮาต) พ.ศ. 2452 – 2462 3. ขุนคําชะอีบํารุง (นายเนียม สุวรรณไตรย) พ.ศ. 2462 – 2467
  • 8. 8 4. ขุนนิคมคําชะอี (นายนารี วังคะฮาต) พ.ศ. 2467 – 2482 5. นายฟอง อุปญญ พ.ศ. 2482 – 2487 6. นายคลอย วังคะฮาต พ.ศ. 2487 – 2503 7. นายตรอง อุปญญ  พ.ศ. 2503 – 2514 8. นายจําลอง (เหลิน) อุปญญ พ.ศ. 2514 – 2524 9. นายแถม แสนโสม พ.ศ. 2524 – 2540 10. นายเหมย สุวรรณไตรย พ.ศ. 2540 – 2543 11. นายสกล คนซื่อ พ.ศ. 2543 – 2546 12. ทองปาน หาญจริง พ.ศ. 2546 – 2549 13. นายบุญทวี สุวรรณไตรย พ.ศ. 2549 – ปจจุบัน จากลําดับที่ 1 – 9 สืบคนโดย อาจารยนําชัย อุปญญ  จะเห็นวากํานันแตละคนนั้นเปนคนบานคําชะอี ยกเวนเมือสิ้นวาระของกํานันคนที่ 10 ่ (นายสกล คนซือ) ชาวบานคําชะอีมีความแตกแยกดานความคิด เมือเลือกกํานันคนที่ 11 จึงไดคน ่ ่ บานหนองกะปาด (นายทองปาน หาญจริง) เมือสิ้นวาระแลวจึงเลือกกํานันคนที่ 12 ไดคนบานคํา ่ ชะอีอีกครั้งหนึ่ง ยกฐานะ สมัย นายฟอง อุปญญ เปนกํานันตําบลคําชะอีนั้นไดทําเรืองขอยกฐานะตําบลคําชะอี  ่ ขึ้นเปนกิงอําเภอคําชะอี และไดรบการยกฐานะเปน "กิงอําเภอคําชะอี" เมือวันที่ 5 มิถุนายน 2484 ่ ั ่ ่ ปลัดอําเภอผูเ ปนหัวหนากิ่ง (สมัยนันไมทราบวาเรียกตําแหนงวาอยางไร) คนแรก ชื่อ นายเจริญ ้ วดิศักดิ์ คนที่สองชื่อ นายอวน เคหาศัย (สิน สุวรรณไตรย. 4 ต.ค. 2552 : สัมมภาษณ) ที่ทําการ กิ่งอยูตรงตลาด อบ.ต. ตรงขามกับโรงเรียนคําชะอีพิทยาคมในปจจุบน สถานีตํารวจอยูบริเวณ ั ขางบานอาจารยบุษบา อุปญญ ดานทิศตะวันออกครอบคลุมบริเวณทีเ่ ปนศูนยพฒนาเด็กเล็กใน ั ปจจุบัน และกอนหนาที่จะตั้งสถานีตํารวจนั้น บริเวณนี้เคยเปนวัดปามากอน มีตนโพใหญอยู 3 ตน อยูขางบานอาจารยพิน สุวรรณไตรยหนึ่งตน อยูฟากทางดานทิศตะวันออกขางสวนอาจารยเพียร สุวรรณไตรยหนึ่งตน ใกลตนโพตนนี้กํานันฟองไดขดบอน้า เปนบอรูปทรงกระบอก ใหน้ําทีใสเย็น ุ ํ ่ รสดี ผนังบอกออิฐอยางแนนหนาเพื่อปองผนังบอพัง ขอบบอสูงประมาณหนึ่งเมตรกออิฐโบกปูน อยางดีและแนนหนา นับเปนบอน้ําที่ดีที่สดในหมูบานคําชะอี ชาวบานทั่วไปเรียกบอน้ําแหงนี้วา ุ  "น้ําสรางหลวง" แตเดียวนี้ถกถมไปแลวไมเหลือรองรอยอีกเลย ตนโพอีกตนหนึ่งอยูทางทิศเหนือ ๋ ู ขางบานคุณบังเกิด คนตรง ทั้งสามตนแผกิ่งกานสาขาเปนที่รมครึ้ม อยูมาวัดปาแหงนีไดยายมาอยู ้ แหงใหมเปนวัดโพธิ์ศรีแกว บริเวณนี้กเ็ ลยเปนวัดราง (ตอนผูเขียนยังเด็กกลัวผีบริเวณนีมาก) ้
  • 9. 9 เดี๋ยวนี้ตนโพทั้งสามตนไดแกตายและถูกโคนลงแลวเมือประมาณ 30 กวาปมานี่เอง คุกที่ขง ่ ั นักโทษนันอยูแถวบานนางเพียน วังคะฮาต (คุณแมของคุณครูสุรพล วังคะฮาต) ้  ้ วางผังหมูบาน  ครั้นเมื่อตําบลคําชะอีไดตั้งเปนกิ่งอําเภอแลวก็ไดจดผังหมูบานปรับถนน ตัดซอยไวอยาง ั  เปนสัดเปนสวน ในปจจุบันบานคําชะอีจึงเปนบานที่มีแผนผังของหมูบานเปนสัดเปนสวนเรียบรอย  กวาหมูบานอืนๆ ่ ตามแผนผังของหมูบาน (โดยสังเขป) ในปริญญานิพนธของอาจารยนําขัย อุปญญ ได  สืบคนไดวา ในสมัยนั้น หลวงบริหารชนบท (สาน สีหไตรย ) นายอําเภอมุกดาหาร ไดออกมา วางแผนเมืองรวมกันกับชาวบาน โดยไดตดถนนหนทางบานคําชะอีจากบานเหนือและใต และไดให ั ชื่อถนน ดังนี้ :- 1. ถนนคําชะอี ตั้งใหเปนเกียรติ์แกขุนคําชะอีบํารุง { (นายนารี วังคะฮาต ) (อันนี้นาจะผิด เพราะขุนคําชะอีบํารุง คือนายเนียม สุวรรณไตรย กํานันคนที่ 3 พ.ศ. 2462 – 2467 สวนนายนารี คือขุนนิคมคําชะอี โปรดดูรายชื่อ กํานัน : ณรงค) } 2. ถนนศรีมงคล ตังใหเปนเกียรติ์แก พระมหามงคล พระนักพัฒนาทองถินในสมัยนัน ้ ่ ้ 3. ถนนชลประทาน (ทางหลวงแผนดินปจจุบัน สายมุกดาหาร – กาฬสินธุ) (เชื่อวาตั้งใหเปนเกียรติ์แก พระชลประทาน หรือ "เจาพระชล" : ณรงค) 4. ซอยบริหารบํารุง เปนชื่อของ หลวงบริหารชนบท 5. ซอยผดุงนิคม ตังขือใหเปนเกียรติ์แก กํานันขุนนิคมคําชะอี (นายนารี วังคะฮาต) ้ ่ 6. ซอยอุดมราษฎร ตังใหเปนเกียรติ์แก ราษฎรที่ชวยกันพัฒนา ้ 7. ซอยสะอาดนิรันดร (ไมทราบที่มา) 8. ซอยคําจันทรดําริ เปนชือของครูใหญสมัยนั้น (นายวิชย คําจันทร เดิมชื่อ นายทองคํา ่ ั คําจันทร) อดีตครูใหญโรงเรียนบานคําชะอี 9. ซอยสีหไตรย เปนนามสกุลของหลวงบริหารชนบท หลวงบริหารชนบทเดิมชื่อ สาน สีหไตรย ดํารงตําแหนงนายอําเภอมุกดาหารคนที่ 4 ระหวาง พ.ศ. 2476 – 2482 แลวยายไปดํารงตําแหนงขาหลวงประจําจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดมหาสารคาม ( เมือง มุกดาหาร : สุรจิตต จันทรสาขา หนา 88) 10. ซอยวิไลวรรณ (เปนชือของผูใหญบาน) ่   (ไมปรากฏเห็นผูใหญบานหมูใดที่มีชื่อนี้ ใหดูการแยกหมูบาน : ณรงค )
  • 10. 10 11. ซอยอุปญญประดิษฐ ตั้งใหเปนเกียรติ์แกนายฟอง อุปญญ อยูทางทิศเหนือของ   หมูบานคําชะอี ในบริเวณกิงอําเภอคําชะอีเกา ปจจุบันทางไปบานนาปุง และแถวๆ ปาชาดานตึง ่  (ปจจุบันไมมีแลว : ณรงค) (ปริญญานิพนธ บทบาทของพอลามชาวผูไทยตําบลคําชะอี อําเภอคําชะอี จังหวัด มุกดาหาร : นําชัย อุปญญ 2538 หนา 60 - 61)  พ.ศ. 2551 ทาง อบ.ต. คําชะอี มีความประสงคอยากจะติดปายชื่อถนน-ซอย ตางๆ เพื่อให เปนสัดสวนที่ชดเจน โดยกําหนดใหถนนชลประทาน (ทางลาดยาง) เปนเสนแบงเขต ฟากถนนทาง ั ทิศตะวันออกใหเปนซอยจากหมายเลข 4 ถึง 11 (ยกเวนหมายเลข 2) สวนฟากถนนทางทิศ ตะวันตกใหเปนซอยหมายเลขตั้งแต 12 – 18 โดยใหนายณรงค อุปญญ (ผูเ ขียน) คิดตั้งชือซอยให  ่ โดยใหมีชอคลองจองกัน ดังนี้ :- ื่ 12. ซอยวังนองพิมาน เพราะเปนซอยเขาสํานักสงฆแกงวังนอง วัดหรือสํานักสงฆถอเปน ื หนทางสูความสงบ สูทางสวรรควิมาน จึงเอาคําวา "วิมาน" มาตอทายคําวา "วังนอง" โดยแผลง  "วิ" ใหเปน "พิ" ตามหลักภาษาไทย จึงใหชื่อเปนซอย "วังนองพิมาน" 13. ซอยประสานนฤมิต เมื่อ พ.ศ. 2533 ชาวนาหนองแจงและผูที่เห็นประโยชนไดรวมกัน ประสานดําเนินการสรางซอยนีขึ้น โดยมี กํานันแถม แสนโสม นายลําทอง วังคะฮาต และอีกหลาย ้ คนเปนผูนํา แลวพากันประสานขอบริจาคที่ดินจากชาวนาและขอบริจาคเงินเปนคาเครื่องจักรใน การกอสราง (รถไถ รถขนดิน ฯลฯ ) นายณรงค อุปญญ เปนผูดําเนินการดานเอกสารหนังสือ  ยินยอมบริจาคที่ดน และอีกหลายคนรวมกันประสานงานจนแทบจะกลาวไดวาทั้งหมูบานเลย ิ  ซอยนี้จึงไดมีขนมา ึ้ 14. ซอยกิจจําเริญ ตังใหเปนเกียรติ์แกนายลําทอง วังคะฮาต (หรือ "ลุงจําเริญ" เพราะ ้ ทานมีลกคนแรกชื่อ นายจําเริญ เจาของโรงสี "เจริญทรัพย" ในปจจุบัน ) ทานเปนนักธุรกิจมีหนา ู มีตา เปนที่เคารพนับถือแกบุคคลในซอยและบุคลทั่วไป 15. ซอยวังเพลินไพเราะ ตั้งใหเปนเกียรติ์แก นายโจม วัคะฮาต (หรือ "ตาเจียง" เพราะ ทานมีลกคนแรกชื่อ นางเจียง) ทานเปนผูมีความรูความสามารถในหลายดาน เปนชางตีเหล็ก ชาง ู ทําหลาปนฝาย ชางไม พูดงายๆ คือสารพัดชาง เปนหมอน้ามันงาจอดกระดูก หรือฟกช้ําดําเขียว  ํ ลูกหลานชาวบานตกตนไมควายชน หรืออุบัตใดๆ ไดรับบาดเจ็บ ก็มาหาทานชวยเยียวยา คารักษา ิ แลวแตจะให ไมเคยเรียกรอง นอกจากนี้ทานยังเปนผูมีพรสวรรคในดานศิลปะการบันเทิง ทาน เปนผูนําในการฟอน "ละครกลองตุม" และมีฝมือในการดีด สี ตี เปา ไดไพเราะมาก 16. ซอยเกาะสวรรค เปนซอยทีไปสุดที่หวยนอย ที่หวยนอยมีเกาะอยูกลางหวย ชาวบาน ่  ใหชื่อวา "เกาะสวรรค" (ในปจจุบน คือ พ.ศ. 2552 ไดสรางสะพานขามหวยนอยและขามไปยังเกาะ ั
  • 11. 11 สวรรคแลว มีลักษณะเปนสะพานสามแยก โดย ทาน ส.ส.วิทยา บุตรดีวงค เปนผูดงงบประมาณ ึ แผนดินมาให) 17. ซอยพันดอกบัวหลวง เรียกสั้นๆ วา "ซอยดอกบัว" เพราะซอยนี้ไปสินสุดที่หวยนอย ้ ในหวยนอยมีดอกบัวขึ้นอยูมากมาย ชาวบานในซอยนี้จึงเอาดอกบัวมาตั้งเปนนามซอย 18. ซอยดวงฤดี ตังขึนมาเพียงเพือใหคําแรกคือ "ดวง" ไปสัมผัสกับคําวา "หลวง" ใน ้ ้ ่ ซอยพันดอกบัวหลวง และคําทายคือ "ดี" ใหไปสัมผัสกับคําวา "ศรี" ในถนนศรีมงคล การแยกหมูบาน  บานคําชะอีไดขยายตัวเปนชุมชนใหญขนมาเปนลําดับ เมื่อ พ.ศ. 2450 ไดรบการยกฐานะ ึ้ ั เปนตําบลดังไดกลาวแลว เพื่อใหมีความคลองตัวในการปกครองและการพัฒนา จึงไดมีการแยก หมูบานขึ้น การแยกหมูบานนี้แยกเมือปใดไมปรากฏแนชด แตเชื่อวาแยกเมื่อสมัยขุนนิคมคําชะอี  ่ ั เปนกํานัน (นายอินทา วังคะฮาต หรือลงุก่ํา. 28 ก.ย.2552 : สัมภาษณ) โดยใหคุมบานดอน (คุม เจาชัยอภิเดช) เปนหมูที่ 2 มีนายนัน สุวรรณไตรย (คุณปูของอาจารยถาวร สุวรรณไตรย) เปน  ผูใหญบานคนแรก เมือสิ้นวาระแลว นายกิ เสียงล้ํา ก็ไดเปนผูใหญบานคนที่ 2 ยังไมครบวาระ ่ ทางขุนนิคมฯ ก็จะแยกหมูบานอีกใหเปนหมูที่ 4 (หมูที่ 3 บานหวยทรายเอาไป ) โดยใหยบหมูที่ 2 ุ เพราะจํานวนคนนอยประกอบกับตอนนันบานกกไฮก็ขอตังหมูบานจึงไดยกหมู 2 ไปใหบานกกไฮ ้ ้ หมูที่ 2 เดิมก็มารวมกับหมูที่ 4 โดยใชซอยหนาวัดโพธิ์ศรีแกวไปยังหวยนอยเปนเสนแบงหมูบาน  ฟากซอยดานทิศใตลงมาเปนหมูที่ 4 ฟากซอยดานทิศเหนือขึ้นไปเปนหมูที่ 1 (นายเหมย สุวรรณ   ไตรย นายสกล คนซื่อ. 28 ก.ย. 2552 : สัมภาษณ) เมื่อแยกหมูบานเปนหมู 1 และหมู 4 แลว หมู 1 ก็ไดเลือก นายฟอง อุปญญ เปนผูใหญบาน   สวนหมูที่ 4 มีกํานันขุนนิคมฯ เปนผูปกครอง  เมื่อกํานันขุนนิคมออกตามวาระ (พ.ศ. 2482) นายฟอง อุปญญ ก็ไดเปนกํานัน สวนหมูที่  4 ไดเลือก นายคลอย วังคะฮาต (ลูกของขุนนิคมฯ) เปนผูใหญบาน  กํานันฟอง อุปญญ ไดลาออกเมื่อ พ.ศ. 2487 นายคลอย วังคะฮาต ก็ไดรับเลือกเปน  กํานัน สวนหมูที่ 1 ไดเลือกนายไหล สุวรรณไตรย (คุณพอของอาจารยเข็มทอง สุวรรณไตรย) เปนผูใหญบาน เปนไดไมถงปก็ก็หมดวาระ ชาวบานจึงยายใส (ไมมีการเลือก)นายเครือ สุวรรณ ึ ไตรย (คุณตาของอาจารยบรรเลง อุปญญ ) เปนผูใหญบาน (เฉลย สุวรรณไตรย นายอินทา วัง   คะฮาต. 28 ก.ย. 2552 : สัมภาษณ) เมือนายเครือ สุวรรณไตรย ออกตามวาระ นายตรอง อุปญญ ่  ก็ไดเปนผูใหญบานหมูที่ 1  เมื่อกํานันคลอย วังคะฮาต ออกตามวาระ (พ.ศ. 2503) นายตรอง อุปญญ ก็ไดเปนกํานัน  สวนหมูที่ 4 ก็ไดเลือกนายเครือ วังคะฮาต (ลูกคนสุดทองของกํานันขุนนิคมฯ ) เปนผูใหญบาน
  • 12. 12 กํานันตรอง อุปญญ ออกตามวาระ (พ.ศ. 2514) นายจําลอง (เหลิน) อุปญญ (นองชายของ   กํานันตรอง) ก็ไดเปนผูใหญบานหมูที่ 1 เปนผูใหญบานไดไมนานก็สมัครกํานันและไดรบเลือกเปน ั กํานันแทนนายตรอง อุปญญ สวนหมูที่ 4 เมื่อนายเครือ วังคะฮาต ออกตามวาระ นายแถม แสน   โสม ก็ไดเปนผูใหญบานแทน   เมื่อกํานันจําลอง อุปญญ ออกตามวาระ (พ.ศ. 2524) นายแถม แสนโสม ก็ไดรบเลือกเปน  ั กํานัน สวนหมูที่ 1 ก็ไดเลือกนายเหมย สุวรรณไตรย เปนผูใหญบาน ในสมัยทีนายแถม แสนโสม เปนกํานันนี้ไดมีการแยกหมูบานอีกไดเปนหมูที่ 11 เมือ พ.ศ. ่  ่ 2527 มีนายเปอะ วังคะฮาต เปนผูใหญบานคนแรก เมื่อกํานันแถม แสนโสม ออกตามวาระ (พ.ศ. 2540) นายเหมย สุวรรณไตรย ก็ไดรบ ั เลือกเปนกํานัน สวนหมู 4 ไดเลือก นายสกล คนซื่อ เปนผูใหญบาน ทางหมู 11 ผูใหญเปอะ วังคะ  ฮาต ออกตามวาระ (พ.ศ. 2533) นายวันเทศ กุลวงค ก็ไดรับเลือกเปนผูใหญบานแทน เมื่อกํานันเหมย สุวรรณไตรย ออกตามวาระ (พ.ศ. 2543) นายสกล คนซื่อ ก็ไดรับเลือก เปนกํานัน สวนหมูที่ 1 ไดเลือก นายจันทา สุวรรณไตรย เปนผูใหญบาน และในสมัยนีไดมีการ  ้ แยกหมูบานอีกไดเปนหมูที่ 14 เมือ 30 กรกฎาคม 2545 นายสุรพล วังคะฮาต ไดรบเลือกเปน  ่ ั ผูใหญบานคนแรก เมื่อกํานันสกล คนซือ ออกตามวาระ (พ.ศ. 2546) นายทองปาน หาญจริง บานหนองกะ ่ ปาด ไดรบเลือกเปนกํานัน สวนหมูที่ 1 นายจันทา สุวรรณไตรยฺ ออกตามวาระ นายบุญทวี ั สุวรรณไตรย ไดรบเลือกเปนผูใหญบานแทน หมูที่ 4 ไดเลือกนายวิมล สุวรรณไตรย เปน ั  ผูใหญบาน เมื่อกํานันทองปาน หาญจริง ออกตามวาระ (พ.ศ. 2549) นายบุญทวี สุวรรณไตรย ไดรบ ั เลือกเปนกํานัน สวนหมูที่ 4 ผูใหญบานยังเปนคนเดิมคือนายวิมล สุวรรณไตรย สวนหมูที่ 11  นายวันเทศ กลุวงค ออกตามวาระ (พ.ศ. 2550) นายสารีบุตร สุวรรณไตรย ไดรับเลือกเปน ผูใหญบาน ทางหมู 14 นายสุรพล วังคะฮาต ออกตามวาระ (พ.ศ. 2550) นายถาวร วังคะ ฮาต ไดรบเลือกเปนผูใหญบาน. ั  ตอไปนี้จะเลาถึงเหตุการณ สถานที่ หรือสิ่งตางๆ ที่เกิดที่มีขนในบานคําชะอี ึ้ การปานหวยนอย หวยนอย เปนสายหวยเล็กๆ จึงเรียกวา "หวยนอย" บางตอนกวางแควาเดียว แตลกมาก ึ เปนสายหวยทีไมยาวนัก อยูตดกับหมูบานทางทิศตะวันตก ไหลตกหวยคันแทใหญ ่ ิ
  • 13. 13 ผูที่ริเริ่มทําฝายกั้นคือ นายบัง สุวรรณไตรย (นองของพอตาของคุณสันดร คนศื่อ เดี๋ยวนี้ยังมีชีวิตอยูที่บานหวยลึก) นายบังนี้ คนทั่วไปมักเรียกวา “ลุงสงคราม” เพราะแกมีลกคนโต  ู ชื่อสงคราม นายสงครามนีเ้ กิดปสงคราม คือ พ.ศ.2484 นายบังจึงใหชอวา "สงคราม" นายบัง ื่ ไดมาตังศาลาที่ริมหวยนอยนี้ทําเปนโรงฆาสัตว ก็เลยวานพี่นองขนดินมาถมยกคันฝายนี้ขึ้น (การ ้ ถมดินใหเปนคันกันน้ํานี้ทองถิ่นอีสานเรียกวา "ปาน" ตอไปจะใชคํานี้) เพื่อจะกั้นเอาน้ําไวสําหรับ ้  ลางเนื้อ และเครื่องใน ตับ ไต ไส พุง ของสัตวที่ชําแหละ พอหนาน้าหลากก็พง พังแลวก็ปานอีก ํ ั หลายครั้งหลายครา เมื่อนายไหล สุวรรณไตรย เปนผูใหญบาน (หมูที่ 1) นายไหลมีที่นาอยูทนาขี้ ี่ หมู เห็นประโยชนจากน้ําหวยนอย จึงชวนนายแสง แสนโสม (หรือลุงนาง คุณพอของกํานันแถม แสนโสม) เจรจากับนายบัง ขอขุดเหมือง (คลอง) เขาสูนาขี้หมูโดยจะชวยปานหวยนอยใหเปนคัน ปานที่แนนหนา นายบังเปนคนใจกวางมองการณไกลและเห็นประโยชนรวมกัน จึงตกลง นายไหล จึงชวนพี่นองชาวนาขี้หมู (ซึ่งตอนนั้นมีแค 7 - 8 คน) มาขุดเหมืองใหน้ําเขานา พรอมกับไหววานพี่ นองระดมกําลังมาปานหวยนอยจนเปนคันปานที่ใหญและแนนหนา ประกอบกับชวงนั้น กิ่งอําเภอ คําชะอียังอยูทบานคําชะอี มีนายเจริญ วดิศักดิ์ เปนหัวหนากิ่ง ไดลงมาควบคุมดูแลการปานดวย ี่ ทําใหการดําเนินการเปนอยางดี (สิน สุวรรณไตรย. 5 ต.ค. 2552 : สัมภาษณ ) ปานหวยนอย ตรงนี้ตอมาเรียกวา "ปานหลวง" ก็เลยมีฝายหวยนอยและคลองมาจนทุกวันนี้ ตอนแรกก็มี ปญหา เพราะทําดวยแรงงานคนและขาดหลักวิชาการทําใหคลองพังอยูบอยๆ จะเขาหนานาแตละป  ตองซอมคันคลองเสียกอน มีเรืองเลาขานวา ปหนึ่งฝนตกหนักน้ําหลากมามากจนเหมืองหวยนอย ่ พัง ลุงเจียง วังคะฮาต ไดไปยืนดูตรงใกลที่มันพัง ขณะทีดูเพลินอยูนั้นดินที่ตรงที่ลงเจียงยืนอยู ่ ุ เกิดพังลงทันทีทันใด ลุงเจียงไมทันระวังตกก็ตกลงไปน้ําทวมหัวลิบ และถูกน้ําพัดไปไกล โผล ขึ้นมาก็วายเขาฝงเพราะเปนคนแข็งแรงและวายน้ําเกง คนจึงลือเลาขานวา “ลุงเจียงตกหวยนอย” (ตองขอโทษลูกหลานของทานดวยทีเ่ ก็บเรื่องนี้มาเลา มิไดมีเจตนาจะลบหลูแตประการใด แตเปน เรื่องที่ระทึกขวัญทีเ่ กิดขึนในบานเรา ) ้ อยูมาเมือประมาณ 20 กวาปมานี้ ทางกรมชลประทานไดมาปรับคันฝาย คันคลอง และที่ ่ ระบายน้ําตามหลักวิชาการ จึงไดฝายอยางถาวรมาจนทุกวันนี้ ก็นบวานายบัง สุวรรณไตรย นาย ั ไหล สุวรรณไตรย ตลอดทังญาติพี่นองรุนนัน ไดเอื้อประโยชนตอทองถิ่นบานคําชะอีอยางมากมาย ้ ้ ทั้งไดน้ําเขานา เปนแหลงเพาะพันธุปลา ตาน้ําใตดินก็ตื้นสะดวกแกการขุดบอน้ํา (น้ําสราง) ไดน้ํา รดพืชผักสวนครัว และเปนที่จดงานประเพณีคืองานลอยกระทง ฯลฯ (นายอินทา (ลุงก่ํา) วังคะ ั ฮาต นายสาคร สุวรรณไตรย นายประเนิม คนซื่อ นายเกียรติศักดิ์ (จอ) สุวรรณไตรย. 2 ต.ค. 2552 : สัมภาษณ)