SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 77
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การออกแบบ
การจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
ผศ.น.สพ.ดร. สุชาติ วัฒนชัย
ภาควิชาศัลยศาสตร์และวิทยาการสืบพันธุ์
คณะสัตวแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การเปลี่ยนแปลงสังคม...เปลี่ยนการเรียนรู้
การเรียนรู้..หรือการสร้างปัญญา
ปัญญา เทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกมาสู่...การเรียนรู้
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
ยุคสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้/สร้างสรรค์
ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้
การแข่งขันทางสังคม/ประชาคมอาเซี่ยน
คุณลักษณะของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21
ทักษะชีวิต และ
การทางาน
ทักษะการเรียนรู้
และนวัตกรรม
ทักษะสารสนเทศ
สื่อ และเทคโนโลยี
สาระแกนหลัก 3 Rs ได้แก่ Reading(อ่าน) , (W)Riting(เขียน)
และ (A)Rithmetics(คณิตศาสตร์)
คุณลักษณะของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21
Collaboration, teamwork &
leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ
การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา))
3 Rs
Reading(อ่าน) , (W)Riting(เขียน) และ (A)Rithmetics(คณิตศาสตร์)
Career & learning skills
(ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้) Computing & ICT literacy
(ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร)
Communications,
information & media
literacy (ทักษะด้าน
การสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)
Critical thinking &
problem solving (ทักษะด้าน
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะใน
การแก้ปัญหา)
Creativity & innovation
(ทักษะด้านการสร้างสรรค์และ
นวัตกรรม)
Cross-cultural
understanding
(ทักษะด้านความเข้าใจต่าง
วัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
7 Cs
LEARNING
OUTCOME
Support
system
เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้
Smart classroom
การออกแบบ
และจัดการจัดการเรียนรู้
บัณฑิตที่มี
คุณลักษณะที่
ต้องการLEARNING PROCESS
LEARNING OUTCOME
ทฤษฎีการเรียนรู้
เนื้อหา คุณลักษณะ
ตามกรอบ
ศตวรรตที่ 21
วิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้
(Learning)
เนื้อหา
เป้ าหมายของการจัดการศึกษา
การออกแบบจัดการเรียนรู้....สู่การเรียนรู้ที่ต้องการ
คุณลักษณะ
ตามกรอบ
ศตวรรตที่ 21
ออกแบบการจัดการเรียนรู้
กาหนด
ผลลัพธ์
เรียนรู้ที่
ต้องการ
วิธีการ
สื่อเทคโนโลยี
เนื้อหา
วิธีการ สื่อ
-รูปแบบการใช้ปัญหาเป็นฐาน
-รูปแบบการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
-รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการ
สร้างองค์ความรู้
-รูปแบบการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
- รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
-รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ
-รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
- Flip classroom
-web based learning
-e-book
-multimedia
-PPT
VDO
-Social network
- Blog
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
เนื้อหา
เนื้อหาในสาระแกนหลัก 3 Rs ได้แก่ Reading(อ่าน) ,
(W)Riting(เขียน) และ (A)Rithmetics(คณิตศาสตร์
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ลาดับที่ 1
ลาดับที่ 2
ลาดับที่ 3
ลาดับที่ 4
การกาหนดผลลัทธ์การเรียนรู้
การเลือกเนื้อหา
การเลือกวิธีการ
การเลือกเทคโนโลยี
การกาหนดว่า ผลลัทธ์การเรียนรู้คืออะไร
learning skills
Learning and
Innovation Skills
Information, Media and
Technology Skills
Life and Career Skills
Core Content
Reading(อ่าน)
(W)Riting(เขียน)
(A)Rithmetics(คณิตศาสตร์) ลาดับที่ 1
 Creativity and Innovation
Think Creativity การคิดสร้างสรรค์
Work Creativity with Others คิดสร้างสรรค์กับผู้อื่น
Implement Innovations การนาความคิดสร้างสรรค์มาสู่การสร้างนวตกรรม
 Critical Thinking and Problem Solving
Reason Effectively การให้เหตุผล
Use Systems Thinking การคิดเชิงระบบ
Make Judgments and Decisions การตัดสิน และการตัดสินใจ
Solve Problems การแก้ปัญหา
 Communication and Collaboration
Communication Clearly การสื่อสาร
Collaborate with Others การร่วมมือกับผู้อื่น
learning skills: Learning and Innovation Skills
Information Literacy
Access and Evaluate Information การเข้าถึงและประเมินสารสนเทศ
Use and Manage Information การใช้และการจัดการสารสนเทศ
Media Literacy
Analyze Media การวิเคราะห์สื่อ
Create Media Products การสร้างสื่อ
ICT (Information, Communications and Technology)
Literacy
Apply Technology Efficiency การใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
learning skills: Information, Media and Technology Skills
 Flexibility and Adaptability
 Adapt to Change ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
 Be Flexible มีความยืดหยุ่น
 Initiative and Self-Direction Manage Goals and Time
 Work Independently สามารถคิดอิสระในการทางาน
 Be Self-Directed Learners พัฒนาตนเองในการเรียนรู้
 Social and Cross-Cultural Skills
 Interact Effectively with Others การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
 Work Effectively in Diverse Teams การทางานร่วมกับทีมอื่นที่มีวัฒนธรรม
ที่ต่าง ๆ กันได้
 Productivity and Accountability
 Manage Projects การจัดการโครงงานได้
 Produce Results การทางานที่มีผลสาเร็จ
 Leadership and Responsibility
learning skills: Life and Career Skills
Schema
Mental
Model
Knowledge structure
ที่มีการ Organize
Mental Representation การสร้างความเข้าใจในลักษณะที่
เป็ น Model ที่อธิบายถึงความ
เปลี่ยนแปลงของวัตถุหนึ่งต่อวัตถุ
อื่นๆ ในเชิงของ Action, Causal
relation และmodel ที่สร้างขึ้นนี้
สามารถ Inference ได้
Thinking
ความสามารถทางสมองของมนุษย์
ในการนาเอาข้อมูล ความรู้
ประสบการณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ มา
ประมวลเพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์
เช่น การตัดสินใจ การวิเคราะห์
การแก้ปัญหา เป็นต้น
การสร้างปัญญา หรือ การสร้างความรู้
ลักษณะของเนื้อหาวิชา
ข้อเท็จจริง
 หลักการทฤษฎี
 กระบวนการขั้นตอน
ลาดับที่ 2
วิธีการเรียนรู้
ลาดับที่ 3
The Changing Relationship Between Instructional
Psychology and ID from the 1960s to the Present
Wilson,B.G and Cole,Peggy, 1996 cognitive teaching model
Handbook of research on educational communications and technology
Dominant paradigm Behavioral psychology Information processing
psychology
Knowledge construction /
social mediation
Status of ID ID emerging ID engaged in theory/
Model development
ID engaged in redefinition
Status of Instructional
psychology
behaviorist Moves toward cognitive
Mainstream
Follows mainstream
Toward constructivism
Relationship between
ID and Instructional
psychology
ID and Instructional
psychology closely
aligned
ID and Instructional
psychology diverge
ID and Instructional
psychology engaged in
more dialogue
Time period 1960-75 1976-88 1989-present
Epistemology Objectivist Constructivist
Nature of knowledge ความรู้เป็นสิ่งที่คงที่ ความรู้เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงแท้แน่นอน
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
How we come to know Passively receive information Actively construct knowledge
การจัดการเรียนการสอน ถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้เรียน จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนสร้างความรู้
การเลือกพิจารณาความ
สอดคล้องกับสภาพสังคม
สังคมที่มีความรู้น้อย และคงที่ สังคมที่มีความรู้มากและเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยี ถ่ายทอดหรือนาส่ง -เพื่อนทางปัญญา และเป็นสิ่งแวดล้อม
ที่เสมือนจริงที่เน้นการมีปฏิสัมพัน์์
-สิ่งแวดล้อมเสมือนจริง(virtual realities)
(computur model of cognition)
ปรัชญาความรู้(Epistemology) และ เทคโนโลยี
Changes in Teacher Role
A shift from: A shift to:
Knowledge transmitter, primary source of
information, content expert, and source of all
answers
Learning facilitator, collaborator, coach,
mentor, knowledge navigator, and co-learner
Teacher controls and directs all aspects of
learning
Teacher gives students more options and
responsibilities for their own learning
Changes in Student Role
A shift from: A shift to:
Passive recipient of information. Active participant in the learning process.
Reproducing knowledge. Producing and sharing knowledge,
participating at times as expert.
Learning as a solitary activity. Learning collaboratively with others
การเปลี่ยนบทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
Constructivism
เสียความสมดุลทางปัญญา
ปรับความสมดุลทางปัญญา
Assimilation Accommodation
การเรียนรู้
ผู้เรียน
โครงสร้างทางปัญญา
กระตุ้น
ข้อมูลหรือสารสนเทศ
พื้นฐานทางจิตวิทยาการเรียนรู้
Cognitive constructivism
สถานการณ์ปัญหา
• แนวคิดของ Piaget
• เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยการลงมือกระทา
สิ่งแวดล้อม
ผู้เรียน
สถานการณ์ปัญหา
Situated learning
• เป็นทฤษฎีการสอนที่เสนอแนวความคิดที่ว่า การเรียนรู้เป็น
กิจกรรม บริบทและวัฒนธรรมตามสภาพจริง (Authentic
activity, context, and culture)
• จัดโครงสร้างของสิ่งแวดล้อมที่ไม่แยกส่วนของความรู้เป็นชิ้น เล็กๆหรือทาให้ง่าย
เกินไป แต่จะเป็นการจัดโครงสร้างของ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ซับซ้อน
• การจัดสิ่งแวดล้อมตาม Situated learning จะสะท้อนถึงวิธีที่ความรู้และผลการ
เรียนรู้ที่จะนามาใช้ในชีวิตจริงนอกชั้นเรียน
(Brown, Collins, and Duguid (1989))
สถานการณ์ปัญหาที่มีเน้นสภาพบริบทจริง
ผู้เรียน
ช่วยสร้างความรู้
โครงสร้างทางปัญญา
ปฏิสัมพันธ์
ภาษา สังคมและวัฒนธรรม
Social constructivism
มีรากฐานมาจาก Vygotsky
“ปฎิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา”
การร่วมมือกันแก้ปัญหา
negotiation
ศูนย์ระดมสมอง
Information processing
ความจา
ระยะสั้น
(Short Term
Memory)
ความจา
ระยะยาว
(Long
Term
Memory)
สิ่งแวดล้อมภายนอก
การใส่ใจ(Attention)การรู้จัก (Recognition)
ความจาระดับ
ประสาทสัมผัส
(Sensory
Memory)
• organization
• elaboration
เรียก
คืน
ลง
รหัส
เกิน 3 วินาที
ประสาทสัมผัสทั้ง5
(หู ตา จมูก ทางสัมผัส
มนุษย์ ผิวหนัง ลิ้น
Theory Principle Resources: Instructional design
Information
processing
theory
การบันทึกผัสสะ
(Sensory register)
ความจาระยะสั้น
(Short-Term Memory)
ความจาระยะยาว(Long-
term Memory)
- การเพิ่มขนาดของข้อความ การเน้นที่รูปแบบ
ข้อความ(ตัวหนา ตัวเอน การขีดเส้นใต้) การเน้นสี
ข้อความ หรือการกระพริบของข้อความ
- รูปภาพความคิดรวบยอดต่าง ๆ ที่แสดงความ
เชื่อมโยงกัน
- การจัดหัวข้อออกเป็นหมวดหมู่
- การจัดแบ่งสารสนเทศออกเป็นหมวดหมู่ที่มี
ความสัมพันธ์กันในลักษณะที่เป็นเครือข่ายระดับชั้น
(hierarchical network)
การออกแบบแหล่งความรู้
Schema as Memory Structure
encode
recall
สิ่งแวดล้อม
Built overtime
Cognitive structure
Real world
interaction
โครงสร้างทางปั ญญาเป็ นอย่างไร
การเชื่อมโยง
Schema as Networknode
link
link
link
link
link
link
link
link
• relation
• constant
• location
ความสัมพันธ์กัน
• shape
• size
• location
ขึ้นอยู่กับลักษณะนั้น ๆ
node node
link
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
node
node
node
node
Mental model
“เมนทอลโมเดลจะมีลักษณะเป็นรูปแบบหรือโมเดลที่มีการเชื่อมต่อของแนวคิดรวบยอด
ต่าง ๆ ด้วยความสัมพันธ์กันในลักษณะที่เป็นเหตุผล(causal effect) เมนทอลโมเดลจะมี
สารสนเทศที่เกี่ยวกับการปฏิบัติภารกิจซึ่งนาไปใช้ในการแก้ปัญหา (Winn and
Synder,1996; Smith and Ragan, 2005 )”
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
กรอบแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
โดยเน้นการสร้างความรู้ (สุมาลี ชัยเจริญ)
1. สร้างความรู้ด้วยตนเองเป็นรายบุคคล
2. สร้างความรู้โดยการแลกเปลี่ยน
จากกลุ่มในชั้นเรียน
3. สะท้อนการรู้คิดของตนเอง
4. ตอบคาถามจากประเด็น
ปัญหาที่กาหนดให้
5. นาเสนอผลงานกลุ่ม
6. สะท้อนความคิดจากเพื่อน
ต่างกลุ่ม และครูผู้สอน
7. ร่วมสรุปบทเรียน
8. วิเคราะห์ผลการเรียนรู้
ประเมินตามสภาพจริง
ประเมินผลโครงการ
การเรียนแบบร่วมมือ
Metacognition
ผู้สนับสนุน(Coach)
ศึกษาบทเรียนมา
ล่วงหน้าเป็นรายบุคคล
Scaffolding
การออกแบบวิธีการเรียนรู้
บริบทการจัดการเรียนรู้
ลักษณะของเนื้อหา จานวนนักศึกษา เทคโนโลยี
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างไร
สื่อ วิธีการ
วิทยาศาสตร์เนื้อหายาก กลุ่มใหญ่ พร้อม/ไม่พร้อม
นักศึกษาศึกษาล่วงหน้าจาก
สื่อการเรียนรู้ web based learning environment
ทา concept map
ปัญหา
ภารกิจ
แหล่งการเรียนรู้
การร่วมมือกันแก้ปัญหา
การติดต่อผู้เชี่ยวชาญ
บรรยายสรุปโดยใช้สื่อ
นักศึกษามีส่วนร่วมโดยการตอบประเด็นปัญหา
ที่สาคัญในเอกสารเช่น การอธิบายลงในเอกสาร
สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ
ข้อความ
ภาพ
ภาพเคลื่อนไหว
การเตรียมตัวก่อนเรียน
การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
เก็บมาตรวจ/นักศึกษาแลกกันตรวจ ฝึกให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์
การจัดการเรียนรู้ภายหลังการเรียน
นักศึกษาสรุปความรู้เป็น concept map
การออกแบบวิธีการเรียนรู้
บริบทการจัดการเรียนรู้
ลักษณะของเนื้อหา จานวนนักศึกษา เทคโนโลยี
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างไร
วิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มเล็ก พร้อม
สื่อ วิธีการ
การออกแบบวิธีการเรียนรู้
นักศึกษาศึกษาล่วงหน้าจาก
สื่อการเรียนรู้ web based learning environment
ทา concept map
ปัญหา
ภารกิจ
แหล่งการเรียนรู้
การร่วมมือกันแก้ปัญหา
การติดต่อผู้เชี่ยวชาญ
บรรยายนา
จัดกลุ่มนักศึกษาให้ศึกษากรณีปัญหาจากใบงาน หรือเรียนด้วย
web based learning environment
สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ
ข้อความ
ภาพ
ภาพเคลื่อนไหว
การเตรียมตัวก่อนเรียน
การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
ฝึกให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยี
ฝึกให้นักศึกษารับผิดชอบ
การจัดการเรียนรู้ภายหลังการเรียน
นักศึกษาสรุปความรู้เป็น concept map
นาเสนอในชั้นเรียนโดยใช้สื่อ
ฝึกให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยี
ฝึกการนาเสนอ
ฝึกการโต้แย้งโดยใช้เหตุผล
ฝึกให้นักศึกษาการแก้ปัญหา
ฝึกให้นักศึกษารับฟังและโต้แย้ง
การออกแบบวิธีการเรียนรู้
1 การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
จุดเด่น
พัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหา
การคิดเชิงระบบ (ลาดับขั้น)
การวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบ
กระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (Active learning)
กระตุ้นด้วยปัญหา เกิดความสงสัย
แสวงหาคาตอบ
ร่วมกันคิดหาแนวทาง
แก้ปัญหา
เกิดการเรียนรู้อย่าง
มีความหมาย
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้
1 การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
ขั้นกาหนดปัญหา
ขั้นตั้งสมมติฐาน
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นสรุปและประเมินผล
ปัญหาตามสภาพจริง
เชื่อมโยงจากประสบการณ์
ข้อเท็จจริง การสังเกต
แสวงหาคาตอบด้วยตนเอง
จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
นาเสนอ แลกเปลี่ยน
อภิปราย ซักถาม
2 การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
จุดเด่น
เน้นที่ตัวปัญหาเป็นสิ่งกระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้
การสร้างความรู้จากกระบวนการแก้ปัญหา
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้
ลักษณะปัญหา
การเรียนรู้ต้องมีการกาหนดสถานการณ์ปัญหาซึ่งเป็นจุดเริ่มของกระบวนการเรียนรู้
เกิดขึ้นจากสภาพจริงในชีวิตประจาวัน (Authentic learning)
พบบ่อย มีความสาคัญต่อชีวิตและสังคม หรือเป็นที่สนใจ
เป็นแบบเปิด ซับซ้อน คลุมเครือและกระตุ้นให้เกิดความสงสัย
2 การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
กาหนดปัญหา
ทาความเข้าใจปัญหา
ดาเนินการศึกษาค้นคว้า
สังเคราะห์ความรู้
สรุปและประเมินค่าคาตอบ
นาเสนอและประเมินผลงาน
3 การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
จุดเด่น
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงบทบาทการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
การลงมือปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการคิด
การใช้ทักษะทางสังคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
พัฒนาทักษะการคิด
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้ Constructivism มีพื้นฐานมาจาก Asubel และ Piaget
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเป็นผู้แสดงความรู้และสร้างความรู้ด้วยตนเอง
ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง แสวงหา ค้นคว้า จนพบความรู้ใหม่
ผู้เรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการกลุ่ม
การเชื่อมโยงความรู้เดิมในการสร้างความรู้ใหม่
3 การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้
ขั้นแนะนา
ขั้นทบทวนความรู้เดิม
ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด
ขั้นนาความคิดไปใช้
ขั้นทบทวน
ทาความกระจ่างและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน
การสร้างความคิดใหม่
ประเมินความคิดใหม่
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
4 การจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
จุดเด่น
ผู้เรียนมีความคิดที่อิสระ
เปิดทางเลือกให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบที่หลากหลาย
ผู้เรียนสร้างผลงาน สิ่งประดิษฐ์ใหม่
มีความยืดหยุ่นในการจัดกิจกรรม
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้
ความคิดสร้างสรรค์ของ Guilford
คิดคล่อง
คิดยืดหยุ่น
คิดริเริ่ม
คิดละเอียดลออ
ความคิดสร้างสรรค์ของ สกศ.
ความเปลี่ยนแปลง
การสังเคราะห์
ต่อเนื่อง
ลอกเลียน
4 การจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ขั้นสร้างความตระหนัก
ขั้นระดมพลังความคิด
ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน
ขั้นนาเสนอผลงาน
ขั้นวัด/ประเมินผล
ขั้นเผยแพร่ผลงาน
กระตุ้นเร้าความสนใจผู้เรียน
ดึงศักยภาพผู้เรียนให้สามารถค้นหาคาตอบ
ผู้เรียนสร้างผลงานจากจินตนาการ
ผู้เรียนมีโอกาสนาเสนอ แลกเปลี่ยน วิพากษ์
ประเมินตามสภาพจริง หลากหลายรูปแบบ
นาเสนอความรู้สู่สังคม
5 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
จุดเด่น
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาคาตอบจากสิ่งที่ตนเองสนใจ
การทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม
เป็นการผสมผสานการเรียนรู้หลายเทคนิค ได้แก่ ฝึกคิด การแก้ปัญหา
เน้นกระบวนการ เป็นต้น
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้
Bloom
•ความรู้ความจา
•ความเข้าใจ
•การนาไปใช้
•การวิเคราะห์
•การสังเคราะห์
•การประเมินค่า
กระบวนการที่สาคัญ
ระยะที่ 1 การเริ่มต้นโครงงาน
ระยะที่ 2 ขั้นพัฒนาโครงงาน
ระยะที่ 3 ขั้นสรุป
นาเสนอข้อค้นพบ แลกเปลี่ยน
การกาหนดประเด็นที่สนใจ
ดาเนินการทดลอง ศึกษาเพื่อหาคาตอบ
ขั้นนาเสนอ
ขั้นวางแผน
ขั้นปฏิบัติ
ขั้นประเมินผล
ผู้เรียนศึกษาความรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานในการวางแผน
ร่วมกันวางแผน อภิปราย ระดมความคิดเพื่อหาข้อสรุป
ปฏิบัติตามแผนการหรือแนวทางที่วางไว้
ประเมินตามสภาพจริงร่วมกันทั้งครูและเพื่อน
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
5 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน
6 การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ที่เน้นการปฏิบัติ
จุดเด่น
ผู้เรียนได้รับประสบการณ์และประยุกต์มาใช้ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
ใช้ทรัพยากรในการเรียนรู้คือ เวลา สถานที่ ภูมิปัญญา และสื่อ
ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้
เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะกลุ่ม เน้นการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ตรง
จากสภาพจริงและการแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการกระทา
ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ฝึกค้นคว้า ฝึกคิด ฝึ กลงมือกระทา ฝึกทักษะ
กระบวนการต่าง ๆ ฝึกการแก้ปัญหาด้วยตนเอง และฝึกทักษะการเสาะแสวงหา
ความรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม
ผู้เรียนได้เรียนรู้ทั้งทางทฤษฎีและการปฏิบัติตามแนวทางประชาธิปไตย
6 การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ที่เน้นการปฏิบัติ
ขั้นจัดประสบการณ์
ขั้นนาเสนอแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ขั้นอภิปรายผล
ขั้นสรุปพาดพิง
ขั้นประยุกต์ใช้
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
ลงมือทากิจกรรมจากสภาพจริง
พูด-เขียน นาเสนอข้อมูล
ซักถามเพื่อความเข้าใจที่แจ่มชัด
สรุปผลการเรียนรู้สู่หลักการ
นาความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง
7 การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา
จุดเด่น
ผู้เรียนได้รับพัฒนาพหุปัญญาทั้ง ๘ ด้าน ได้แก่ ด้านภาษา ด้านดนตรี
ด้านตรรกะ ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ด้านธรรมชาติ ด้านการรู้จักตนเอง และด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้ที่ไม่แยก
เนื้อหาออกจากชีวิตจริง
เนื้อหาวิชา/หลักสูตร
พหุปัญญา
การสร้างความรู้
ชีวิตจริงบูรณาการ
7 การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา
ขั้นที่ 1 การเตรียมการ
1.วิเคราะห์ผู้เรียน
2.จัดทาเอกสารตามองค์ประกอบของ
รูปแบบฯ รวม 3 ส่วน
3.ประสานการบูรณาการสู่พหุปัญญา
4.การใช้แนวทางฯ สื่อ/อุปกรณ์
กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการประเมินผล
ขั้นที่ 2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1.นาเข้าสู่บทเรียน
2.กิจกรรมการเรียนรู้
3.สรุป
4.การวัดประเมินผล
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
8 การจัดการเรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้
จุดเด่น
ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ผู้เรียนได้ทางานเป็นกลุ่มและแก้ปัญหาร่วมกัน
ผู้เรียนได้ฝึกทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมูล สรุป ตีความ
ผู้เรียนสามารถประเมินตนเอง
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้ตามธรรมชาติ ชุมชนและวัฒนธรรม ค่านิยมที่ดีงาม
การเรียนรู้อย่างมีความสุข และการแสดงออก
การฝึกทักษะการคิดและแสวงหาคาตอบ
กระบวนการกลุ่ม
8 การจัดการเรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
ขั้นสารวจ
ขั้นเรียนรู้
ขั้นประเมินผล
ขั้นนาไปใช้
ขั้นประยุกต์ความรู้และเผยแพร่ผลงาน
9 การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
จุดเด่น
ผู้เรียนได้ร่วมกันทางานเป็นกลุ่มและช่วยเหลือกัน
สร้างความสันพันธ์อันดีระหว่างผู้เรียน
ฝึกและพัฒนาทักษะทางสังคม
พัฒนาทักษะการทางานเป็นทีม
แนวคิดสาคัญในการจัดการเรียนรู้
รางวัลหรือเป้าหมายกลุ่ม (Team rewards or group goals)
ความสามารถของแต่ละบุคคลในกลุ่ม (Individual accountability)
สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมีโอกาสที่จะช่วยให้กลุ่มประสบผลสาเร็จได้เท่า
เทียมกัน (Equal opportunities for success)
9 การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
สื่อ เทคโนโลยี........
ช่วยสร้างปัญญาอย่างไร
ลาดับที่ 4
คุณลักษณะของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21
Collaboration, teamwork &
leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ
การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา))
3 Rs
Reading(อ่าน) , (W)Riting(เขียน) และ (A)Rithmetics(คณิตศาสตร์)
Career & learning skills
(ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้) Computing & ICT literacy
(ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร)
Communications,
information & media
literacy (ทักษะด้าน
การสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)
Critical thinking &
problem solving (ทักษะด้าน
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะใน
การแก้ปัญหา)
Creativity & innovation
(ทักษะด้านการสร้างสรรค์และ
นวัตกรรม)
Cross-cultural
understanding
(ทักษะด้านความเข้าใจต่าง
วัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
7 Cs
Videodisc
Broadcast Video
- Searched or Pace to
progression changed
• Pictorial
• audio-linguistic
Symbol system
Processing capability
- continue
- Searched or Pace to
progression changed
- continue
Distinction between
1
2
• simultaneously
Create useful
Symbol system and Processing capability
Do media influence learning ?
Capability of
particular medium
เช่น TV Book
method
Interaction
Learner
Influence
ID
Take Advantage of capability
Process information
Representation
Learning
result
Certain Learner and Task
Kozma, R.B. (1991). "Learning with media." Review of Educational Research, 61(2), 179-212.
สื่อ คือ อะไร
สื่อ เป็นคามาจากภาษาละตินว่า “medium” แปลว่า “ระหว่าง”
(between) หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่บรรจุ ข้อมูลสารสนเทศ หรือ
เป็นตัวกลางให้ข้อมูลส่งผ่านจาก ผู้ส่งหรือแหล่งส่งไปยังผู้รับ
เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์
ผู้ส่ง ผู้รับสื่อ
สื่อ เทคโนโลยี
เทคโนโลยี
เทคโนโลยี เป็นการนาเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้
ระเบียบวิ์ี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้าน
สิ่งประดิษฐ์และวิ์ีปฏิบัติมาประยุกต์ ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงในการทางานให้ดียิ่งขึ้นและ เพื่อเพิ่มประสิท์ิภาพและ
ประสิท์ิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น การนาเทคโนโลยีมาใช้กับงานใน
สาขาใดสาขาหนึ่งนั้น เทคโนโลยีจะมีส่วนช่วยสาคัญ 3 ประการ และถือ
เป็นเกณฑ์ในการพิจารณานาเทคโนโลยีมาใช้ด้วย
1. ประสิทธิภาพ ( Efficiency )
2. ประสิทธิผล ( Productivity )
3. ประหยัด ( Economy
ใช้แล้ว
กระบวนทัศน์ของการจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้(Learning)การสอน (Teaching)
เน้นครูเป็นศูนย์กลาง เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทาไมจึงเปลี่ยนจาก สื่อการสอนมาเป็น สื่อการเรียนรู้
สื่อการสอน สื่อการเรียนรู้
สื่อ เทคโนโลยี
Cognitive Technology คือ อะไร
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
เป็นเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีที่มีลักษณะที่เป็นเพื่อนทางปัญญา ที่สนับสนุน
ส่งเสริมและแนะแนวรวมทั้งช่วยขยายฟังชั่นก์การทางานกระบวนการรู้คิด
(Cognitive processes) ของมนุษย์ ทั้งในขณะทาการคิด แก้ปัญหา และการ
เรียนรู้ โดยผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและใช้ Cognitive tools ในลักษณะการสร้าง
ความรู้มากกว่าการจดจาความรู้
Cognitive tools Function
Information seeking tools เป็นเครื่องมือที่ช่วยผู้เรียนในการกาหนดสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง และ
ค้นคืน หรือเรียก (Retrieve) ความรู้ที่มีมาก่อนและความรู้ใหม่
Information presenting tools เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการนาเสนอสารสนเทศ และแสดง
ความสัมพันธ์ของสารสนเทศ
Knowledge organization tools เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการสร้างความสัมพันธ์เชิงความคิดรวบ
ยอดของสารสนเทศ และสนับสนุนการแปลความหมาย การ
เชื่อมโยงและการจัดหมวดหมู่ของสารสนเทศอย่างมีความหมาย
Knowledge integration tools เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนผู้เรียนในการเชื่อมโยงความรู้ที่มีมาก่อน
กับความรู้ใหม่ และสนับสนุนการประมวลสารสนเทศในระดับลึก
เพื่อสร้างความรู้อย่างมีความหมาย
Knowledge generation tools เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนผู้เรียนในการจัดกระทาและสร้างความรู้
รวมทั้งช่วยในการนาเสนอความรู้ที่สร้างขึ้นใหม่อย่างยืดหยุ่นและมี
ความหมาย
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
Iiyoshi , Hannifin and Wang 2005
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็น
เครื่องมือทางปัญญา
บริบทการศึกษา
Databases เพื่อสนับสนุนการเก็บข้อมูลและการนาข้อมูลไปใช้งานอย่างเป็นระบบ โดย
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลตามรูปแบบการนาไปใช้งานที่เหมาะสม
(McNaught, Whithear&Browning, 1994)
Spreadsheets เป็นส่วนหนึ่งของบทเรียนที่เกี่ยวข้องกับสถิติหรือการคานวณ
(Spedding, 1998)
Concept mapping tools ผู้เรียนใช้โปรแกรม Concept mapping เป็นเครื่องมือในการจัดหมวดหมู่
วางแผน และแสดงความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่ทาการศึกษา
(Kennedy & McNaught, 1998)
Software tools for developing
semantic relationship
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในสาหรับงานการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพในการ
อัดเสียง จดจา ระหว่างการสัมภาษณ์ข้อมูลในการประเมินผลทาง
การศึกษา (Gahan & Hannibal, 1998)
Computer programming
languages
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้แก่ ภาษาโลโก (LOGO) ที่ใช้อย่าง
แพร่หลายในระดับประถมศึกษาเพื่อสนับสนุนสไตล์การเรียนของผู้เรียน
(Learning style) ที่แตกต่างกันด้านการคิด โดยให้ผู้เรียนสร้างผลงานด้วย
ตนเอง (Papert, 1993)
Kennedy, D. M., & McNaught, C. (2001)
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology): สร้างปั ญญาได้อย่างไร
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
Technology as tools to
support knowledge
construction
Technology as information
vehicles for exploring
knowledge to support
learning-by-constructing
Technology as context
to support learning-by-
doing
Technology as social
medium to support
learning by conversing
Technology as
intellectual partner to
support learning-by-
reflecting
cognitive technology
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
cognitive technology หรือ
เทคโนโลยีเพื่อสร้างปั ญญา
เทคโนโลยีเพื่อการถ่ายทอด
•for representing learners’ ideas, understandings, and beliefs
•for producing organized, multimedia knowledge bases by learner
•for accessing needed information
•for comparing perspectives, beliefs, and world views
•for representing and simulating meaningful real-world problems, situations
and contexts
•for representing beliefs, perspectives, arguments, and stories of others
•for defining a safe, controllable problem space for student thinking
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
Technology as tools to support knowledge construction:
Technology as information vehicles for exploring knowledge to
support learning-by-constructing:
Technology as context to support learning-by-doing:
•for collaborating with others
•for discussing, arguing, and building consensus among members of a
communication
•for supporting discourse among knowledge-building communities
•for helping learning to articulating and represent what they know
•for reflecting on what they have learned and how they came to know it
•for supporting learners’ internal negotiations and meaning making
•for constructing personal representations of meaning
•for supporting mindful thinking
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
Technology as social medium to support learning by conversing:
Technology as intellectual partner (Jonassen, 1996) to support learning-by-
reflecting:
Cognitive technology Symbol system Processing capability
-Web base
-Internet
Hypermedia
Hyperlink
Hypertext
Pictorial
Audio-linguistic
Communicatio
n
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
Cognitive flexibility
Multimedia learning
Word
Picture
Ears
Eyes Images
Verbal
Model
Pictorial
Model
Prior
Knowledge
SoundSelecting
word
Selecting
images
Organizing
word
Organizing
images
integrating
Multimedia
presentation
Sensory
memory
Working memory Long-term
memory
Mental model
Mayer, 2005
Conceptual model
Help learner develop good mental model
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
Multimedia learning
เทคโนโลยีทางปั ญญา(Cognitive Technology):สร้างปั ญญาได้อย่างไร
การออกแบบการเรียนรู้
กิจกรรม หลักการ
การกระตุ้นการเรียนรู้ วิเคราะห์สถานการ
ปัญหา
-Cognitive constructivst
- การคิดการแก้ปัญหา
- การคิดสร้างสรรค์
- การคิดวิเคราะห์
การสนับสนุนการ
สร้างความรู้
การค้นหาเนื้อหา Information processing
Cognitive process
การร่วมมือกันแก้ปัญหา Social constructivst
การโคช cognitive apprentiship
การสรุป Social constructivst
1. Provide experience with the knowledge
construction process
2. Provide experience in and appreciation for
multiple perspectives
3. Embed learning in realistic and relevant contexts
4. Encourage ownership and voice in the learning
process
5. Embed learning in social experience
6. Encourage the use of multiple modes of representation
Characteristics of Learning & Teaching
7. Encourage self-awareness in the knowledge
construction process
ตัวอย่าง
- สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
- http://www.edheads.org/activities/knee/

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560KiiKz Krittiya
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 

Was ist angesagt? (20)

คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 

Ähnlich wie การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน krupornpana55
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728Pattie Pattie
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 

Ähnlich wie การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (20)

Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 

Mehr von Anucha Somabut

MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOCMOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOCAnucha Somabut
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้Anucha Somabut
 
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...Anucha Somabut
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานAnucha Somabut
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teachingAnucha Somabut
 
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...Anucha Somabut
 
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)Anucha Somabut
 
Emerging Educational Technologies
Emerging Educational TechnologiesEmerging Educational Technologies
Emerging Educational TechnologiesAnucha Somabut
 
TQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationTQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationAnucha Somabut
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchAnucha Somabut
 
How to Mind Map for Study Success
How to Mind Map for Study SuccessHow to Mind Map for Study Success
How to Mind Map for Study SuccessAnucha Somabut
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 
Thai qualifications framework for higher education
Thai qualifications framework for higher educationThai qualifications framework for higher education
Thai qualifications framework for higher educationAnucha Somabut
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionAnucha Somabut
 

Mehr von Anucha Somabut (15)

MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOCMOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
 
Cloud-Based Learning
Cloud-Based LearningCloud-Based Learning
Cloud-Based Learning
 
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teaching
 
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
 
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
 
Emerging Educational Technologies
Emerging Educational TechnologiesEmerging Educational Technologies
Emerging Educational Technologies
 
TQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher educationTQF- Thai qualifications framework for higher education
TQF- Thai qualifications framework for higher education
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 
How to Mind Map for Study Success
How to Mind Map for Study SuccessHow to Mind Map for Study Success
How to Mind Map for Study Success
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
Thai qualifications framework for higher education
Thai qualifications framework for higher educationThai qualifications framework for higher education
Thai qualifications framework for higher education
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
 

การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21