SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 44
โครงการพัฒนาบุคลากร ศูนย์อนามัยที่ 10 สู่การเป็นองค์กรต้นแบบคนไทยไร้พุง ณ โรงแรมลานนาพาเลส เชียงใหม่ วันที่  12-14,15-17  กรกฎาคม  2009 เอกสารประกอบการประชุม 1  ผู้นำกับการเปลี่ยนแปลงร่วมสมัย 2  การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการพัฒนาชุมชน 3  การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน 4  สุนทรียปรัศนีไขสู่การพัฒนาร่วมสมัย 5  นวัตกรสังคม 6  สมุดบันทึกการทำงานของนวัตกรสังคม 7  เทคโนโลยีของการมีส่วนร่วม วิธีการเอื้ออำนวยการใช้ระบวนการกลุ่ม 8  การอภิปรายอย่างมีส่วนร่วม และการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 9  การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน Asset Based Community Development   ( A B C D) ชุมชนเข้มแข็ง   ต้องเสริมสร้างจากข้างใน ด้วยมุมมองที่สดใส และสินทรัพย์ของชุมชน อุทัยวรรณ กาญจนกามล สถาบันเสริมสร้างพลังชุมชน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คำนิยม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การพัฒนาชุมชน  โดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน _______________________ อุทัยวรรณ กาญจนกามล  D.D.S., C.D.P.H., M.P.H ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ความเข้มแข็งของชุมชนแปรผันตรงกับ   จำนวนของผู้คนที่อุทิศตนเพื่อให้ชุมชนเป็นสุข -Nancy Diamond
วิถีทางการพัฒนาชุมชน  2   แบบ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],แบบที่  1  แบบดั้งเดิม ฐานคิต :    ความจำเป็น ความขาดแตลน จุดม่งหมาย :  การเปลี่ยนแปลงองค์กร การสื่อสาร :  ปัญหาและการใส่ใจ   ผู้นำการเปลี่ยนแปลง : มืออาชีพ ผู้เชี่ยวชาญ นักเทคโนโลยี ทัศนะของปัจเจกชน  เป็นผู้รับบริการ ลูกค้า ผู้ป่วย ฐานความจำเป็นของชุมชน คือ   “  ปัญหา ” คนไม่มีงานทำ แก๊งมอเตอร์ไซค์  อาชญากรรม ครอบครัวแตกแยก คนไร้บ้าน  อุบัติเหตุ เด็กถูกล่อลวง คนอ่านหนังสือไม่ออก ขาดสวัสดิการ คนยากจน เด็กหนีเรียน  เอดส์   คนฆ่าตัวตาย คนติดยา ขายาเสพติด แก๊ง  18 มงกุฎ แม่อายุน้อย วัณโรค  คนป่วยโรคประสาท โรคจิต โรคเรื้อรัง อากาศเป็นพิษ สารปรอทปนเปื้อน บัญหาขยะ ปัญหาทัศนะอุจาด ฯลฯ
เป็นที่ประจักษ์ชัดว่า มนุษย์ทุกคนต่างก็มีความจำเป็นหรือความขาดแคลนด้วยกันทั้งสิ้น เช่นเดียวกันกับการมีความสามารถและพรสวรรค์  อยู่ในตัวสมาชิกของชุมชนทุกคน ข้อเท็จจริงนี้ทำให้เรานึกถึงแก้วน้ำ ที่มีน้ำอยู่ครึ่งแก้ว  จึงมีลักษณะน้ำพร่องไปครึ่งแก้ว หรือน้ำมีอยู่ครึ่งแก้ว  อย่างไรก็ตาม  ผู้คนสามารถสร้างชุมชนของเขาให้เข้มแข็งได้ ก็ด้วยส่วนของความสามารถที่สมาชิกของชุมชนมีอยู่  เพราะฉะนั้นข้อมูลพื้นฐานที่ จำเป็นเพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งก็คือทำเนียบความสามารถของผู้คนในท้องถิ่นนั้นเอง  ชุมชนขาดแคลน   ชุมชนมีความสามารถและมีสินทรัพย์ ความท้าทายในการมองชุมชน ที่โชคร้ายไปกว่านั้นก็คือ  สมาชิกของชุมชนในบางชุมชนมีความเชื่อที่ผิดๆว่า  เขาสามารถสร้างชุมชนของเขาได้ โดยการจัดทำ ทำเนียบของความขาดแคลน ไปขอรับการสนับสนุนจากภายนอก ซึ่งก็ได้ผล  แม้กระทั่งรัฐบาลไทยในบางยุคสมัย  ก็ยังให้ประชาชนไปลงทะเบียนความยากจน ซึ่งสามารถนับจำนวนหัวได้ว่า  ในชุมชนมีคนที่บรรจุความว่างเปล่า  ไว้เป็นจำนวนเท่าใด  ปัญหาก็คือข้อมูลนี้ใช้ไม่ได้สำหรับสร้างชุมชน เพราะเหตุว่า  มันใช้สำหรับเป็นข้อมูลผู้บริโภค  หรือไม่ก็แสดงศักยภาพความเป็นลูกค้า หรือผู้ขอรับบริการในอนาคต  ซึ่งบอกถึงความอ่อนแอ  ในขณะที่ชุมชนที่เข้มแข็งจะมีก็แต่ผู้คนที่มีฐานะเป็นพลเมือและผู้ผลิตเท่านั้น
[object Object],[object Object],ดังบทกวีที่ว่า :   เท่านี้ก็มีพอ แม้ไม่มีสองแขน ไม่เป็นไร ฉันจะใช้สองขามาสร้างสรรค์  แม้ไม่มีสองขา ก็ช่างมัน  ฉันจะใช้แขนฉันฝ่าฟันไป  แม้ไม่มีสองตาให้มองเห็น  ฉันจะเป็นนักร้องที่เสียงใส  แม้ไม่มีสองหู ไม่เป็นไร  ฉันจะเป็นคนใบ้ที่ใจดี  แม้ไม่มีบ้านไหนให้พำนัก  ฉันจะพักป่าช้าเป็นเพื่อนผี  แม้ไม่มีอายุยืนถึงหมื่นปี  ฉันจะทำวันนี้ให้ดีงาม  แม้ไม่มีเงินทองของมีค่า  ฉันจะหาเลี้ยงตนทนแบกหาม  แม้ศึกษาเล่าเรียนไม่ได้ความ ฉันก็จะพยายามจนได้ดี  แม้ไม่มีอะไรหลายๆอย่าง  ฉันจะสู้สรรค์สร้างด้วยศักดิ์ศรี  รวบรวมของทุกอย่างเท่าที่มี มาเสริมสร้างโลกนี้ให้สวยงาม  [1] [1]   จากหนังสือ   " ท้อไยในยามยาก "  ของ มงคล ชัยวุฒิ หรือ เดอะจิ๊กุ่ง   www.lannapoem.com คติฐานสำคัญ  :  การพัฒนาชุมชน ที่อาศัยสินทรัพย์ของชุมชนเป็นฐาน  เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงของชุมชนอย่างยั่งยืนและมีความหมาย  นั้น มาจากภายในชุมชนเองเสมอ  ผู้เชี่ยวชาญก็มิใช่ใครที่ไหน หากแต่เป็น… …   “ สมาชิกของชุมชนที่นี่  ช่วยกันจุดประกายขึ้นมา ”
‘ มนุษย์ทุกคนมีพรสวรรค์อยู่ในตัวไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง   และมีคุณค่าต่อผู้อื่นด้วย ในชุมชนที่เข้มแข็ง  มีความตระหนักถึงคุณค่าเหล่านั้น   และสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม   ในขณะที่ชุมชนอ่อนแอไม่ตระหนักว่าคนในชุมชนมีคุณค่า   จึงสูญเสียโอกาสอย่างมหาศาล ’   -John Mcknight and John Kretzman ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],หลักการของการพัฒนาชุมชนร่วมสมัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมาชิกภาคี ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การตั้งคำถาม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การรวบรวมเรื่องราว :  ถอดบทเรียน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สินทรัพย์แรกคือ  “ พลเมือง ”
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Alexis De Tocqueville: ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แผนที่ขุมพลัง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
พรสวรรค์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขุมพลังส่วนตัว ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คำถามในการสนทนา เพื่อ จัดทำแผนที่สินทรัพย์ชุมชน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ทำไมต้องทำแผนที่ขุมพลัง ? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อะไรชักจูงใจผู้คนให้ทำงานอย่างทุ่มเท ? ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ขอเพียงให้ได้เล่น ได้สัมผัส ได้เชยชม ลองคิดหาวิธีแบบนั้น  มาใช้กับงานเราบ้าง...
บทบาทของสมาชิกชุมชน : ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],บทบาทของผู้ประสานสัมพันธ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ระหว่างสมาคมกับสถาบัน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สถาบัน สมาคม
พลเมืองกับมืออาชีพ   หมวกคนละใบ !!!! ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ในสถาบัน / สมาคมเราจัดการกันยังไง ? สถาบัน / องค์กร สมาคม ใช้วิธีควบคุม  -  จ้าง ยินยอม  -  อาสา ผลิตสินค้า ผลิตบริการ มีความรัก ความผูกพัน พร้อมที่จะให้ ลูกค้า ผู้บริโภค พลเมือง เพื่อนบ้าน อาศัยความจำเป็น อาศัยความสามารถ
การเป็นพันธมิตรกับสถาบันเพื่อนบ้าน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],องค์กรของท่าน เป็นแล้ว กำลังจะเป็น
การเป็นพันธมิตรกับสมาคมหรือชมชมเพื่อนบ้าน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],องค์กรของท่าน เป็นแล้ว กำลังจะเป็น
“ กับใครสักคนที่คอย ห่วงใย  / ใส่ใจ / ผูกพัน  ?” ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],อีกภารกิจของผู้ประสานสัมพันธ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ชุมชนที่ประสพความสำเร็จ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จัดทำแผนที่สมาคม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ทำการบ้าน เพื่อการเมืองภาค “ พลเมือง ” ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วาระแห่งการสนทนาอย่างมีส่วนร่วม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปฏิบัติการขับเคลื่อนชุมชนอย่างมีส่วนร่วม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ทำเนียบสินทรัพย์ขององค์กร ชื่อขององค์กร  คนสามารถติดต่อได้  โทรศัพท์ ชุมชน .................................................. วันที่ ............................................... หน้า ........................................ _________  _________  __________  _________   _________  _________  __________  _________   _________  _________  __________  _________  _________  _________  __________  _________   _________  _________  __________  _________  _________  _________  __________  _________ _________  _________   __________  _________  _________  __________  _________  __________  _________
ทำเนียบกิจกรรม ปฏิบัติการที่ทำร่วมกันในชุมชน  การประเมินผลความสำเร็จ เครื่องมือ ประกอบการปฏิบัติงาน ชุมชน .................................................. วันที่ ............................................... หน้า ........................................ ชนิดของกิจกรรม  ผู้รับผิดชอบ  เวลาที่ทำ  ความแตกต่างไปจากเดิม _________  _________  __________  _________  _________  _________  __________  _________ _________  _________  __________  _________  _________  _________  __________  _________ _________  _________  __________  _________  _________  _________  __________  _________ _________  _________  __________  _________  _________  _________  __________  _________ _________  _________  __________  _________  _________  _________  __________  _________
เมื่อร่วมกันจัดทำทำเนียบ สินทรัพย์ ขุมพลัง หรือ ทุนของชุมชนสำเร็จแล้ว บรรจุสิ่งเหล่านั้นลงไปใน “ แผนที่ สินทรัพย์ชุมชน และ แผนที่เดินดิน ” เพื่อที่จะนำต้นทุนเหล่านี้ไปใช้อย่างมีคุณค่าในอนาคต  ตัวอย่างที่สามารถนำมาลงในแผนที่ คือสินทรัพย์ของแต่ละคน  แต่ละทีมงาน แต่ละองค์กร ระบุถึง กลุ่ม ชมรม เครือข่าย และกิจกรรมที่ผู้คนในชุมชนสามารถเป็นเจ้าภาพ ทำร่วมกันอย่างภาคภูมิใจ ทั้งทางเศรษฐกิจชุมชน ทางสังคม ทางวิถีชีวิตวัฒนธรรม ทางสิ่งแวดล้อม  ทางการศึกษา ตลอดจนทางการเมืองภาคพลเมือง ในแต่ละเรื่องเราสามารถบรรจุลงในแต่ละแผนที่ อย่างหลากหลายและงดงาม  แผนที่สินทรัพย์ชุมชนและแผนที่เดินดิน
ผลงานแผนที่เดินดินของเด็ก ๆ แห่งชมรมผู้บริโภคที่ชาญฉลาด  บ้านสวนดอก ตำบลสวนดอก  และบ้านแม่หอย ตำบลน้ำตกแม่กลาง จอมทอง เชียงใหม่
ผลลัพธ์  – การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ของชุมชนเป็นฐาน (Outcome --ASSET BASED COMMUNITY DEVELOPMENT) ( ปัจเจกชนสนใจเฉพาะเรื่องส่วนตัวเป็นหลัก สัมพันธภาพไม่ได้รับการพัฒนา ) แผนที่ขุมทรัพย์ชุมชน รูปแบบสับพันธภาพ ที่อาศัยเครือข่าย ความไว้วางใจ และปทัศฐาน =  กิจกรรมชุมชน (Community action is one of the outcomes )   ผู้จุดประกาย  “ นวัตกรชุมชน ” แผนผังข้างบนแสดงให้เห็นถึง ความสนใจของปัจเจกชนที่ไม่มีพลังหรือสัมพันธภาพที่ดีต่อกันกันและกัน ไม่มีความเกี่ยวข้องกันและกัน ในเวลาต่อมา จากการจุดประกาย ก่อกระแสกลุ่มพลังในชุมชน การพัฒนาสัมพันธภาพจึงเริ่มขึ้น ลูกศร แสดงถึง ความเกี่ยวข้อง และลักษณะของเครือข่ายใหม่ ซึ่ง เป็นผลลัพธ์ของการสร้างสัมพันธภาพภายหลังการจัดเวทีสาธารณะสื่อสารกันแบบ  2   ทาง นี่คือจุดเริ่มต้นของความเปลี่ยนแปลงในชุมชน ที่มีผลลัพธ์ในเชิงบวก การเสริมสร้างพลังชุมชนจึงเริ่มต้นโดยเป็นกิจกรรมชุมชนที่ทำให้ผู้คนมาค้นหาศักยภาพ และเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันกันและกันในสิ่งดีๆ ที่เคยมีและร่วมทำด้วยกันมา ตั้งแต่สมัยบรรพชนจนถึงปัจจุบัน จัดทำทำเนียบของทุนทางสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมชุมชน  สร้างจินตนาการถึงคุณภาพชีวิตที่ดีและสิ่งที่ปรารถนาจะให้เกิดขึ้นร่วมกันในอนาคต และนำเอาพรสวรรค์ ที่มีอยู่ในผู้คนแต่ละคน มาก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงตามความปรารถนาในที่สุดอย่างมีศิลปะ
หนึ่งในเรื่องสำคัญของการพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐานก็คือ ,[object Object],[object Object],[object Object]
F A M E acilitator dvocate ediator mpowerer MODEL FAME MODEL:   Kanchanakamol U.  : 200 2
รู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักประมาณตน รู้จักกาละ เทศะ รู้จักบุคคล รู้จักชุมชน คุณภาพชีวิตดีขึ้น ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเป็นสุข สังคมเข้มแข็ง FAME MODEL:Kanchanakamol U.  : 200 2 ผู้อำนวยความสะดวก ผู้ก่อกระแสสังคม ผู้ประสานสัมพันธ์ ผู้เสริมสร้างพลัง ชุมชน F A M E (Catalyst) F A M E F A M E
นวัตกรสังคม ผู้นำการเปลี่ยนแปลง วิกฤต / นวัตกรรม นโยบาย สื่อมวลชน เทคโนโลยี ชุมชนสนทนา ชุมชนปฏิบัติการ ประเมินสถานการณ์องค์กร กำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดวัตถุประสงค์ วางแผนปฏิบัติการ เสนอทางเลือกปฏิบัติการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คุณค่าของการมีส่วนร่วม ความขัดแย้ง   /   ความไม่พอใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จัดการ ภายในองค์กร รูปแบบผสมผสานของการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลงชุมชน ความไม่เห็นพ้องต้องกัน สิ่งกระตุ้นจากภายใน ดำเนินงาน ผลกระทบต่อชุมชน  :   ชุมชนาภิวัฒน์ อุปสรรค / การสนับสนุนจากภายนอก ความเปลี่ยนแปลงของปัจเจกชน ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเมินผล อย่างมีส่วนร่วม รับรู้ความ ท้าทายต่อ การเปลี่ยนแปลง ระบุและก่อเกิดภาคี แกนนำ / ผู้นำการเปลี่ยนแปลง และผู้มีส่วนได้เสีย เตรียมทีมแกนนำ  / ผู้นำการเปลี่ยนแปลง จัดทำ ทำเนียบ / แผนที่  สินทรัพย์ชุมชน กำหนดธรรมนูญพลเมือง กระจายบทบาท / ความรับผิดชอบ ติดตาม / ดูแล
นวัตกรสังคม ชุมชนปฏิบัติการรวมหมู่ รับรู้ความ ท้าทายต่อ การเปลี่ยนแปลง ระบุและก่อเกิดภาคี แกนนำ / ผู้นำการเปลี่ยนแปลง และผู้มีส่วนได้เสีย เตรียมทีมแกนนำ  / ผู้นำการเปลี่ยนแปลง จัดทำ ทำเนียบ / แผนที่ สินทรัพย์ชุมชน การประเมินสถานการณ์ โครงการ / องค์กร ร่วมกำหนดวิสัยทัศน์ ร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ ร่วมวางแผนปฏิบัติการ กำนดธรรมนูญพลเมือง ร่วมออกแบบทางเลือกปฏิบัติการ กระจายบทบาท / ความรับผิดชอบ ติดตาม / ดูแล จัดการ ภายในองค์กร ดำเนินการ ผลกระทบต่อชุมชน  :   ชุมชนาภิวัฒน์ ความเปลี่ยนแปลงของปัจเจกชน ความเปลี่ยนแปลงของชุมชน ,[object Object],ประเมินผล อย่างมีส่วนร่วม ชุมชนสุนทรียสนทนาสนทนา FAME MODEL:Kanchanakamol U.  : 200 2
เราจะทำ เราทำได้ คำร้อง :  อุทัยวรรณ กาญจนกามล ทำนอง : เพลง  Such As You Such as I จุดประกาย  ในหมู่ผู้คน  ก่อกระแส กลางกลุ่มชุมชน อย่างสดใส  ไร้ความหมองหม่น  เสริมกำลังใจ สร้างสิ่งใหม่ ๆ  เพื่ออนาคต สุขสันต์ สุขสันต์ ฉันทำได้ อยากเปลี่ยนแปลง ในสิ่งที่เห็น  ก็ต้องพร้อม มองโลกให้เป็น ไม่ยอมแพ้ แม้จะลำเค็ญ  ทุกข์สุขบุกบั่น รักอภัยกัน เพื่ออนาคต สุขสันต์ สุขสันต์  เธอทำได้ คิดกันจริงจัง ทำเต็มกำลัง  เพื่ออนาคต สุขสันต์ สุขสันต์ ถึงแม้จะนานสักแค่ไหน  เราจะทำ เราทำได้

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Asset Based Cmmunity Development Thailand

2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60gel2onimal
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน krupornpana55
 
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติPoramate Minsiri
 
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Thaikid Library Network and Community
Thaikid Library Network and CommunityThaikid Library Network and Community
Thaikid Library Network and CommunityMaykin Likitboonyalit
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยPoramate Minsiri
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองTum Meng
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนMaykin Likitboonyalit
 

Ähnlich wie Asset Based Cmmunity Development Thailand (20)

2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
 
Library for AEC
Library for AECLibrary for AEC
Library for AEC
 
Final csr booklet 2010
Final   csr booklet 2010Final   csr booklet 2010
Final csr booklet 2010
 
Youth council
Youth councilYouth council
Youth council
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60ผู้สูงอายุ60
ผู้สูงอายุ60
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
 
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
2554 โครงการทำดีไร้ยางอายกับเด็กชายแว่นโต
 
Thaikid Library Network and Community
Thaikid Library Network and CommunityThaikid Library Network and Community
Thaikid Library Network and Community
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
Academic Service
Academic ServiceAcademic Service
Academic Service
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
 

Asset Based Cmmunity Development Thailand

  • 1. โครงการพัฒนาบุคลากร ศูนย์อนามัยที่ 10 สู่การเป็นองค์กรต้นแบบคนไทยไร้พุง ณ โรงแรมลานนาพาเลส เชียงใหม่ วันที่ 12-14,15-17 กรกฎาคม 2009 เอกสารประกอบการประชุม 1 ผู้นำกับการเปลี่ยนแปลงร่วมสมัย 2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการพัฒนาชุมชน 3 การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน 4 สุนทรียปรัศนีไขสู่การพัฒนาร่วมสมัย 5 นวัตกรสังคม 6 สมุดบันทึกการทำงานของนวัตกรสังคม 7 เทคโนโลยีของการมีส่วนร่วม วิธีการเอื้ออำนวยการใช้ระบวนการกลุ่ม 8 การอภิปรายอย่างมีส่วนร่วม และการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 9 การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. เป็นที่ประจักษ์ชัดว่า มนุษย์ทุกคนต่างก็มีความจำเป็นหรือความขาดแคลนด้วยกันทั้งสิ้น เช่นเดียวกันกับการมีความสามารถและพรสวรรค์ อยู่ในตัวสมาชิกของชุมชนทุกคน ข้อเท็จจริงนี้ทำให้เรานึกถึงแก้วน้ำ ที่มีน้ำอยู่ครึ่งแก้ว จึงมีลักษณะน้ำพร่องไปครึ่งแก้ว หรือน้ำมีอยู่ครึ่งแก้ว อย่างไรก็ตาม ผู้คนสามารถสร้างชุมชนของเขาให้เข้มแข็งได้ ก็ด้วยส่วนของความสามารถที่สมาชิกของชุมชนมีอยู่ เพราะฉะนั้นข้อมูลพื้นฐานที่ จำเป็นเพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งก็คือทำเนียบความสามารถของผู้คนในท้องถิ่นนั้นเอง ชุมชนขาดแคลน ชุมชนมีความสามารถและมีสินทรัพย์ ความท้าทายในการมองชุมชน ที่โชคร้ายไปกว่านั้นก็คือ สมาชิกของชุมชนในบางชุมชนมีความเชื่อที่ผิดๆว่า เขาสามารถสร้างชุมชนของเขาได้ โดยการจัดทำ ทำเนียบของความขาดแคลน ไปขอรับการสนับสนุนจากภายนอก ซึ่งก็ได้ผล แม้กระทั่งรัฐบาลไทยในบางยุคสมัย ก็ยังให้ประชาชนไปลงทะเบียนความยากจน ซึ่งสามารถนับจำนวนหัวได้ว่า ในชุมชนมีคนที่บรรจุความว่างเปล่า ไว้เป็นจำนวนเท่าใด ปัญหาก็คือข้อมูลนี้ใช้ไม่ได้สำหรับสร้างชุมชน เพราะเหตุว่า มันใช้สำหรับเป็นข้อมูลผู้บริโภค หรือไม่ก็แสดงศักยภาพความเป็นลูกค้า หรือผู้ขอรับบริการในอนาคต ซึ่งบอกถึงความอ่อนแอ ในขณะที่ชุมชนที่เข้มแข็งจะมีก็แต่ผู้คนที่มีฐานะเป็นพลเมือและผู้ผลิตเท่านั้น
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. ในสถาบัน / สมาคมเราจัดการกันยังไง ? สถาบัน / องค์กร สมาคม ใช้วิธีควบคุม - จ้าง ยินยอม - อาสา ผลิตสินค้า ผลิตบริการ มีความรัก ความผูกพัน พร้อมที่จะให้ ลูกค้า ผู้บริโภค พลเมือง เพื่อนบ้าน อาศัยความจำเป็น อาศัยความสามารถ
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34. ทำเนียบสินทรัพย์ขององค์กร ชื่อขององค์กร คนสามารถติดต่อได้ โทรศัพท์ ชุมชน .................................................. วันที่ ............................................... หน้า ........................................ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ __________ _________ __________ _________
  • 35. ทำเนียบกิจกรรม ปฏิบัติการที่ทำร่วมกันในชุมชน การประเมินผลความสำเร็จ เครื่องมือ ประกอบการปฏิบัติงาน ชุมชน .................................................. วันที่ ............................................... หน้า ........................................ ชนิดของกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ เวลาที่ทำ ความแตกต่างไปจากเดิม _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________ _________ _________ __________ _________
  • 36. เมื่อร่วมกันจัดทำทำเนียบ สินทรัพย์ ขุมพลัง หรือ ทุนของชุมชนสำเร็จแล้ว บรรจุสิ่งเหล่านั้นลงไปใน “ แผนที่ สินทรัพย์ชุมชน และ แผนที่เดินดิน ” เพื่อที่จะนำต้นทุนเหล่านี้ไปใช้อย่างมีคุณค่าในอนาคต ตัวอย่างที่สามารถนำมาลงในแผนที่ คือสินทรัพย์ของแต่ละคน แต่ละทีมงาน แต่ละองค์กร ระบุถึง กลุ่ม ชมรม เครือข่าย และกิจกรรมที่ผู้คนในชุมชนสามารถเป็นเจ้าภาพ ทำร่วมกันอย่างภาคภูมิใจ ทั้งทางเศรษฐกิจชุมชน ทางสังคม ทางวิถีชีวิตวัฒนธรรม ทางสิ่งแวดล้อม ทางการศึกษา ตลอดจนทางการเมืองภาคพลเมือง ในแต่ละเรื่องเราสามารถบรรจุลงในแต่ละแผนที่ อย่างหลากหลายและงดงาม แผนที่สินทรัพย์ชุมชนและแผนที่เดินดิน
  • 37. ผลงานแผนที่เดินดินของเด็ก ๆ แห่งชมรมผู้บริโภคที่ชาญฉลาด บ้านสวนดอก ตำบลสวนดอก และบ้านแม่หอย ตำบลน้ำตกแม่กลาง จอมทอง เชียงใหม่
  • 38. ผลลัพธ์ – การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ของชุมชนเป็นฐาน (Outcome --ASSET BASED COMMUNITY DEVELOPMENT) ( ปัจเจกชนสนใจเฉพาะเรื่องส่วนตัวเป็นหลัก สัมพันธภาพไม่ได้รับการพัฒนา ) แผนที่ขุมทรัพย์ชุมชน รูปแบบสับพันธภาพ ที่อาศัยเครือข่าย ความไว้วางใจ และปทัศฐาน = กิจกรรมชุมชน (Community action is one of the outcomes ) ผู้จุดประกาย “ นวัตกรชุมชน ” แผนผังข้างบนแสดงให้เห็นถึง ความสนใจของปัจเจกชนที่ไม่มีพลังหรือสัมพันธภาพที่ดีต่อกันกันและกัน ไม่มีความเกี่ยวข้องกันและกัน ในเวลาต่อมา จากการจุดประกาย ก่อกระแสกลุ่มพลังในชุมชน การพัฒนาสัมพันธภาพจึงเริ่มขึ้น ลูกศร แสดงถึง ความเกี่ยวข้อง และลักษณะของเครือข่ายใหม่ ซึ่ง เป็นผลลัพธ์ของการสร้างสัมพันธภาพภายหลังการจัดเวทีสาธารณะสื่อสารกันแบบ 2 ทาง นี่คือจุดเริ่มต้นของความเปลี่ยนแปลงในชุมชน ที่มีผลลัพธ์ในเชิงบวก การเสริมสร้างพลังชุมชนจึงเริ่มต้นโดยเป็นกิจกรรมชุมชนที่ทำให้ผู้คนมาค้นหาศักยภาพ และเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันกันและกันในสิ่งดีๆ ที่เคยมีและร่วมทำด้วยกันมา ตั้งแต่สมัยบรรพชนจนถึงปัจจุบัน จัดทำทำเนียบของทุนทางสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมชุมชน สร้างจินตนาการถึงคุณภาพชีวิตที่ดีและสิ่งที่ปรารถนาจะให้เกิดขึ้นร่วมกันในอนาคต และนำเอาพรสวรรค์ ที่มีอยู่ในผู้คนแต่ละคน มาก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงตามความปรารถนาในที่สุดอย่างมีศิลปะ
  • 39.
  • 40. F A M E acilitator dvocate ediator mpowerer MODEL FAME MODEL: Kanchanakamol U. : 200 2
  • 41. รู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักประมาณตน รู้จักกาละ เทศะ รู้จักบุคคล รู้จักชุมชน คุณภาพชีวิตดีขึ้น ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเป็นสุข สังคมเข้มแข็ง FAME MODEL:Kanchanakamol U. : 200 2 ผู้อำนวยความสะดวก ผู้ก่อกระแสสังคม ผู้ประสานสัมพันธ์ ผู้เสริมสร้างพลัง ชุมชน F A M E (Catalyst) F A M E F A M E
  • 42.
  • 43.
  • 44. เราจะทำ เราทำได้ คำร้อง : อุทัยวรรณ กาญจนกามล ทำนอง : เพลง Such As You Such as I จุดประกาย ในหมู่ผู้คน ก่อกระแส กลางกลุ่มชุมชน อย่างสดใส ไร้ความหมองหม่น เสริมกำลังใจ สร้างสิ่งใหม่ ๆ เพื่ออนาคต สุขสันต์ สุขสันต์ ฉันทำได้ อยากเปลี่ยนแปลง ในสิ่งที่เห็น ก็ต้องพร้อม มองโลกให้เป็น ไม่ยอมแพ้ แม้จะลำเค็ญ ทุกข์สุขบุกบั่น รักอภัยกัน เพื่ออนาคต สุขสันต์ สุขสันต์ เธอทำได้ คิดกันจริงจัง ทำเต็มกำลัง เพื่ออนาคต สุขสันต์ สุขสันต์ ถึงแม้จะนานสักแค่ไหน เราจะทำ เราทำได้

Hinweis der Redaktion

  1. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  2. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  3. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  4. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  5. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  6. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  7. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  8. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  9. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  10. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  11. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  12. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  13. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  14. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  15. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  16. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  17. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  18. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  19. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  20. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  21. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  22. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  23. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  24. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  25. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  26. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  27. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  28. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  29. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  30. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  31. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  32. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  33. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  34. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  35. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  36. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  37. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  38. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  39. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  40. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  41. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  42. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  43. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln
  44. Center for Applied Rural Innovation University of Nebraska, Lincoln