SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
พยาบาลวิชาชีพสุทธินีสุดใจ
ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมะเร็งศีรษะและลาคอ
งานการพยาบาลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลรามาธิบดี
4 พฤศจิกายน2560
มะเร็งบริเวณกล่องเสียงและคอหอยพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง พบได้ร้อยละ 36.7 ของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะ
และลาคอทั้งหมด(ชัยวีระวัฒนะศุลีพรแสงกระจ่างปิยวัฒน์เลาวหุตานนท์และวทินันท์เพชรฤทธิ์ ,2560)บริเวณนี้มี
หลอดน้าเหลืองและเส้นเลือดใหญ่มากมายมาเลี้ยงทาให้มีความเสี่ยงที่มะเร็งจะแพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียงและ
อวัยวะอื่นๆทั่วร่างกายได้ง่ายการตรวจร่างกายประกอบด้วยการซักประวัติการส่องกล้องในลาคอเพื่อประเมินขนาด
ของก้อนมะเร็ง ตาแหน่งของก้อน ความสามารถในการขยับสายเสียง การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ และการตรวจทางรังสี
วินิจฉัยเพื่อตรวจดูก้อนมะเร็งในระดับลึกในเนื้อเยื่อโดยการตรวจComputertomography(CT)หรือPositronemission
tomography (PET) เพื่อแบ่งระยะของโรค นอกจากนี้ยังต้องประเมินความสามารถในการกลืน การพูด และการ
รับประทานอาหารด้วย(Chen,2017)
Anatomy of Larynxand Hypopharynx
https://www.healthtap.com/user_questions/240259 http://california.providence.org/tarzana/health-library/content/
?contentTypeID=3&contentID=84507&language=en#
การแบ่งระยะของโรคจะแบ่งตามระบบTNM ระดับความรุนแรงขึ้นอยู่กับตาแหน่งและการแพร่กระจาย ได้แก่
บริเวณ supraglottisglottis subglottis และ hypopharynx ตาแหน่งและการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองและการ
แพร่กระจายของมะเร็งไปยังอวัยวะอื่นทั่วร่างกายการแบ่งโรคช่วยในการวางแผนการรักษาและติดตามการรักษาของ
ผู้ป่วย
2
การทาผ่าตัดกล่องเสียง
การทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด(Total Laryngectomy)
(http://dribrook.blogspot.com/p/urgent-care-and-cpr-of-laryngectomees.html)
การทาผ่าตัดกล่องเสียงออกบางส่วน
(http://dribrook.blogspot.com/p/urgent-care-and-cpr-of-laryngectomees.html)
การทาผ่าตัด partial laryngectomy การทาผ่าตัด supraglottic laryngectomy.
การทาผ่าตัดlaryngectomywithcricohyoidoepiglottopexy(CHEP)orcricohyoidopexy(CHP).
3
แผนการรักษาและติดตามการรักษาของผู้ป่วย (Chen,2017) ดังนี้
1. การรักษามะเร็งบริเวณGlottis
2. การรักษามะเร็งบริเวณSubglottis
3. การรักษามะเร็งบริเวณHypopharynx
การรักษามะเร็งบริเวณGlottis
ระยะที่เปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งในเซลล์รักษาโดยการทาผ่าตัดหรือการทาเลเซอร์ในกรณีที่มีการแพร่กระจายไป
ยังเซลล์รอบๆจึงจะรักษาโดยการฉายรังสี โดยจะไม่มีการฉายรังสีในระยะที่มีการเปลี่ยนเป็นมะเร็งภายในเซลล์ทุก
กรณี (Chen,2017)
ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ส่วนใหญ่จะเลือกการรักษาโดยการฉายรังสีเพราะเซลล์ส่วนใหญ่จะตอบสนองต่อการ
รักษาด้วยรังสีรักษาและสามารถควบคุมมิให้เกิดการแพร่กระจายไปยังเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆ ก้อนมะเร็งด้วย หรือ
บางครั้งแพทย์จะเลือกการทาผ่าตัดนาก้อนมะเร็งออกทั้งก้อนก็ได้ส่วนใหญ่การทาผ่าตัดจะเป็นการทาผ่าตัดที่รักษา
อวัยวะไว้ มีการทาผ่าตัดกล่องเสียงเพียงบางส่วน หลังผ่าตัดผู้ป่วยสามารถพูดมีเสียง แต่กรณีที่ปอดทางานไม่มี
ประสิทธิภาพทาให้เสี่ยงต่อการสูดสาลัด หรืออายุมากมีความเสี่ยงสูงในการทาผ่าตัดจะเลือกการทาผ่าตัดกล่องเสียง
ออกทั้งหมดแทนหรือในกรณีที่รับการรักษาด้วยรังสีแล้วไม่มีการตอบสนองจะพิจารณาทาผ่าตัดซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่จะ
ยังไม่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองจึงไม่จาเป็นต้องผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ข้างลาคอ(Chen,2017)
ระยะที่ 3 การรักษาประกอบด้วยการทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดและรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัด การ
รับเคมีบาบัดอาจพิจารณาเป็นรายบุคคลโดยเฉพาะในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองหลายบริเวณ หรือมี
ความเสี่ยงในการการแพร่กระจายสูงบางสถาบันระบุว่าต้องให้ผู้ป่วยรับเคมีบาบัดร่วมด้วยเสมอ(Chen,2017)
ระยะที่ 4 ผู้ป่วยควรได้รับการทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด ร่วมกับรังสีรักษาและเคมีบาบัดภายหลังการทา
ผ่าตัด หรือร่วมกับการรรักษาแบบมุ่งเป้า การให้รังสีรักษาต้องครอบคลุมบริเวณต่อมน้าเหลืองทั้ง 2 ข้าง ในระดับ2 3
และ 5 รวมทั้งบริเวณsupraclavicallymph nodes (Chen,2017)
4
การรักษามะเร็งบริเวณSubglottis
ระยะที่1 และ2 การรักษาด้วยการทาผ่าตัดและการฉายรังสีได้ผลการรักษาไม่ต่างกันในกรณีมีมะเร็งก้อนเล็กๆ
สามารถใช้เลเซอร์ในการรักษาได้ในกรณีที่ก้อนมะเร็งใหญ่ขึ้นให้ทาผ่าตัดsupraglotticlaryngectomyแต่มีความเสี่ยงที่
จะเกิดการสูดสาลักได้ภายหลังการทาผ่าตัดจึงต้องมีการบริหารเพื่อฟื้นฟูการกลืนในกรณีที่ผู้ป่วยมีการทางานของปอด
ไม่ดีจึงไม่สามารถทาผ่าตัด supraglottic laryngectomy ได้ ในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองอาจต้องทา
ผ่าตัดก้อนมะเร็งต่อมน้าเหลืองที่ลาคอและรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัด(Chen,2017)
ระยะที่3 การทาผ่าตัดบางรายอาจเก็บกล่องเสียงไว้ได้ ขึ้นอยู่กับอวัยวะที่มะเร็งกระจายไปโดยเฉพาะมะเร็งที่
กระจายไปบริเวณ arytenoidcartilage จะมีการแพร่กระจายไปได้มากหลังผ่าตัดผู้ป่วยจะต้องพิจารณาผลการตรวจชิ้น
เนื้อ การแพร่กระจายไปยังหลอดเลือดต่อมน้าเหลืองเพื่อประกอบการพิจารณาว่าจะต้องรับรังสีรักษาหลังผ่าตัดหรือไม่
(Chen,2017)
ระยะที่4 จะต้องทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดและรับรังสีรักษาหลังผ่าตัด กรณีที่ผลการตรวจชิ้นเนื้อพบว่า
ขอบเขตของก้อนมะเร็งชิดขอบแผลที่ผ่าตัดจะต้องรับเคมีบาบัดร่วมด้วย(Chen,2017)
การรักษาทุกระยะต้องทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด การรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัดในกรณีที่ผลการ
ตรวจชิ้นเนื้อพบว่าขอบเขตของก้อนมะเร็งชิดขอบแผลที่ผ่าตัด ผลการรักษาขึ้นอยู่กับขนาดของก้อนมะเร็ง (Chen,
2017)
การติดตามการรักษา(DeFelice et al., 2017)
หลังรักษาสองปีแรกติดตามการรักษาทุก3เดือนปีที่สามถึงปีที่ห้าติดตามการรักษาทุก6เดือนและพิจารณานัด
ติดตามการรักษาตามอาการการตรวจทางรังสีวินิจฉัยให้เริ่มหลังทาการรักษาครบแล้วเดือนที่ 3และเดือนที่9
การรักษามะเร็งบริเวณHypopharynx
ระยะที่1 และ2 รักษาด้วยรังสีรักษาอาจร่วมกับการทาผ่าตัดpartialpharynxgectomyการฉายรังสีอย่างเดียวช่วย
จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถพูดและกลืนได้เกือบเท่าปกติ ในกรณีที่มีการกระจายไปยังต่อมน้าเหลืองจะต้องพิจารณารับ
รังสีรักษาและเคมีบาบัดร่วมด้วย(Chen,2017)
ระยะที่3 สามารถทาผ่าตัดเพื่อรักษากล่องเสียงร่วมกับการรับเคมีบาบัด (Chen,2017)
ระยะที่4 ควรทาผ่าตัดร่วมกับเคมีบาบัดและรังสีรักษา กรณีที่ไม่สามารถผ่าตัดได้จะต้องให้เคมีบาบัดและรังสี
รักษาโดยผลการรักษาขึ้นอยู่กับอาการของโรค(Chen,2017)
5
การติดตามการรักษา(DeFelice et al., 2017)
หลังรักษาสองปีแรกติดตามการรักษาทุก 3 เดือนต่อจากนั้นติดตามการรักษาทุก 6 เดือน เป็นระยะเวลา 5 ปี
ต่อจากนั้นพิจารณาตามอาการหลังการรักษาให้ตรวจทางรังสีวินิจฉัยในเดือนที่ 3 และเดือนที่9
มะเร็งต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์มีลักษณะคล้ายผีเสื้อ อยู่บริเวณด้านหน้าและด้านข้างของหลอดลมมี2 ข้าง ซ้ายและขวา วางอยู่
บริเวณtrachealring ที่ 2-4 เป็นต่อมที่มีสีน้าตาลแดงถูกปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบริเวณใกล้เคียงมีหลอดเลือดแดง
ใหญ่หลอดเลือดดาใหญ่ท่อน้าเหลืองและเส้นประสาทที่สัมพันธ์กับต่อมไทรอยด์(มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556) โดย
มะเร็งต่อมไทรอยด์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
http://www.thaigoodview.com/node/75590
การแบ่งชนิดของมะเร็งต่อมไทรอยด์แบ่งเป็น3ประเภทดังนี้
1 มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดdifferentiated
2. มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดanaplastic
3. มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดอื่น
มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด differentiated หมายถึงมะเร็งที่เปลี่ยนแปลงมาจากเซลล์ของต่อมไทรอยด์เอง รวมถึง
มะเร็งชนิด papillary follicular และ HÜrthle cellเป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์พี่พบมากที่สุด การตรวจ ตรวจด้วย อัลตรา
ซาวน์และ fine needle aspiration biopsy (FNAB)(มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556)
การรักษา (มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556)
1. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดเล็กกว่า 1 เซนติเมตร มีความเสี่ยงต่า สามารถทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ด้านที่เป็น
มะเร็งเพียงด้านเดียวได้
6
2. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดเล็กกว่า 2-4 เซนติเมตรต้องพิจารณาว่าควรทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกด้านเดียว
หรือสองด้านขึ้นอยู่กับการประเมินว่ามีการเป็นมะเร็งทั้งสองด้านหรือไม่ควรประเมินด้วยอัลตราซาวน์กรณีที่มีความ
เสี่ยงสูงต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งสองด้าน
3. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดใหญ่กว่า4เซนติเมตรแนะนาทาผ่าตัดไทรอยด์ออกทั้งสองข้าง
มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด anaplastic หมายถึง มะเร็งที่มีเซลล์ชนิดต่างๆ รวมกันได้แก่spindle polygonal และ
giantcells ส่วนใหญ่มักพบมะเร็งชนิด well-differentiated ร่วมด้วย มักมาพบแพทย์ด้วยอาการมีก้อนที่ลาคอ โตเร็ว
ส่วนใหญ่เป็นก้อนที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตรก้อนมีลักษณะแข็ง มีหลายก้อนอยู่ทั่วต่อมไทรอยด์ทั้งสองข้างและ
ติดแน่นกับอวัยวะข้างเคียงและมีการลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงทาให้เกิดการกดเบียดอวัยวะข้างเคียงอาจพบในผู้ที่มี
ประวัติเป็นคอพอกมาก่อนการรักษาประกอบด้วย การทาผ่าตัด การให้รังสีรักษาและเคมีบาบัด และ การรักษาด้วย
Targeted therapy แต่ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยตอบสนองต่อเคมีบาบัดและรังสีรักษา (สาธิต ศรีมัทยามาศ และ พรชัยโอ
เจริญรัตน์.,2556).
การรักษาด้วยการทาผ่าตัดเป็นการรักษามีวัตถุประสงค์ให้หายและประคับประคองอาการ
การรักษาด้วยการทาผ่าตัดแบ่งได้ดังนี้
1. การรักษาให้หายในกรณีที่มะเร็งยังไม่มีการกระจายออกนอกต่อมไทรอยด์และยังไม่มีการกระจายไปยังอวัยวะ
อื่นๆ(ระยะ 4A)การผ่าตัดสามารรถนาก้อนมะเร็งและมีขอบเขตเนื้อดีเพียงพอที่มะเร็งไม่แพร่กระจายรวมทั้งเลาะต่อม
น้าเหลืองข้างไทรอยด์ออกได้หมดแต่อัตราการกลับเป็นซ้ายังพบได้สูงมากผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รังสีรักษาร่วมด้วย บาง
กรณีจะให้เคมีบาบัดร่วมด้วย
2. การรักษาแบบประคับประคองอาการในกรณีที่เป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์ระยะ 4B และ 4C โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มี
ภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นทางเดินหายใจผู้ที่ผ่าตัดเอาก้อนเนื้อเฉพาะส่วนที่กดเบียดหลอดลมอยู่การทาผ่าตัดไม่มุ่งหวัง
เพื่อเพิ่มอัตราการรอดชีวิตแต่มุ่งช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
นอกจากนี้แล้วยังมีเซลล์มะเร็งชนิดอื่นๆได้แก่มะเร็งสแควร์มัสเซลล์พบได้น้อยรักษาโดยการทาผ่าตัดและรังสี
รักษา การรักษามะเร็งชนิด intermediated differentiated ชนิดอินซูลาร์จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมด ชนิด
เซลล์ Columnar จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดร่วมกับการทาผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ มะเร็งชนิด
Mucoepidermoid จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดมะเร็งpapillary ชนิด diffuse sclerosing variant และ มะเร็ง
papillary ชนิด Tallcellvariant จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดและตัดบริเวณที่อาจลุกลามไปและการผ่าตัด
ต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ มะเร็ง papillary ชนิด Solid/trabecular variant ต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดและการ
ผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอร่วมกับการรักษาด้วยไอโอดีน
7
เอกสารอ้างอิง
มงคล บุญศรีพิทยานนท์. (2556). กายวิภาคและสรีรวิทยาของต่อมไทรอยด์และอวัยวะที่เกี่ยวข้อง. ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์จุฑาภิ
สิทธ์ และ วิษณุ โล่สิริวัฒน์ (บก.), Update in thyroid disease ศัลยศาสตร์ ศีรษะ-คอ และเต้านม Head Neck and Brest Surgery
(Vol. 7,pp.1-22).กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพเวชสาร.
สาธิต ศรีมัทยามาศ และ พรชัย โอเจริญรัตน์. (2556). มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดอะนาพลาสติกและมะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดที่พบไม่บ่อย.
ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์จุฑาภิสิทธิ์ และ วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ (บก.), Update in Thyroid Disease ศัลยศาสตร์ ศีรษะ-คอ
และเต้านม NeadNeckandBreast Surgery(Vol. 7,pp. 357-388).กรุงเทพมหานคร:กรุงเทพเวชสาร.
ชัยวีระวัฒนะ ศุลีพร แสงกระจ่าง ปิยวัฒน์ เลาวหุตานนท์และ วทินันท์เพชรฤทธิ์ (2560). ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2558
Hospital-basedcancerregestry.กรุงเทพฯ: PornsupPrinting.
Chen,C. (2017).LarynxandHypopharynxInW. S. Jr (Ed.), Clinical Radiation Oncology:Indications,Techniques,andResult (Third
Edition ed.,pp. 227-247).NJ: JohnWiley & Sons, Inc.
De Felice, F., de Vincentiis, M., Valentini, V., Musio, D., Mezi, S., Lo Mele, L., Terenzi, V., D'Aguanno, V., Cassoni, A., Di Brino,
M., Tenore, G., Bulzonetti, N., Battisti, A., Greco, A., Pompa, G., Minni, A., Romeo, U., Cortesi, E., Polimeni, A., &
Tombolini, V. (2017). Follow-up program in head and neck cancer. Crit Rev Oncol Hematol, 113, 151-155.
doi:10.1016/j.critrevonc.2017.03.012.
Golusinski,W. (2017).TheRole of ConventionalSurgeryin OropharyngealCancer.RecentResults Cancer Res,206,185-195.
doi:10.1007/978-3-319-43580-0_14
Manos, M., Giralt, J., Rueda, A., Cabrera, J., Martinez-Trufero, J., Marruecos, J., Lopez-Pousa, A., Rodrigo, J. P., Castelo, B.,
Martinez-Galan, J., Arias, F., Chaves, M., Herranz, J. J., Arrazubi, V., Baste, N., Castro, A., & Mesia, R. (2 0 1 7 ).
Multidisciplinary management of head and neck cancer: First expert consensus using Delphi methodology from the Spanish
Society for HeadandNeck Cancer(part 1).Oral Oncol, 70,58-64.doi:10.1016/j.oraloncology.2017.04.004.
Rueda,A., Giralt, J., Manos,M.,Lozano,A.,Sistiaga, A.,Garcia-Miragall, E., Cacicedo,J., Esteban,F., Scola, B., Contreras,J., Ruiz,
A., Carral, A.,Sanchez-Aniceto,G., Pastor, M.,Herranz, J.J., Bernal, M.,& Mesia,R. (2017).Multidisciplinarymanagement
of head and neck cancer: First expert consensus using Delphi methodology from the Spanish Society for Head and Neck
Cancer(part 2). Oral Oncol,70,65-72.doi:10.1016/j.oraloncology.2017.04.005
SIGN. (2006). Diagnosis and management of head and neck cancer A national clinical guideline. EN: Scottish Intercollegiate
Guidelines Network.
8
การผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ
ต่อมน้าเหลืองบริเวณศีรษะและลาคอพบได้หนึ่งในสามของต่อมน้าเหลืองทั้งหมดของร่างกาย
ภาพแสดงต่อมน้าเหลืองบริเวณศีรษะและลาคอ ภาพแสดงเส้นสมมุติที่แบ่งบริเวณต่อมน้าเหลือง
(http://www.newhealthadvisor.com/Swollen-Occipital-Lymph-Node.html)
การไหลเวียนน้าเหลือง
(http://clickcash4you.blogspot.com/2009/08/3.html๗
โดยปกติหัวใจจะปั๊มเลือดที่มีออกซิเจนจานวนมากเข้าหลอดเลือดเพื่อส่งอาหารไปเลี้ยงร่างกายในขณะที่เลือด
ไหลเวียนไปตามหลอดเลือดใหญ่ที่เรียกว่า arteries จะมีการไหลไปเรื่อยๆจนถึงหลอดเลือดเล็กๆที่เรียกว่า capillaries
9
น้าจะซึมออกจาก capillaries เข้าไปในเนื้อเยื่อใกล้เคียง เมื่อน้าเข้าไปในเนื้อเยื่อจะทาให้เนื้อเยื่อบวมน้า ดังนั้นระบบ
น้าเหลืองจะกรองและส่งน้ากลับไปในหลอดเลือดและยังกาจัดwasteproductsออกจากผิวหนังถ้าสิ่งปฏิกูลเหล่านั้นไม่
ถูกขจัดออกจะทาให้ผิวหนังมีรอยแผลเป็นและกลายเป็นเนื้อแข็งๆได้โดยปกติร่างกายเรามีต่อมน้าเหลืองประมาณ
500-700ต่อมอยู่ทั่วร่างกายและมีมากที่สุดบริเวณศีรษะและลาคอต่อมน้าเหลืองจานวนมากจะอยู่บริเวณรอบๆอวัยวะ
ของร่างกายมีการไหลเวียนของน้าเหลืองจากผิวหนังปกติไปสู่ต่อมน้าเหลืองแต่ถ้ามีความเสียหายหรือถูกตัดออกจะทา
ให้น้าเหลืองไหลเวียนไม่สะดวกปกติต่อมน้าเหลืองมีหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคเมื่อมีการติดเชื้อน้าเหลืองจะไปกาจัดเชื้อ
โรคก่อนที่เลือดจะไหลเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิต(ValerieW. Collins, 2012)
การแพร่กระจายของมะเร็งบริเวณศีรษะและลาคอมักมีรูปแบบการกระจายที่สามารถทานายได้ และคาดเดา
กระจายไปตาแหน่งใดในลาดับต่อไปในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองแล้วควรผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลือง
ที่ลาคอออก สาหรับกรณีที่มีความเสี่ยงสูงแต่ยังไม่พบการแพร่กระจายควรเลาะต่อมน้าเหลืองกลุ่มเสี่ยงเพื่อไม่ให้เกิด
การแพร่กระจายออกไปยังต่อมน้าเหลืองบริเวณที่ไกลมากขึ้นการผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองที่ลาคอมีเป้าหมายเพื่อ
ควบคุมโรคสามารถแบ่งได้เป็นประเภทต่างๆดังนี้
1. การทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองที่ลาคอออกทั้งหมดโดยหวังผลในการควบคุมโรคและป้องกันการแพร่กระจาย
ของโรคโดยการเลาะต่อมน้าเหลืองออกทั้งแต่ระดับหนึ่งถึงห้าโดยแบ่งเป็นการผ่าตัดRadicalneck dissection (RND)
ที่ทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองออกทั้งหมด การทาผ่าตัด Extended radicalneck dissection มีการทาผ่าตัดเอาส่วนอื่นๆ
ออกมากกว่าการทา RND การทาผ่าตัด Modified radicalneck dissection type I (MRND type I) ที่เก็บเฉพาะ
เส้นประสาทเส้นที่11 การทาผ่าตัด Modified radicalneck dissection type II (MRND type II) ที่เก็บเส้นประสาทเส้นที่
11 และกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid แล ะ Modified radicalneck dissection type III (MRND type III) ที่เก็บ
เส้นประสาทเส้นที่11กล้ามเนื้อsternocleidomastoidและหลอดเลือดดาinternaljugular
2. การทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองเฉพาะระดับ(Selectiveneckdissection) พิจารณาทาในกระณีตรวจไม่พบการ
แพร่กระจายมายังต่อมน้าเหลืองแต่เป็นมะเร็งปฐมภูมิที่มีความเสี่ยงสูงที่จะแพร่กระจายได้แก่มะเร็งในช่องปากตั้งแต่
ระยะ T2 เป็นต้นไปหรือก้อนมะเร็งมีความหนากว่าสี่มิลลิเมตรเป็นต้นไป โดยมุ่งเน้นการผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลือง
ระดับแรกๆที่เสี่ยงต่อการแพร่กระจายของมะเร็งระหว่างการผ่าตัดถ้าพบต่อมน้าเหลืองที่โตผิดปกติให้ส่งตรวจfrozen
section ถ้าพบการแพร่กระจายต้องผ่าตัดต่อมน้าเหลืองชนิด Modified radicalneck dissection ไปเลย (พงศ์เทพ พิศาล
ธุรกิจ และพรชัยโอเจริญรัตน์,2556)
10
การทาผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอชนิดต่างๆ
การทาNeck dissection ชนิดต่างๆ
(https://clinicalgate.com/cancer-of-the-head-and-neck-2/)
การทาSelective Neck Dissection
(http://imaging.ubmmedica.com/cancernetwork/journals/oncology/images/o0010cf2.gif)
11
เอกสารอ้างอิง
พงศ์เทพพิศาลธุรกิจและพรชัยโอเจริญรัตน์.(2556).การผ่าตัดเลาะต่อมน้่าเหลืองที่ลาคอNeckdissection:How I do
it.ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์ จุฑาภิสิทธิ์ และ วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ (บก.), Update in thyroid disease
ศัลยศาสตร์ศีรษะ-คอ และ เต้านม Head Neck and Breast Surgery (Vol. 7,pp. 282-297).กรุงเทพมหานคร:
กรุงเทพเวชสาร.
การทา flapgraftและreconstruction
การทาRadial forearmflap (http://www.microsurgeryeducation.com/p/head-and-neck.html)
การทาผ่าตัดALT (anterolateralthigh flap) or lateral arm การผ่าตัดLateralarm flap
(http://www.microsurgeryeducation.com/p/head-and-neck.html)

More Related Content

What's hot

วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
techno UCH
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
Apinya Phuadsing
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
da priyada
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
Aomiko Wipaporn
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
Wichai Likitponrak
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 

What's hot (20)

การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพวิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
วิธีอ่านผลตรวจสุขภาพ
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
14แบบทดสอบสารพันธุกรรม
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบสใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
ใบกิจกรรมที่ 7 การรักษาดุลยภาพของกรดเบส
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 

Similar to มะเร็งกล่องเสียงคอหอย

มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
Wan Ngamwongwan
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
นพ มีวงศ์ธรรม
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
โฮลลี่ เมดิคอล
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
Wan Ngamwongwan
 
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลการตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
thaibreastcancer
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
santti2055
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
taem
 

Similar to มะเร็งกล่องเสียงคอหอย (20)

มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
การรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอดการรักษามะเร็งปอด
การรักษามะเร็งปอด
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
101245
101245101245
101245
 
101245
101245101245
101245
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดมะเร็งปอด
มะเร็งปอด
 
Gynecologic Malignancy
Gynecologic MalignancyGynecologic Malignancy
Gynecologic Malignancy
 
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนลการตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
การตรวจต่อมน้ำเหลืองเซนติเนล
 
การรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็งการรักษามะเร็ง
การรักษามะเร็ง
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านมการรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
 
โรคมะเร็ง
โรคมะเร็งโรคมะเร็ง
โรคมะเร็ง
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 

More from Sutthinee Sudchai

More from Sutthinee Sudchai (19)

P TLG cu 2018.02.06 v1
P TLG cu 2018.02.06 v1P TLG cu 2018.02.06 v1
P TLG cu 2018.02.06 v1
 
สปส 2 09
สปส 2 09สปส 2 09
สปส 2 09
 
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียงคู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560
 
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.docจุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
 
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดีกิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 5
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 3
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 2558
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 2558จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 2558
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 2558
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
 
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจหนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
 

มะเร็งกล่องเสียงคอหอย

  • 1. 1 มะเร็งกล่องเสียงคอหอย พยาบาลวิชาชีพสุทธินีสุดใจ ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมะเร็งศีรษะและลาคอ งานการพยาบาลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลรามาธิบดี 4 พฤศจิกายน2560 มะเร็งบริเวณกล่องเสียงและคอหอยพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง พบได้ร้อยละ 36.7 ของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะ และลาคอทั้งหมด(ชัยวีระวัฒนะศุลีพรแสงกระจ่างปิยวัฒน์เลาวหุตานนท์และวทินันท์เพชรฤทธิ์ ,2560)บริเวณนี้มี หลอดน้าเหลืองและเส้นเลือดใหญ่มากมายมาเลี้ยงทาให้มีความเสี่ยงที่มะเร็งจะแพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียงและ อวัยวะอื่นๆทั่วร่างกายได้ง่ายการตรวจร่างกายประกอบด้วยการซักประวัติการส่องกล้องในลาคอเพื่อประเมินขนาด ของก้อนมะเร็ง ตาแหน่งของก้อน ความสามารถในการขยับสายเสียง การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ และการตรวจทางรังสี วินิจฉัยเพื่อตรวจดูก้อนมะเร็งในระดับลึกในเนื้อเยื่อโดยการตรวจComputertomography(CT)หรือPositronemission tomography (PET) เพื่อแบ่งระยะของโรค นอกจากนี้ยังต้องประเมินความสามารถในการกลืน การพูด และการ รับประทานอาหารด้วย(Chen,2017) Anatomy of Larynxand Hypopharynx https://www.healthtap.com/user_questions/240259 http://california.providence.org/tarzana/health-library/content/ ?contentTypeID=3&contentID=84507&language=en# การแบ่งระยะของโรคจะแบ่งตามระบบTNM ระดับความรุนแรงขึ้นอยู่กับตาแหน่งและการแพร่กระจาย ได้แก่ บริเวณ supraglottisglottis subglottis และ hypopharynx ตาแหน่งและการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองและการ แพร่กระจายของมะเร็งไปยังอวัยวะอื่นทั่วร่างกายการแบ่งโรคช่วยในการวางแผนการรักษาและติดตามการรักษาของ ผู้ป่วย
  • 3. 3 แผนการรักษาและติดตามการรักษาของผู้ป่วย (Chen,2017) ดังนี้ 1. การรักษามะเร็งบริเวณGlottis 2. การรักษามะเร็งบริเวณSubglottis 3. การรักษามะเร็งบริเวณHypopharynx การรักษามะเร็งบริเวณGlottis ระยะที่เปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งในเซลล์รักษาโดยการทาผ่าตัดหรือการทาเลเซอร์ในกรณีที่มีการแพร่กระจายไป ยังเซลล์รอบๆจึงจะรักษาโดยการฉายรังสี โดยจะไม่มีการฉายรังสีในระยะที่มีการเปลี่ยนเป็นมะเร็งภายในเซลล์ทุก กรณี (Chen,2017) ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ส่วนใหญ่จะเลือกการรักษาโดยการฉายรังสีเพราะเซลล์ส่วนใหญ่จะตอบสนองต่อการ รักษาด้วยรังสีรักษาและสามารถควบคุมมิให้เกิดการแพร่กระจายไปยังเนื้อเยื่อบริเวณรอบๆ ก้อนมะเร็งด้วย หรือ บางครั้งแพทย์จะเลือกการทาผ่าตัดนาก้อนมะเร็งออกทั้งก้อนก็ได้ส่วนใหญ่การทาผ่าตัดจะเป็นการทาผ่าตัดที่รักษา อวัยวะไว้ มีการทาผ่าตัดกล่องเสียงเพียงบางส่วน หลังผ่าตัดผู้ป่วยสามารถพูดมีเสียง แต่กรณีที่ปอดทางานไม่มี ประสิทธิภาพทาให้เสี่ยงต่อการสูดสาลัด หรืออายุมากมีความเสี่ยงสูงในการทาผ่าตัดจะเลือกการทาผ่าตัดกล่องเสียง ออกทั้งหมดแทนหรือในกรณีที่รับการรักษาด้วยรังสีแล้วไม่มีการตอบสนองจะพิจารณาทาผ่าตัดซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่จะ ยังไม่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองจึงไม่จาเป็นต้องผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ข้างลาคอ(Chen,2017) ระยะที่ 3 การรักษาประกอบด้วยการทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดและรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัด การ รับเคมีบาบัดอาจพิจารณาเป็นรายบุคคลโดยเฉพาะในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองหลายบริเวณ หรือมี ความเสี่ยงในการการแพร่กระจายสูงบางสถาบันระบุว่าต้องให้ผู้ป่วยรับเคมีบาบัดร่วมด้วยเสมอ(Chen,2017) ระยะที่ 4 ผู้ป่วยควรได้รับการทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด ร่วมกับรังสีรักษาและเคมีบาบัดภายหลังการทา ผ่าตัด หรือร่วมกับการรรักษาแบบมุ่งเป้า การให้รังสีรักษาต้องครอบคลุมบริเวณต่อมน้าเหลืองทั้ง 2 ข้าง ในระดับ2 3 และ 5 รวมทั้งบริเวณsupraclavicallymph nodes (Chen,2017)
  • 4. 4 การรักษามะเร็งบริเวณSubglottis ระยะที่1 และ2 การรักษาด้วยการทาผ่าตัดและการฉายรังสีได้ผลการรักษาไม่ต่างกันในกรณีมีมะเร็งก้อนเล็กๆ สามารถใช้เลเซอร์ในการรักษาได้ในกรณีที่ก้อนมะเร็งใหญ่ขึ้นให้ทาผ่าตัดsupraglotticlaryngectomyแต่มีความเสี่ยงที่ จะเกิดการสูดสาลักได้ภายหลังการทาผ่าตัดจึงต้องมีการบริหารเพื่อฟื้นฟูการกลืนในกรณีที่ผู้ป่วยมีการทางานของปอด ไม่ดีจึงไม่สามารถทาผ่าตัด supraglottic laryngectomy ได้ ในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองอาจต้องทา ผ่าตัดก้อนมะเร็งต่อมน้าเหลืองที่ลาคอและรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัด(Chen,2017) ระยะที่3 การทาผ่าตัดบางรายอาจเก็บกล่องเสียงไว้ได้ ขึ้นอยู่กับอวัยวะที่มะเร็งกระจายไปโดยเฉพาะมะเร็งที่ กระจายไปบริเวณ arytenoidcartilage จะมีการแพร่กระจายไปได้มากหลังผ่าตัดผู้ป่วยจะต้องพิจารณาผลการตรวจชิ้น เนื้อ การแพร่กระจายไปยังหลอดเลือดต่อมน้าเหลืองเพื่อประกอบการพิจารณาว่าจะต้องรับรังสีรักษาหลังผ่าตัดหรือไม่ (Chen,2017) ระยะที่4 จะต้องทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดและรับรังสีรักษาหลังผ่าตัด กรณีที่ผลการตรวจชิ้นเนื้อพบว่า ขอบเขตของก้อนมะเร็งชิดขอบแผลที่ผ่าตัดจะต้องรับเคมีบาบัดร่วมด้วย(Chen,2017) การรักษาทุกระยะต้องทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมด การรับรังสีรักษาภายหลังการทาผ่าตัดในกรณีที่ผลการ ตรวจชิ้นเนื้อพบว่าขอบเขตของก้อนมะเร็งชิดขอบแผลที่ผ่าตัด ผลการรักษาขึ้นอยู่กับขนาดของก้อนมะเร็ง (Chen, 2017) การติดตามการรักษา(DeFelice et al., 2017) หลังรักษาสองปีแรกติดตามการรักษาทุก3เดือนปีที่สามถึงปีที่ห้าติดตามการรักษาทุก6เดือนและพิจารณานัด ติดตามการรักษาตามอาการการตรวจทางรังสีวินิจฉัยให้เริ่มหลังทาการรักษาครบแล้วเดือนที่ 3และเดือนที่9 การรักษามะเร็งบริเวณHypopharynx ระยะที่1 และ2 รักษาด้วยรังสีรักษาอาจร่วมกับการทาผ่าตัดpartialpharynxgectomyการฉายรังสีอย่างเดียวช่วย จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถพูดและกลืนได้เกือบเท่าปกติ ในกรณีที่มีการกระจายไปยังต่อมน้าเหลืองจะต้องพิจารณารับ รังสีรักษาและเคมีบาบัดร่วมด้วย(Chen,2017) ระยะที่3 สามารถทาผ่าตัดเพื่อรักษากล่องเสียงร่วมกับการรับเคมีบาบัด (Chen,2017) ระยะที่4 ควรทาผ่าตัดร่วมกับเคมีบาบัดและรังสีรักษา กรณีที่ไม่สามารถผ่าตัดได้จะต้องให้เคมีบาบัดและรังสี รักษาโดยผลการรักษาขึ้นอยู่กับอาการของโรค(Chen,2017)
  • 5. 5 การติดตามการรักษา(DeFelice et al., 2017) หลังรักษาสองปีแรกติดตามการรักษาทุก 3 เดือนต่อจากนั้นติดตามการรักษาทุก 6 เดือน เป็นระยะเวลา 5 ปี ต่อจากนั้นพิจารณาตามอาการหลังการรักษาให้ตรวจทางรังสีวินิจฉัยในเดือนที่ 3 และเดือนที่9 มะเร็งต่อมไทรอยด์ ต่อมไทรอยด์มีลักษณะคล้ายผีเสื้อ อยู่บริเวณด้านหน้าและด้านข้างของหลอดลมมี2 ข้าง ซ้ายและขวา วางอยู่ บริเวณtrachealring ที่ 2-4 เป็นต่อมที่มีสีน้าตาลแดงถูกปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบริเวณใกล้เคียงมีหลอดเลือดแดง ใหญ่หลอดเลือดดาใหญ่ท่อน้าเหลืองและเส้นประสาทที่สัมพันธ์กับต่อมไทรอยด์(มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556) โดย มะเร็งต่อมไทรอยด์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ http://www.thaigoodview.com/node/75590 การแบ่งชนิดของมะเร็งต่อมไทรอยด์แบ่งเป็น3ประเภทดังนี้ 1 มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดdifferentiated 2. มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดanaplastic 3. มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดอื่น มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด differentiated หมายถึงมะเร็งที่เปลี่ยนแปลงมาจากเซลล์ของต่อมไทรอยด์เอง รวมถึง มะเร็งชนิด papillary follicular และ HÜrthle cellเป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์พี่พบมากที่สุด การตรวจ ตรวจด้วย อัลตรา ซาวน์และ fine needle aspiration biopsy (FNAB)(มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556) การรักษา (มงคลบุญศรีพิทยานท์,2556) 1. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดเล็กกว่า 1 เซนติเมตร มีความเสี่ยงต่า สามารถทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ด้านที่เป็น มะเร็งเพียงด้านเดียวได้
  • 6. 6 2. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดเล็กกว่า 2-4 เซนติเมตรต้องพิจารณาว่าควรทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกด้านเดียว หรือสองด้านขึ้นอยู่กับการประเมินว่ามีการเป็นมะเร็งทั้งสองด้านหรือไม่ควรประเมินด้วยอัลตราซาวน์กรณีที่มีความ เสี่ยงสูงต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งสองด้าน 3. ก้อนมะเร็งต่อมไทรอยด์ขนาดใหญ่กว่า4เซนติเมตรแนะนาทาผ่าตัดไทรอยด์ออกทั้งสองข้าง มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด anaplastic หมายถึง มะเร็งที่มีเซลล์ชนิดต่างๆ รวมกันได้แก่spindle polygonal และ giantcells ส่วนใหญ่มักพบมะเร็งชนิด well-differentiated ร่วมด้วย มักมาพบแพทย์ด้วยอาการมีก้อนที่ลาคอ โตเร็ว ส่วนใหญ่เป็นก้อนที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตรก้อนมีลักษณะแข็ง มีหลายก้อนอยู่ทั่วต่อมไทรอยด์ทั้งสองข้างและ ติดแน่นกับอวัยวะข้างเคียงและมีการลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงทาให้เกิดการกดเบียดอวัยวะข้างเคียงอาจพบในผู้ที่มี ประวัติเป็นคอพอกมาก่อนการรักษาประกอบด้วย การทาผ่าตัด การให้รังสีรักษาและเคมีบาบัด และ การรักษาด้วย Targeted therapy แต่ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยตอบสนองต่อเคมีบาบัดและรังสีรักษา (สาธิต ศรีมัทยามาศ และ พรชัยโอ เจริญรัตน์.,2556). การรักษาด้วยการทาผ่าตัดเป็นการรักษามีวัตถุประสงค์ให้หายและประคับประคองอาการ การรักษาด้วยการทาผ่าตัดแบ่งได้ดังนี้ 1. การรักษาให้หายในกรณีที่มะเร็งยังไม่มีการกระจายออกนอกต่อมไทรอยด์และยังไม่มีการกระจายไปยังอวัยวะ อื่นๆ(ระยะ 4A)การผ่าตัดสามารรถนาก้อนมะเร็งและมีขอบเขตเนื้อดีเพียงพอที่มะเร็งไม่แพร่กระจายรวมทั้งเลาะต่อม น้าเหลืองข้างไทรอยด์ออกได้หมดแต่อัตราการกลับเป็นซ้ายังพบได้สูงมากผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รังสีรักษาร่วมด้วย บาง กรณีจะให้เคมีบาบัดร่วมด้วย 2. การรักษาแบบประคับประคองอาการในกรณีที่เป็นมะเร็งต่อมไทรอยด์ระยะ 4B และ 4C โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มี ภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นทางเดินหายใจผู้ที่ผ่าตัดเอาก้อนเนื้อเฉพาะส่วนที่กดเบียดหลอดลมอยู่การทาผ่าตัดไม่มุ่งหวัง เพื่อเพิ่มอัตราการรอดชีวิตแต่มุ่งช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นอกจากนี้แล้วยังมีเซลล์มะเร็งชนิดอื่นๆได้แก่มะเร็งสแควร์มัสเซลล์พบได้น้อยรักษาโดยการทาผ่าตัดและรังสี รักษา การรักษามะเร็งชนิด intermediated differentiated ชนิดอินซูลาร์จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมด ชนิด เซลล์ Columnar จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดร่วมกับการทาผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ มะเร็งชนิด Mucoepidermoid จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดมะเร็งpapillary ชนิด diffuse sclerosing variant และ มะเร็ง papillary ชนิด Tallcellvariant จะต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดและตัดบริเวณที่อาจลุกลามไปและการผ่าตัด ต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ มะเร็ง papillary ชนิด Solid/trabecular variant ต้องทาผ่าตัดต่อมไทรอยด์ออกทั้งหมดและการ ผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอร่วมกับการรักษาด้วยไอโอดีน
  • 7. 7 เอกสารอ้างอิง มงคล บุญศรีพิทยานนท์. (2556). กายวิภาคและสรีรวิทยาของต่อมไทรอยด์และอวัยวะที่เกี่ยวข้อง. ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์จุฑาภิ สิทธ์ และ วิษณุ โล่สิริวัฒน์ (บก.), Update in thyroid disease ศัลยศาสตร์ ศีรษะ-คอ และเต้านม Head Neck and Brest Surgery (Vol. 7,pp.1-22).กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพเวชสาร. สาธิต ศรีมัทยามาศ และ พรชัย โอเจริญรัตน์. (2556). มะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดอะนาพลาสติกและมะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิดที่พบไม่บ่อย. ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์จุฑาภิสิทธิ์ และ วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ (บก.), Update in Thyroid Disease ศัลยศาสตร์ ศีรษะ-คอ และเต้านม NeadNeckandBreast Surgery(Vol. 7,pp. 357-388).กรุงเทพมหานคร:กรุงเทพเวชสาร. ชัยวีระวัฒนะ ศุลีพร แสงกระจ่าง ปิยวัฒน์ เลาวหุตานนท์และ วทินันท์เพชรฤทธิ์ (2560). ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2558 Hospital-basedcancerregestry.กรุงเทพฯ: PornsupPrinting. Chen,C. (2017).LarynxandHypopharynxInW. S. Jr (Ed.), Clinical Radiation Oncology:Indications,Techniques,andResult (Third Edition ed.,pp. 227-247).NJ: JohnWiley & Sons, Inc. De Felice, F., de Vincentiis, M., Valentini, V., Musio, D., Mezi, S., Lo Mele, L., Terenzi, V., D'Aguanno, V., Cassoni, A., Di Brino, M., Tenore, G., Bulzonetti, N., Battisti, A., Greco, A., Pompa, G., Minni, A., Romeo, U., Cortesi, E., Polimeni, A., & Tombolini, V. (2017). Follow-up program in head and neck cancer. Crit Rev Oncol Hematol, 113, 151-155. doi:10.1016/j.critrevonc.2017.03.012. Golusinski,W. (2017).TheRole of ConventionalSurgeryin OropharyngealCancer.RecentResults Cancer Res,206,185-195. doi:10.1007/978-3-319-43580-0_14 Manos, M., Giralt, J., Rueda, A., Cabrera, J., Martinez-Trufero, J., Marruecos, J., Lopez-Pousa, A., Rodrigo, J. P., Castelo, B., Martinez-Galan, J., Arias, F., Chaves, M., Herranz, J. J., Arrazubi, V., Baste, N., Castro, A., & Mesia, R. (2 0 1 7 ). Multidisciplinary management of head and neck cancer: First expert consensus using Delphi methodology from the Spanish Society for HeadandNeck Cancer(part 1).Oral Oncol, 70,58-64.doi:10.1016/j.oraloncology.2017.04.004. Rueda,A., Giralt, J., Manos,M.,Lozano,A.,Sistiaga, A.,Garcia-Miragall, E., Cacicedo,J., Esteban,F., Scola, B., Contreras,J., Ruiz, A., Carral, A.,Sanchez-Aniceto,G., Pastor, M.,Herranz, J.J., Bernal, M.,& Mesia,R. (2017).Multidisciplinarymanagement of head and neck cancer: First expert consensus using Delphi methodology from the Spanish Society for Head and Neck Cancer(part 2). Oral Oncol,70,65-72.doi:10.1016/j.oraloncology.2017.04.005 SIGN. (2006). Diagnosis and management of head and neck cancer A national clinical guideline. EN: Scottish Intercollegiate Guidelines Network.
  • 8. 8 การผ่าตัดต่อมน้าเหลืองที่ลาคอ ต่อมน้าเหลืองบริเวณศีรษะและลาคอพบได้หนึ่งในสามของต่อมน้าเหลืองทั้งหมดของร่างกาย ภาพแสดงต่อมน้าเหลืองบริเวณศีรษะและลาคอ ภาพแสดงเส้นสมมุติที่แบ่งบริเวณต่อมน้าเหลือง (http://www.newhealthadvisor.com/Swollen-Occipital-Lymph-Node.html) การไหลเวียนน้าเหลือง (http://clickcash4you.blogspot.com/2009/08/3.html๗ โดยปกติหัวใจจะปั๊มเลือดที่มีออกซิเจนจานวนมากเข้าหลอดเลือดเพื่อส่งอาหารไปเลี้ยงร่างกายในขณะที่เลือด ไหลเวียนไปตามหลอดเลือดใหญ่ที่เรียกว่า arteries จะมีการไหลไปเรื่อยๆจนถึงหลอดเลือดเล็กๆที่เรียกว่า capillaries
  • 9. 9 น้าจะซึมออกจาก capillaries เข้าไปในเนื้อเยื่อใกล้เคียง เมื่อน้าเข้าไปในเนื้อเยื่อจะทาให้เนื้อเยื่อบวมน้า ดังนั้นระบบ น้าเหลืองจะกรองและส่งน้ากลับไปในหลอดเลือดและยังกาจัดwasteproductsออกจากผิวหนังถ้าสิ่งปฏิกูลเหล่านั้นไม่ ถูกขจัดออกจะทาให้ผิวหนังมีรอยแผลเป็นและกลายเป็นเนื้อแข็งๆได้โดยปกติร่างกายเรามีต่อมน้าเหลืองประมาณ 500-700ต่อมอยู่ทั่วร่างกายและมีมากที่สุดบริเวณศีรษะและลาคอต่อมน้าเหลืองจานวนมากจะอยู่บริเวณรอบๆอวัยวะ ของร่างกายมีการไหลเวียนของน้าเหลืองจากผิวหนังปกติไปสู่ต่อมน้าเหลืองแต่ถ้ามีความเสียหายหรือถูกตัดออกจะทา ให้น้าเหลืองไหลเวียนไม่สะดวกปกติต่อมน้าเหลืองมีหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคเมื่อมีการติดเชื้อน้าเหลืองจะไปกาจัดเชื้อ โรคก่อนที่เลือดจะไหลเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิต(ValerieW. Collins, 2012) การแพร่กระจายของมะเร็งบริเวณศีรษะและลาคอมักมีรูปแบบการกระจายที่สามารถทานายได้ และคาดเดา กระจายไปตาแหน่งใดในลาดับต่อไปในกรณีที่มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลืองแล้วควรผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลือง ที่ลาคอออก สาหรับกรณีที่มีความเสี่ยงสูงแต่ยังไม่พบการแพร่กระจายควรเลาะต่อมน้าเหลืองกลุ่มเสี่ยงเพื่อไม่ให้เกิด การแพร่กระจายออกไปยังต่อมน้าเหลืองบริเวณที่ไกลมากขึ้นการผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองที่ลาคอมีเป้าหมายเพื่อ ควบคุมโรคสามารถแบ่งได้เป็นประเภทต่างๆดังนี้ 1. การทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองที่ลาคอออกทั้งหมดโดยหวังผลในการควบคุมโรคและป้องกันการแพร่กระจาย ของโรคโดยการเลาะต่อมน้าเหลืองออกทั้งแต่ระดับหนึ่งถึงห้าโดยแบ่งเป็นการผ่าตัดRadicalneck dissection (RND) ที่ทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองออกทั้งหมด การทาผ่าตัด Extended radicalneck dissection มีการทาผ่าตัดเอาส่วนอื่นๆ ออกมากกว่าการทา RND การทาผ่าตัด Modified radicalneck dissection type I (MRND type I) ที่เก็บเฉพาะ เส้นประสาทเส้นที่11 การทาผ่าตัด Modified radicalneck dissection type II (MRND type II) ที่เก็บเส้นประสาทเส้นที่ 11 และกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid แล ะ Modified radicalneck dissection type III (MRND type III) ที่เก็บ เส้นประสาทเส้นที่11กล้ามเนื้อsternocleidomastoidและหลอดเลือดดาinternaljugular 2. การทาผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลืองเฉพาะระดับ(Selectiveneckdissection) พิจารณาทาในกระณีตรวจไม่พบการ แพร่กระจายมายังต่อมน้าเหลืองแต่เป็นมะเร็งปฐมภูมิที่มีความเสี่ยงสูงที่จะแพร่กระจายได้แก่มะเร็งในช่องปากตั้งแต่ ระยะ T2 เป็นต้นไปหรือก้อนมะเร็งมีความหนากว่าสี่มิลลิเมตรเป็นต้นไป โดยมุ่งเน้นการผ่าตัดเลาะต่อมน้าเหลือง ระดับแรกๆที่เสี่ยงต่อการแพร่กระจายของมะเร็งระหว่างการผ่าตัดถ้าพบต่อมน้าเหลืองที่โตผิดปกติให้ส่งตรวจfrozen section ถ้าพบการแพร่กระจายต้องผ่าตัดต่อมน้าเหลืองชนิด Modified radicalneck dissection ไปเลย (พงศ์เทพ พิศาล ธุรกิจ และพรชัยโอเจริญรัตน์,2556)
  • 11. 11 เอกสารอ้างอิง พงศ์เทพพิศาลธุรกิจและพรชัยโอเจริญรัตน์.(2556).การผ่าตัดเลาะต่อมน้่าเหลืองที่ลาคอNeckdissection:How I do it.ใน พรชัย โอเจริญรัตน์ สืบวงศ์ จุฑาภิสิทธิ์ และ วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ (บก.), Update in thyroid disease ศัลยศาสตร์ศีรษะ-คอ และ เต้านม Head Neck and Breast Surgery (Vol. 7,pp. 282-297).กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพเวชสาร. การทา flapgraftและreconstruction การทาRadial forearmflap (http://www.microsurgeryeducation.com/p/head-and-neck.html) การทาผ่าตัดALT (anterolateralthigh flap) or lateral arm การผ่าตัดLateralarm flap (http://www.microsurgeryeducation.com/p/head-and-neck.html)