SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Central Venous
Pressure Monitoring
     นางสาวปิยรัตน์ วงค์หนายโกฏ
                 พยาบาลวิชาชีพ
        ปฎิบติงานที่ ICU trauma
            ั
ข้อ บ่ง ชี้ใ นการ monitor CVP มี
                ดัง นี้
1.  ในผูป่วยที่สญเสียเลือดจากอุบติเหตุหรือ
         ้       ู               ั
 จากการผ่าตัด ภาวะ sepsis และกรณีอื่นที่ทำา
ให้ปริมาณเลือดและนำ้าในร่างกายลดลง
2.  ในผูป่วยที่มีภาวะนำ้าเกิน
           ้
3.  ในกรณีที่ต้องการประเมินการทำางานของ
 หัวใจและหลอดเลือด
Central Venous Pressure (CVP)
หมายถึง  ความดันในหลอดเลือดดำา Superior Vena
 Cava (SVC) ซึ่งมีค่าเท่ากับความดันของ right atrium
 (RA) และเป็นการแสดงถึง preload ของ right
 ventricle (RV) หรือ right ventricular end-diastolic
 pressure (RVEDP)
      ค่า CVP จะบอกได้ถึงปริมาณนำ้าและเลือดที่ไหลเวียน
 ในร่างกาย ประสิทธิภาพของ right ventricle และ
 venous capacitance ปริมาณนำ้าหรือเลือดในหัวใจ
 ซีกซ้าย (Left Atrial Pressure, LAP) อาจวัดโดยการใส่
 สาย polyvinyl catheter เข้าไปใน left atrium
 โดยตรงระหว่างการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด หรือโดยใส่
 Swan-Ganz catheter ผ่านทางเส้นเลือดดำาใหญ่เข้าสู่
 pulmonary artery และวัด Pulmonary Capillary
วิธ ก ารวัด CVP
    ี
1.บอกให้ผู้ป่วยทราบและล้างมือให้สะอาด
2. จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบ (ผู้ป่วยบางรายมีข้อ
   จำากัดในการนอนราบหรืออาจ
หอบเหนื่อยขณะที่นอนราบ จัดท่าศีรษะสูงได้ไม่เกิน 45
   องศา) และแขนขาขณะทีวัด  ่
ควรเหยียดตรง
3. หาตำาแหน่งของ zero หรือ phlebostatic axis คือ
   จุดตัดของ midaxillary line กับ fourth
   intercostal space
วิธ ก ารวัด CVP
    ี
วิธ ีก ารวัด CVP
การอ่านค่า  CVP ที่ work ดี จะต้อง
 fluctuate หรือมีการเต้นขึ้นลงของระดับนำ้าใน
 สายที่ไม้บรรทัดตามจังหวะการหายใจ
(หากพบว่า เต้น ขึ้น ลงตามชีพ จร แสดงว่า
 ปลายสาย CVP อยู่ล ึก เกิน ไปลงเข้า ไปถึง
 ในหัว ใจ)
ให้อ่านค่าเมื่อเริ่มคงที่ โดยอ่านค่าช่วงหายใจ
 ออกสุด (end of expiration) เนื่องจากความ
 ดันในช่องทรวงอกจะใกล้เคียงกับความดัน
 บรรยากาศ
การแปลค่า CVP
 ค่า CVP ปกติ อาจอยู่ในช่วง 6-12 cmH2O ทังนี้มก
                                             ้  ั
 ใช้ค่า CVP ในการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงจาก
 การรักษาในผู้ป่วยรายนันๆ มากกว่า
                          ้
ค่า CVP ตำ่า หมายถึง ปริมาณนำ้าและเลือดในร่างกาย
 ลดลง
ค่า CVP สูงขึ้นมัก หมายถึงปริมาณนำ้าและเลือดใน
 ร่างกายมากขึ้น ทีสำาคัญในการแปลค่า CVP จะต้องดู
                   ่
 อาการและอาการแสดงอื่นร่วมด้วย เช่น blood
 pressure, heart rate, urine output, urine
 specific gravity, intake/output, conscious,
 ฟังปอดได้ยินเสียงผิดปกติ อาการหอบเหนื่อย ความ
 ตึงตัว ความอุ่น เย็น ชื้นของผิวหนัง เป็นต้น
ค่า CVP สูง และตำ่า พบได้ใ นหลายๆ สาเหตุ
ดัง นี้
สาเหตุท ท ำา ให้
         ี่         CVP สูง
     Elevated vascular volume
     Increased cardiac output
 (hyperdynamic cardiac function)
     Depressed cardiac function (RV
 infarct, RV failure)
     Cardiac tamponade
     Constrictive pericarditis
     Pulmonary hypertension
     Chronic left ventricular failure
สาเหตุท ี่ท ำา ให้ CVP ตำ่า
Reduced    vascular volume
Decreased mean systemic pressure
 (e.g., as in late shock state)
Venodilation (drug induced)
Fluid Challenge Test
   Initial CVP          <8              8-15             >15 cm H2O
           PAOP         <12            12-16             >16 mm Hg

 Volume & Rate         200 mL/10 min     100 mL/10 min     50 mL/10 min

                  During infusion, CVP rises >5 cm H2O
                             or PAOP rises >7 mm Hg
                       Yes                            No
                      Stop challenge          Complete the volume
                       Wait 10 min               Wait 10 min

CVP change        >5          3-5   <2         3-5         <2
PAOP change       >7          4-7   <3         4-7         <3
                                                                      10
Central Venous Pressure Monitoring
                   ขั้น ต่อ อุป กรณ์   ต่อ set
                     iv เข้ากับ ขวดนำ้าเกลือ
                     0.9 NSS 100 ml. แล้ว
                     ต่อสาย IV เข้ากับตัว
                     transducer แล้วต่อสาย
                     extension เข้ากับ
                     transducer ต่อแป้น
                     สำาหรับวางtransducerg
                     เข้ากับเสานำ้าเกลือ โดยตัว
                     แป้นต้องอยู่ในตำาแหน่ง
                     phlebostatic axis คือ
                     midaxillary line กับ
                     fourth intercostal
                     space
Central Venous Pressure Monitoring

                   จากนั้นเปิดนำ้าเกลือ
                    เพื่อไล่ air ที่อยู่ใน
                    set ทั้งหมด เสร็จ
                    แล้วต่อสาย
                    extension เข้ากับ
                    สาย cutdown หรือ
                    subclavian vein
                    โดย subclavian
                    ต่อเข้ากับสาย สี
                    นำ้าตาล หรือ
                    proximal lumen
Central Venous Pressure Monitoring

                   ต่อmonitor ต่อ
                    สาย cable เข้าที่
                    จอmonitor
Central Venous Pressure Monitoring


                       เลือกชนิด   cable ทีต่อ
                                            ่
                          เข้าไป
                       เป็น CVP โดย เลือก
                       ที่ label เลือก CVP
Central Venous Pressure Monitoring


                   กด zero cal รอเครื่อง
                    calibrate ให้ cvp = 0
                    mmHg
                   
                   เสร็จแล้วก็หมุน
                                 three
                    way มาด้านจุก three
                    way ตามเดิมและปิดจุก
                   
การอ่า นค่า CVP wave
Normal CVP Waveform



           systole       diastole
     a
          c      v
      x
          x’         y

                                    17
การอ่า นค่า CVP wave
                A wave - due to atrial
                 contraction. Absent in atrial
                 fibrillation. Enlarged in
                 tricuspid stenosis,
                 pulmonary stenosis and
                 pulmonary hypertension.
                 C wave - due to bulging of
                 tricuspid valve into the right
                 atrium or possibly
                 transmitted pulsations from
                 the carotid artery.
                X descent - due to atrial
                 relaxation.
                 V wave - due to the rise in
                 atrial pressure before the
                 tricuspid valve opens.
                 Enlarged in tricuspid
                 regurgitation
CVP Waveform
Three    Peaks
 (a, c, v)
Two Descents
 (x, y)
“a” wave
Caused  by atrial
 contraction
 (follows the P-
 wave on EKG)
End diastole
Corresponds
 with “atrial
 kick” which
 causes filling of
 the right
“c” wave
Atrial pressure
 decreases after
 the “a” wave as a
 result of atrial
 relaxation
The “c” wave is
 due to isovolemic
 right ventricular
 contraction;
 closes the
 tricuspid valve
 and causes it to
“x” descent
              Atrial pressure
               continues to
               decline due to
               atrial relaxation
               and changes in
               geometry caused
               by ventricular
               contraction
              Mid-systolic event
              “Systolic collapse
               in atrial pressure”
“v” wave
The  last atrial
 pressure
 increase is
 caused by filling
 of the atrium
 with blood from
 the vena cava
Occurs in late
 systole with the
 tricuspid still
 closed
“y” descent
              Decrease    in atrial
               pressure as the
               tricuspid opens and
               blood flows from
               atrium to ventricle
              “Diastolic collapse
               in atrial pressure”
Tricuspid Regurgitation
                The  right
                 atrium gains
                 volume during
                 systole - so the
                 “c” and “v” wave
                 is much higher
                The right
                 atrium “sees”
                 right ventricular
                 pressures and
                 the pressure
Tricuspid Stenosis
                 Problem   with atrial
                  emptying and a
                  barrier to ventricular
                  filling on the right side
                  of the heart
                 Mean CVP is elevated
                 “a” wave is usually
                  prominent as it tries
                  to overcome the
                  barrier to emptying
                 “y” descent muted as
                  a result of decreased
                  outflow from atrium to
                  ventricle
Pericardial Constriction
Limited venous
 return to heart,
 elevated CVP,
 end-diastolic
 pressure
 equalization in all
 cardiac chambers
Prominent “a”
 and “v” waves,
 steep “x” and “y”
 descents
Characteristic M
Cardiac Tamponade
                 Changes in atrial and
                        ventricular volumes
                        are coupled, so total
                        cardiac volume does
                        not change when
                        blood goes from
                        atrium to ventricle
                       CVP becomes
                        monophasic with a
                        single, prominent “x”
                        descent with a muted
                        “y” descent
                       Similar to pericardial
                        constriction but not
                        exactly the same
ภาวะแทรกซ้อ นทั้ง จากขั้น ตอนการใส่ส าย
CVP และการวัด มีด ัง นี้
 1.  Hemothorax
 2.  Pneumothorax
 3.  Nerve injury
 4.  Arterial puncture
 5.  Thoracic duct perforation
 6.  Arrhythmias
 7.  Systemic or local infection
 8.  Perforation or erosion of vascular structure
 9.  Thrombosis
 10.  Air embolism
 11.  Blood loss จากข้อ ต่อ หลุด
 12.  Volume overload จากลืม ปรับ rate IV หลัง วัด
  CVP  
ขอบคุณ ค่ะ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 

Was ist angesagt? (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 

Andere mochten auch (6)

Arterial line analysis
Arterial line analysisArterial line analysis
Arterial line analysis
 
Central venous catheterization
Central venous catheterizationCentral venous catheterization
Central venous catheterization
 
Cvp
CvpCvp
Cvp
 
Monitoring Cvp
Monitoring CvpMonitoring Cvp
Monitoring Cvp
 
CVP Monitoring_Dr. Subrata Kumar_BSMMU_2014
CVP Monitoring_Dr. Subrata Kumar_BSMMU_2014CVP Monitoring_Dr. Subrata Kumar_BSMMU_2014
CVP Monitoring_Dr. Subrata Kumar_BSMMU_2014
 
Central venous pressure
Central venous pressureCentral venous pressure
Central venous pressure
 

Cvp central venous pressure monitoring

  • 1. Central Venous Pressure Monitoring นางสาวปิยรัตน์ วงค์หนายโกฏ พยาบาลวิชาชีพ ปฎิบติงานที่ ICU trauma ั
  • 2. ข้อ บ่ง ชี้ใ นการ monitor CVP มี ดัง นี้ 1.  ในผูป่วยที่สญเสียเลือดจากอุบติเหตุหรือ ้ ู ั จากการผ่าตัด ภาวะ sepsis และกรณีอื่นที่ทำา ให้ปริมาณเลือดและนำ้าในร่างกายลดลง 2.  ในผูป่วยที่มีภาวะนำ้าเกิน ้ 3.  ในกรณีที่ต้องการประเมินการทำางานของ หัวใจและหลอดเลือด
  • 3. Central Venous Pressure (CVP) หมายถึง ความดันในหลอดเลือดดำา Superior Vena Cava (SVC) ซึ่งมีค่าเท่ากับความดันของ right atrium (RA) และเป็นการแสดงถึง preload ของ right ventricle (RV) หรือ right ventricular end-diastolic pressure (RVEDP) ค่า CVP จะบอกได้ถึงปริมาณนำ้าและเลือดที่ไหลเวียน ในร่างกาย ประสิทธิภาพของ right ventricle และ venous capacitance ปริมาณนำ้าหรือเลือดในหัวใจ ซีกซ้าย (Left Atrial Pressure, LAP) อาจวัดโดยการใส่ สาย polyvinyl catheter เข้าไปใน left atrium โดยตรงระหว่างการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด หรือโดยใส่ Swan-Ganz catheter ผ่านทางเส้นเลือดดำาใหญ่เข้าสู่ pulmonary artery และวัด Pulmonary Capillary
  • 4. วิธ ก ารวัด CVP ี 1.บอกให้ผู้ป่วยทราบและล้างมือให้สะอาด 2. จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบ (ผู้ป่วยบางรายมีข้อ จำากัดในการนอนราบหรืออาจ หอบเหนื่อยขณะที่นอนราบ จัดท่าศีรษะสูงได้ไม่เกิน 45 องศา) และแขนขาขณะทีวัด ่ ควรเหยียดตรง 3. หาตำาแหน่งของ zero หรือ phlebostatic axis คือ จุดตัดของ midaxillary line กับ fourth intercostal space
  • 6. วิธ ีก ารวัด CVP การอ่านค่า CVP ที่ work ดี จะต้อง fluctuate หรือมีการเต้นขึ้นลงของระดับนำ้าใน สายที่ไม้บรรทัดตามจังหวะการหายใจ (หากพบว่า เต้น ขึ้น ลงตามชีพ จร แสดงว่า ปลายสาย CVP อยู่ล ึก เกิน ไปลงเข้า ไปถึง ในหัว ใจ) ให้อ่านค่าเมื่อเริ่มคงที่ โดยอ่านค่าช่วงหายใจ ออกสุด (end of expiration) เนื่องจากความ ดันในช่องทรวงอกจะใกล้เคียงกับความดัน บรรยากาศ
  • 7. การแปลค่า CVP ค่า CVP ปกติ อาจอยู่ในช่วง 6-12 cmH2O ทังนี้มก ้ ั ใช้ค่า CVP ในการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงจาก การรักษาในผู้ป่วยรายนันๆ มากกว่า ้ ค่า CVP ตำ่า หมายถึง ปริมาณนำ้าและเลือดในร่างกาย ลดลง ค่า CVP สูงขึ้นมัก หมายถึงปริมาณนำ้าและเลือดใน ร่างกายมากขึ้น ทีสำาคัญในการแปลค่า CVP จะต้องดู ่ อาการและอาการแสดงอื่นร่วมด้วย เช่น blood pressure, heart rate, urine output, urine specific gravity, intake/output, conscious, ฟังปอดได้ยินเสียงผิดปกติ อาการหอบเหนื่อย ความ ตึงตัว ความอุ่น เย็น ชื้นของผิวหนัง เป็นต้น
  • 8. ค่า CVP สูง และตำ่า พบได้ใ นหลายๆ สาเหตุ ดัง นี้ สาเหตุท ท ำา ให้ ี่ CVP สูง Elevated vascular volume Increased cardiac output (hyperdynamic cardiac function) Depressed cardiac function (RV infarct, RV failure) Cardiac tamponade Constrictive pericarditis Pulmonary hypertension Chronic left ventricular failure
  • 9. สาเหตุท ี่ท ำา ให้ CVP ตำ่า Reduced vascular volume Decreased mean systemic pressure (e.g., as in late shock state) Venodilation (drug induced)
  • 10. Fluid Challenge Test Initial CVP <8 8-15 >15 cm H2O PAOP <12 12-16 >16 mm Hg Volume & Rate 200 mL/10 min 100 mL/10 min 50 mL/10 min During infusion, CVP rises >5 cm H2O or PAOP rises >7 mm Hg Yes No Stop challenge Complete the volume Wait 10 min Wait 10 min CVP change >5 3-5 <2 3-5 <2 PAOP change >7 4-7 <3 4-7 <3 10
  • 11. Central Venous Pressure Monitoring ขั้น ต่อ อุป กรณ์ ต่อ set iv เข้ากับ ขวดนำ้าเกลือ 0.9 NSS 100 ml. แล้ว ต่อสาย IV เข้ากับตัว transducer แล้วต่อสาย extension เข้ากับ transducer ต่อแป้น สำาหรับวางtransducerg เข้ากับเสานำ้าเกลือ โดยตัว แป้นต้องอยู่ในตำาแหน่ง phlebostatic axis คือ midaxillary line กับ fourth intercostal space
  • 12. Central Venous Pressure Monitoring จากนั้นเปิดนำ้าเกลือ เพื่อไล่ air ที่อยู่ใน set ทั้งหมด เสร็จ แล้วต่อสาย extension เข้ากับ สาย cutdown หรือ subclavian vein โดย subclavian ต่อเข้ากับสาย สี นำ้าตาล หรือ proximal lumen
  • 13. Central Venous Pressure Monitoring ต่อmonitor ต่อ สาย cable เข้าที่ จอmonitor
  • 14. Central Venous Pressure Monitoring เลือกชนิด cable ทีต่อ ่ เข้าไป เป็น CVP โดย เลือก ที่ label เลือก CVP
  • 15. Central Venous Pressure Monitoring กด zero cal รอเครื่อง calibrate ให้ cvp = 0 mmHg  เสร็จแล้วก็หมุน three way มาด้านจุก three way ตามเดิมและปิดจุก 
  • 17. Normal CVP Waveform systole diastole a c v x x’ y 17
  • 18. การอ่า นค่า CVP wave  A wave - due to atrial contraction. Absent in atrial fibrillation. Enlarged in tricuspid stenosis, pulmonary stenosis and pulmonary hypertension.   C wave - due to bulging of tricuspid valve into the right atrium or possibly transmitted pulsations from the carotid artery.  X descent - due to atrial relaxation.   V wave - due to the rise in atrial pressure before the tricuspid valve opens. Enlarged in tricuspid regurgitation
  • 19. CVP Waveform Three Peaks (a, c, v) Two Descents (x, y)
  • 20. “a” wave Caused by atrial contraction (follows the P- wave on EKG) End diastole Corresponds with “atrial kick” which causes filling of the right
  • 21. “c” wave Atrial pressure decreases after the “a” wave as a result of atrial relaxation The “c” wave is due to isovolemic right ventricular contraction; closes the tricuspid valve and causes it to
  • 22. “x” descent Atrial pressure continues to decline due to atrial relaxation and changes in geometry caused by ventricular contraction Mid-systolic event “Systolic collapse in atrial pressure”
  • 23. “v” wave The last atrial pressure increase is caused by filling of the atrium with blood from the vena cava Occurs in late systole with the tricuspid still closed
  • 24. “y” descent Decrease in atrial pressure as the tricuspid opens and blood flows from atrium to ventricle “Diastolic collapse in atrial pressure”
  • 25. Tricuspid Regurgitation The right atrium gains volume during systole - so the “c” and “v” wave is much higher The right atrium “sees” right ventricular pressures and the pressure
  • 26. Tricuspid Stenosis  Problem with atrial emptying and a barrier to ventricular filling on the right side of the heart  Mean CVP is elevated  “a” wave is usually prominent as it tries to overcome the barrier to emptying  “y” descent muted as a result of decreased outflow from atrium to ventricle
  • 27. Pericardial Constriction Limited venous return to heart, elevated CVP, end-diastolic pressure equalization in all cardiac chambers Prominent “a” and “v” waves, steep “x” and “y” descents Characteristic M
  • 28. Cardiac Tamponade  Changes in atrial and ventricular volumes are coupled, so total cardiac volume does not change when blood goes from atrium to ventricle  CVP becomes monophasic with a single, prominent “x” descent with a muted “y” descent  Similar to pericardial constriction but not exactly the same
  • 29. ภาวะแทรกซ้อ นทั้ง จากขั้น ตอนการใส่ส าย CVP และการวัด มีด ัง นี้  1.  Hemothorax  2.  Pneumothorax  3.  Nerve injury  4.  Arterial puncture  5.  Thoracic duct perforation  6.  Arrhythmias  7.  Systemic or local infection  8.  Perforation or erosion of vascular structure  9.  Thrombosis  10.  Air embolism  11.  Blood loss จากข้อ ต่อ หลุด  12.  Volume overload จากลืม ปรับ rate IV หลัง วัด CVP  

Hinweis der Redaktion

  1. หมุน three-way ให้ IV fluid ไหลเข้าไปในสาย iv ด้านไม้บรรทัด โดยปิดด้านผู้ป่วยไว้ก่อน ควรให้ IV fluid อยู่ในสาย ในระดับเกือบเต็มสาย หรือมากกว่าค่าเดิม ( ประมาณ 5 cm) จากนั้นหมุนปิด three-way ด้านไม้บรรทัด 5. นำไม้บรรทัดวางทาบที่ผู้ป่วย โดยให้ตำแหน่งของ zero หรือเลขศูนย์ ซึ่งจุดที่วางต้องอยู่ระดับเดียวกับ right atrium นั่นคือที่ตำแหน่งจุดตัดของ midaxillary line กับ fourth intercostal space 6. หมุน three-way เปิดเฉพาะด้านผู้ป่วยกับไม้บรรทัด ปิดด้าน IV ( กรณีที่มี three-way หลายอัน ให้ปรับเฉพาะอันที่อยู่ติดกับสาย cut down หรืออันที่มีไม้บรรทัด )
  2. ถ้าผู้ป่วยมีค่า CVP สูงแต่มีอาการ ไม่สอดคล้องกับค่า CVP คือ HR เร็ว ซึ่งค่า CVP ที่สูงอาจเกิดจากความดันในช่องออกสูง เช่น high PEEP ให้ทำการ challenge test
  3. ถึงขั้นตอน calibration เมื่อวางตำแหน่ง transcuder ที่จุด phlebostatic axis แล้ว หมุน three way ของ transducer ด้านผู้ป่วย แล้วเปิดจุก ออก “ close patient open to air” หมายเหตุ ควรทำการ flush สาย CVP ทุกเวร เพื่อป้องกันการอุดตันของสาย และ cribrate เมื่อ wave CVP เมื่อมีการ Overdamping