Más contenido relacionado
7 eleven
- 1. Case Study : บริษัท ซี.พี. เซเวนอีเลฟเว่น จำำกัด (มหำชน)
โดยนศ. สุภาพร แซ่เบ๊
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ
บริษัท ซี.พี. เซเวนอีเลฟเว่น จำากัด (มหาชน) เดิมชือ บริษัท ซี.พี. คอนวีเนียนสโตร์ จำากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อ
่
ปี 2531 โดยบริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์ เพือให้เป็นบริษัทของคนไทยที่ประกอบธุรกิจหลักด้านค้าปลีก
่
ประเภทร้านค้า สะดวกซือในประเทศไทยภายใต้เครืองหมายการค้า “7-Eleven” โดยบริษัทได้รับสิทธิการ
้ ่ ์
ใช้เครืองหมายดังการจาก 7-Eleven,Inc . สหรัฐอเมริกา และได้เปิดสาขาแรกที่ซอยพัฒน์พงษ์ เมือปี
่ ่
2532
ณ สิ้นปี 2549 บริษัทมีร้านสาขา 7-Eleven ทัวประเทศรวม 3,784 สาขา ซึงจัดได้ว่าเป็นประเทศที่มีสาขา
่ ่
มากเป็นอันดับ 4 ของโลกรองจาก ประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสาธารณรัฐไต้หวัน ทั้งนี้แบ่งเป็นร้าน
ในกรุงเทพ ฯ และปริมณฑล 1,960 สาขา (คิดเป็นร้อยละ 52) เป็นร้านในต่างจังหวัด 1,824 สาขา ( คิด
เป็นร้อยละ 48) เมื่อแบ่งตามประเภทของร้านพบว่า มีร้านสาขาบริษัท 2,119 สาขา (คิดเป็นร้อยละ 56 )
ส่วนที่เหลือเป็นร้านเฟรนไชส์ 1,449 สาขา ( คิดเป็นร้อยละ 38 ) และร้านค้าที่ได้รับสิทธิรับช่วงอาณาเขต
216 สาขา (คิดเป็นร้อยละ 6 ) ปัจจุบันมีลูกค้าเข้าร้าน 7-Eleven เฉลี่ยวันละ 4.0 ล้านคน
ทั้งนี้ในปี 2550 ทางบริษัทมีแผนที่จะขยายสาขาร้าน 7-Eleven อย่างต่อเนื่องอีกประมาณ 400-450
สาขา ทังในรูปแบบของร้านในทำาเลปกติ และร้านในสถานีบริการนำ้ามันของ บริษัท ปตท.(มหาชน) เพือ
้ ่
ให้ครอบคลุมพื้นที่ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายทั้งในกรุงเทพ ฯ และต่างจังหวัด โดย ณ สิ้นปี 2549 บริษัทมี
ร้านในทำาเลปกติ 3,279 สาขา ( คิดเป็นร้อยละ 87 ) และร้านในสถานีบริการนำ้ามัน ปตท. 505 สาขา (คิด
เป็นร้อยละ 13 )
นอกจากนั้น บริษัทได้ขยายการลงทุนไปธุรกิจที่ช่วยสนับสนุนธุรกิจร้านค้าสะดวกซือใน ประเทศไทยอย่าง
้
ต่อเนื่อง เช่น ในปี 2537 เริ่มลงทุนในบริษัท เคาท์เตอร์เซอร์วิส จำากัด ( CS ) เพื่อประกอบธุรกิจเป็น
ตัวแทนรับชำาระเงินค่าสินค้าและบริการ ในปี 2539 ลงทุนในบริษัท ซี.พี. ค้าปลีกและการตลาด จำากัด
( CPRAM ) เพือประกอบธุรกิจผลิตและจำาหน่ายอาหารแช่แข็งและเบเกอรี่ ในปี 2542 ลงทุนในบริษัท รี
่
เทลลิ้งค์ ( ประเทศไทย ) จำากัด (RTL) เพือประกอบธุรกิจการจำาหน่ายและซ่อมแซมอุปกรณ์ค้าปลีก
่
บริษัทยังได้มการขยายการลงทุนในธุรกิจเสริมอื่น ๆ อีก เช่น ในปี 2544 ได้จดจั้งบริษัท ไทยสมาร์ทคาร์ด
ี ั
จำากัด (TSC) ร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจ เพือให้บริการชำาระค่าสินค้าและบริการผ่านบัตรเติมเงินอิเล็คทริ
่
นิกส์ (Smart Purse) และในปี 25446 ได้จัดตั้ง บริษัท โกซอฟ (ประเทศไทย) จำากัด (GOSOFT) เพือให้ ่
บริการออกแบบและพัฒนาด้านสารสนเทศ จัดตั้งบริษัท เอ็ม เอ เอ็ม ฮาร์ท จำากัด (MAM) เพือให้บริการ
่
ปรึกษาวางแผนกิจกรรมทางการตลาดและบริษัท ไดนามิค แมเนจเม้นท์ จำากัด (DM) เพือให้บริการบริหาร
่
งานกิจกรรมการขนส่งและกระจายสินค้า ในปี 2547 บริษัทได้จัดตั้ง บริษัท ศึกษาภิวัฒน์ จำากัด เพื่อให้
บริการด้านการศึกษาโดยดำาเนินโครงการสถาบันการศึกษาในชื่อว่า ปํญญาภิวัฒน์เทคโนธุรกิจ ซึ่งมีจดมุ่ง ุ
หมาย เพือสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาของภาครัฐ โดยเฉพาะส่วนของการเรียนการสอนระดับ
่
อาชีวศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นและ สามารถผลิตบุคลากรได้ตรงกับความต้องการและการขยายตัวของ
ภาคอุตสาหกรรมและ ธุรกิจค้าปลีก เพื่อนำาไปสู่การพัฒนาประเทศในอนาคต
ในปี 2548 บริษัทได้เปิดคำาเนินการ โรงเรียนปัญญาภิวัฒน์เทคโนธุรกิจ อย่างเป็นทางการ และได้เริ่มเปิด
ดำาเนินการบริการโอนเงินผ่านบัตร “เชือมรัก” และการชำาระเงินค่าสินค้าและบริการต่าง ๆ ด้วยบัตร Smart
่
Purse ซึ่งเป็นบัตรเงินสดดิจตอล สำาหรับปี 2549 บริษัทได้ดำาเนินก่อตั้งบริษัท ปํญญธารา จำากัด เพื่อ
ิ
ประกอบธุรกิจการจัดการฝึกอบรม และการจัดสัมมนาทางวิชาการ
นอกจากการขยายการลงทุนไปยังธุรกิจอื่น ๆ โดยการจัดตั้งบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเพิ่มเติมแล้ว บริษัท
ยังมีการขยายช่องทางธุรกิจภายใต้การบริหารจัดการของบริษัทเองอีก โดยในปี 2541 ได้เปิดตัวธุรกิจ 7
Catalog Order เพื่อเป็นการขยายช่องทางธุรกิจ เพิ่มทางเลือกให้กับลูกค้าในการสั่งซื้อสินค้ามากขึ้น
โดยพัฒนาจาก Mail Order จัดทำาเป็นแผ่นพับไปสู่ “วารสารแคตตาล็อค” และในปี 2544 ได้เปิดตัวธุรกิจ
Book Smile (เดิมชื่อ 7 Today) เพื่อเป็นช่องการขยายช่องทางธุรกิจด้านการจำาหน่ายหนังสือและวารสาร
ปัจจุบันสำานักงานตั้งอยู่เลขที่ 283 อาคารสีบุญเรือง 1 ถนน สีลม เขต บางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ 0-2677-9000 โทรสาร 0-238-1767
- 2. ปรัชญาองค์กร (Philosophy)
“เรา ปรารถนารอยยิ้มจากลูกค้า ด้วยทีมงานที่มีความสุข”
วิสัยทัศน์ (Vision)
“เรา คือผู้ให้บริการความสะดวกซือ กับลูกค้าทุกชุมชน”
้
พันธกิจ (Mission)
1. มุ่งมั่นอย่างไม่หยุดยั้งในการสรรหาและส่งมอบ สินค้า และบริการที่ลกค้าสะดวกซื้อต้องการ
ู
2. สรรหาทำาเลร้านสาขาที่เข้าถึงลูกค้าให้ครอบคลุมทั่วประเทศ
3. สร้างภาวะผู้นำาทุกระดับและส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศการทำางานที่ดี
4. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับสังคมและชุมชน
5. สร้างองค์กรคุณภาพและมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
6. บริหารกิจการให้มีผลตอบแทนการลงทุนที่ดีและบริหาร ตามหลักธรรมาภิบาล
ภาวะ การตลาดและการแข่งขัน
ธุรกิจค้าปลีกในปี 2549 ชะลอตัวลงจากหลากหลายปัจจัยที่เข้ามากระทบ กำาลังซือและความเชื่อมั่นของผู้
้
บริโภค ทั้งราคานำ้ามัน สถานการณ์การเมือง ภาวะนำ้าท่วม ไข้หวัดนก รวมถึงความไม่สงบทางภาคใต้ที่ยัง
ไม่คลี่คลาย เป็นผลให้คาดว่าทั้งปี 2549 มูลค่าค้าปลีกในระบบภาษีในภาพรวมจะขยายตัวประมาณร้อยละ
5 คิดเป็นมูลค่ากว่า 2.3 ล้านล้านบาท ในขณะที่ภาวการณ์แข่งขันสูง โดยเฉพาะในส่วนของค้าปลีกสมัย
ใหม่ในลักษณะ Chain Store ทั้งในรูปแบบการขยายสาขาและการนำากลยุทธ์ทางการตลาดในรูปแบบต่าง
ๆ มาใช้เพื่อดึงดูดผู้บริโภคซึ่งในปัจจุบันจะยิ่งมีการไตร่ตรองในการซื้อและ คำานึงถึงความคุ้มค่ามากขึ้น
จากราคานำ้ามันที่เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลกระทบต่อรูปแบบพฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยของผู้บริโภค โดยส่วน
หนึ่งมีการลดความถี่ในการซื้อลงและอาจจะมีการซื้อครั้งเดียว ในปริมาณที่มากขึ้น รวมไปถึงการซือสินค้า
้
จากร้านค้าปลีกใกล้บ้านหรือที่ทำางานมากขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป
ประกอบกับมาตรการควบ คุมผังเมือง ทำาให้ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่เริ่มมีการปรับรูปแบบไปสู่ร้านค้าปลีก
ขนาดเล็กมาก ยิ่งขึ้น ร้านสะดวกซือจึงเป็นตลาดที่น่าสนใจเข้ามาลงทุนทั้งจากผู้ประกอบการรายเดิม และ
้
ผู้ค้าปลีกในตลาดอื่น ซึ่งมีทั้งรูปแบบที่ประกอบการเองและขยายสาขาด้วยระบบแฟรนไชส์
ปัจจัยแห่งความสำาเร็จ
ปัจจัยสำาคัญที่สนับสนุนความสำาเร็จของ บริษัท ซี.พี. เซเว่นอีเลฟเว่น จำากัด (มหาชน) พอสรุปได้ ดังนี้
1.วิสัยทัศน์และการตัดสินใจของผู้บริหาร
การที่บริษัทสามารถขยายกิจการร้านสาขา 7-Eleven ได้อย่างรวดเร็วและสามารถบริหารร้านสาขาให้อยู่
รอด และเจริญเติบโต เป็นผลมาจากความกล้าในการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง และการเลือกทำาเลใน
การเปิดร้านสาขาที่เหมาะสม การตัดสินใจที่แม่นยำาและทันเวลานี้ เกิดจากการสร้างสมประสบการณ์ ของ
ผู้บริหาร ทำาให้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและมีความสามารถในการมองโอกาสที่กำาลังจะเกิด ขึ้นในอนาคต
2.ทีมงานที่มีคุณภาพ
การมีทีมงานที่มีพลังและมีคุณภาพ ช่วยสานต่อวิสัยทัศน์ของผู้บริหารให้เกิดเป็นรูปธรรมและนำาองค์กรสู่
ความ สำาเร็จ นั้นเป็นผลมาจากการสรรหาบุคคลที่มคุณภาพ แลความมุ่งมั่นของผู้บริหารในการให้ความ
ี
สำาคัญในการพัฒนาพนักงานในรูปแบบต่าง ๆ เป็นปัจจัยสำาคัญอย่างหนึ่งในการนำาไปสู่ความสำาเร็จ
3. การยอมรับและความพึงพอใจของลูกค้า
ร้านสาขาทุกแห่งของ 7-Eleven เป็นที่นิยมของลูกค้า เนื่องจากมีสินค้าที่ตอบสนองความต้องการของ
ลูกค้าและมีความสะดวก เนื่องจากมีสาขากระจายอยู่ทั่วไปในแหล่งชุมชน ตลอดจนความเชื่อมั่นใน
คุณภาพสินค้า ซึ่งเป็นผลมาจากการให้ความสำาคัญในการคัดเลือกและตรวจสอบสินค้าที่มีคุณภาพ ทีจะ ่
นำามาวางขายในร้านสาขา
ปัจจัยความเสี่ยง
1.ความเสี่ยงจากการถูกยกเลิกเครืองหมายการค้า 7-Eleven
่
- 3. บริษัทดำาเนินธุรกิจร้านค้าสะดวกซื้อในประเทศไทยภายสัญญาให้ใช้สิทธิ์ที่ บริษัททำากับ 7-Eleven, Inc.
แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ตังแต่วันที่ 7 พฤศจิกายน 2531 โดยสัญญาให้ใช้สิทธิ์เป็นสัญญาที่ไมมี
้
กำาหนดอายุ โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายมีสิทธิ์ทจะเลิกสัญญา หากเกิดเหตุการณ์ตามที่กำาหนดไว้ในสัญญา
ี่
หรือในกรณีที่ถอเป็นเหตุเลิกสัญญาตามสัญญาให้ความยินยอมซึ่งจะมี ผลเป็นการเลิกสัญญาให้ใช้สิทธิ์
ื
ด้วย ซึ่งจากความสัมพันธ์อันดีตลอดระยะเวลา 17 ปี บริษัทยังไม่เคยมีกรณีพิพาทใด ๆ ที่สำาคัญกับ 7-
Eleven, Inc. รวมทั้งได้ปฏิบัตตามข้อกำาหนดต่าง ๆ ในสัญญาดังกล่าวมาโดยตลอด ทำาให้บริษัทเชือว่า
ิ ่
บริษัท และบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ ยังมีความสัมพันธ์อันดีกับ 7-Eleven, Inc. และในขณะนี้ไม่มีเหตุ
อันใดที่จะส่งผลกระทบในทางลบกับความสัมพันธ์ระหว่าง บริษัท และบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ กับ 7-
Eleven, Inc. ในกรณีสัญญาการใช้สิทธิ์ถกยกเลิก บริษัทจะสูญเสียสิทธิในการใช้เครื่องหมายการค้า ซึ่ง
ู
อาจก่อให้เกิดผลกระทบกับการดำาเนินธุรกิจของบริษัทอย่างมาก
2.ความเสี่ยงจากความผิดพลาดหรือข้อขัดข้องของศูนย์กระจายสินค้า
สินค้าส่วนใหญ่ที่จำาหน่ายในร้าน 7-Eleven จะถูกส่งผ่านมาจากศูนย์กระจายสินค้าของบริษัท ดังนั้น การ
ดำาเนินการของศูนย์กระจายสินค้ามีความสำาคัญต่อธุรกิจของ 7-Eleven อย่างมาก 2.ความเสี่ยงจากความ
ผิดพลาดหรือข้อขัดข้องของศูนย์กระจายสินค้า ๆ ซึงย่อมมีผลเสียต่อความสามารถในการจัดส่งสินค้าไป
่
ยังร้าน 7-Eleven ซึ่งอาจทำาให้เกิดผลกระทบกับผลประกอบการได้
3. ความเสี่ยงจากความผิดพลาดหรือขัดข้องของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศถือเป็นปัจจัยสำาคัญที่ช่วยให้บริษัทสามารถดำาเนิน ธุรกิจได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ทั้งด้านการบริหารการหมุนเวียนของสินค้า การจัดซื้อ การจัดเก็บข้อมูลและการประมวลผล
ข้อมูลเพือการพัฒนาความสามารถในการดำาเนิน การ ดังนั้นความผิดพลาดหรือขัดข้องของระบบ
่
เทคโนโลยีสารสนเทศย่อมส่งผลเสียต่อ ความสามารถของบริษัทในการบริหารร้าน 7-Eleven ให้เป็นไป
ตามปกติ ซึ่งอาจเกิดผลกระทบกับผลประกอบการของบริษัทได้
4.ความเสี่ยงจากการลงทุนในต่างประเทศ
เนื่องจากบริษัทมีการลงทุนใน Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co.,Ltd. (SLS) ซึ่งเป็น
บริษัทที่ดำาเนินธุรกิจซุปเปอร์เซ็นเตอร์ในสาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC) อันอาจจะมีความเสี่ยงเกิดขึ้นได้
จากปัจจัยทางการเมือง กฎหมาย หรือภาวะเศรษฐกิจของ PRC ทีอาจเปลี่ยนแปลงไป ซึงอาจมีผลกระทบ
่ ่
ให้รายได้จากธุรกิจเหล่านั้นไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
นอกจากนี้ ตามที่รฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ลงนามในข้อตกลงการค้ากับ World Trade
ั
Organization (WTO) ทำาให้มการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับกาขยายตัวของธุรกิจ
ี
ต่าง ๆ ภายในประเทศ สำาหรับธุรกิจค้าปลีกนั้น นับตั้งแต่ 11 ธันวาคม 2547 เป็นต้นไป รัฐบาล PRC ได้
อนุญาตให้ผู้ถอหุ้นต่างชาติสามารถถือหุ้นในบริษัทที่ดำาเนินธุรกิจซุป เปอร์เซ็นเตอร์ได้เพิ่มขึ้น จากเดิมถือ
ื
หุ้นไม่เกินร้อยละ 48 เป็นผู้ถอหุ้นได้มากกว่าร้อยละ 50
ื
5.ความเสี่ยงจากอิทธิพลการควบคุมของเครือเจริญโภคภัณฑ์
เครือเจริญโภคภัณฑ์มีอำานาจในการควบคุมทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริษัท และในสัญญาให้ความ
ยินยอม เครือเจริญโภคภัณฑ์ ตกลงจะดำารงสัดส่วนการถือหุ้นขั้นตำ่า ตลอดจนอำานาจในการแต่งตั้งและ
อำานาจควบคุมจำานวนกรรมการข้างมากของบริษัท ดังนั้น เครือเจริญโภคภัณฑ์จึงสามารถแต่งตั้งกรรมการ
บริษัทส่วนใหญ่ และสามารถมีอิทธิพลในการบริหารจัดการบริษัท รวมถึงพิจารณาหรือผลักดันเรื่องต่าง ๆ
ทีต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ถอหุ้นของบริษัท
่ ื
ปัจจุบันนี้ไม่มีข้อจำากัดทางสัญญาใด ๆ ระหว่างบริษัทปละบริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์ที่ห้ามบริษัทใน
เครือเจริญ โภคภัณฑ์ขยายธุรกิจหรือลงทุนในธุรกิจค้าปลีกอื่น ๆ จึงอาจมีความเสี่ยงว่าเครือเจริญ
โภคภัณฑ์จะไม่พจารณาจัดสรรโอกาสและ ทรัพยากรไปในทางที่เป็นประโยชน์สูงสุด กับบริษัท และผู้ถอ
ิ ื
หุ้น
เป้าหมายของการดำาเนินธุรกิจ
บริษัทมีเป้าหมายที่จะเป็นผู้นำาในธุรกิจร้านค้าสะดวกซื้อในประเทศไทยที่ สามารถตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยเน้นจุดเด่นของการนำาเสนอ “ความสะดวก” ให้กับลูกค้า
สำาหรับการซื้อสินค้าและใช้บริการต่าง ๆ ด้วยทำาเลร้าน 7-Eleven ทีกระจายครอบคลุมพื้นทีกว้างขวางและ
่ ่
- 4. ส่วนใหญ่จะเปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ บริษัทมีแผนที่จะเปิดร้าน 7-Eleven ในปี 2550-2551 ปี
ละประมาณ 400-450 สาขาโดยบริษัทยังวางตำาแหน่งร้าน 7-Eleven ให้เป็นร้านค้าสะดวกซือที่ให้บริการ
้
อาหารและเครืองดื่มทีครบวงจร โดยเน้นการขายสินค้าบริโภคมากกว่าสินค้าอุปโภค เนื่องจากสินค้า
่ ่
บริโภคโดยทั่วไปมีอัตราผลตอบแทนที่สูงกว่าสินค้าประเภท อุปโภค และเป็นการวางตำาแหน่งร้าน 7-
Eleven ให้แตกต่างจากร้านค้าปลีกประเภท ในขณะเดียวกันบริษัทจะใช้ประโยชน์จากเครือข่ายร้าน 7-
Eleven ในการให้บริการเสริมต่าง ๆ เพื่อเพิมความสะดวกแก่ลูกค้า อาทิเช่น การเป็นตัวแทนชำาระค่าสินค้า
่
และบริการของ เคาน์เตอร์เซอร์วิส การสสั่งซื้อสินค้าทาง 7-Cattalog เป็นต้น
วิเคราะห์สถานะภาพของ บ. เซเว่นอีเลฟเว่น
เซเว่นอีเลฟเว่น เป็นร้านสะดวกซื้อที่มุ่งมั่นที่จะแสวงหาสินค้าและบริการที่หลากหลาย เพือตอบสนอง
่
ความต้องการของลูกค้า โดยมุ่งเน้นที่จะให้ลูกค้ามาถึงร้าน แล้วสามารถได้ครบทุกอย่างไม่ว่าจะซื้อสินค้า
หรือ โอนเงิน หรือชำาระค่าสาธารณูปโภค ซึ่งย่อมจะได้เปรียบในเชิงการแข่งขันสูง ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ด้วย
The 5 Force’ s Model พบว่า
1.การแข่งขันในอุตสาหกรรม ( Existing & Competitor)
ปัจจุบันธุรกิจโดยทั่วไปของร้านสะดวกซื้อมีการแข่งขันกันสูงมาก ไม่ว่าจะเป็นร้านค้าปลีกขนาดเดียวกัน
เช่น โลตัส เอ็กซ์เพรส หรือ Jiffy Shop หรือ ร้านค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่ ไม่ว่าจะเป็น Big C, Tesco
Lotus หรือ คาร์ฟูร์ ต่างแข่งขันช่วงชิงลูกค้าด้วยกลวิธีต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการจัดรายการโปรโมชั่นต่าง ๆ
เช่น ซือ 1 แถม 1 หรือ ซือ 2 ชินประหยัดกว่า หรือจัดรายการลดแลก แจกแถม ซึ่งสภาวะเศรษฐกิจชะลอ
้ ้ ้
ตัวเช่นนี้ หากไม่มกลยุทธ์ในการต่อสู้แย่งชิงลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นการจัดรายการ หรือ สร้างบริการให้ลกค้า
ี ู
ประทับใจ หรือ ขายสินค้าที่มีคุณภาพ หลากหลาย แตกต่างจากร้านค้าปลีกทั่วไป ซึ่งล้วนสามารถจูงใจให้
ลูกค้าเลือกใช้บริการได้
2.คู่แข่งรายใหม่ ( New Entrants)
สำาหรับคู่แข่งรายใหม่ของ 7-Eleven ขณะนี้มีเพิ่มจำานวนมาก สามารถเข้ามาแข่งขันได้ง่าย ไว้ว่าจะเป็น
ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก เช่น 108 shop , โลตัส เอ็กซ์เพรส หรือ Jiffy ฯลฯ และยังมีร้านค้าปลีกข้ามชาติ
ขนาดใหญ่ เช่น Big C , Tesco Lotus ซึ่งแม้ว่าร้านค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่ จะเข้ามากระจายเปิด
กิจการตามเขตชุมชนใหญ่ ๆ และมีสิ่งอำานวยความสะดวกค่อนข้างครบ ไม่ว่าจะเป็น เคาท์เตอร์รับชำาระค่า
บริการต่าง ๆ มีโรงภาพยนตร์ คาราโอเกะ และมีธนาคารสาขาย่อย ซึ่งก็ถือว่าเป็นร้านค้าปลีกที่เข้ามาแชร์
ส่วนแบ่งตลาดไปได้มากพอสมควร ซึ่งทาง 7–Eleven อาจจะได้เปรียบคู่แข่งรายอื่นในแง่ที่ว่า เปิดบริการ
24 ชัวโมง และมีสาขาที่เป็นทั้งร้านสาขาบริษัท ร้านค้าเฟรนไชส์ และผู้ประกอบการรับสิทธิช่วงใน
่
อาณาเขต ซึ่งเป็นร้านที่มีเครือข่ายกระจายอยู่ในชุมชนทั่วประเทศ
3. อำานาจต่อรองของตัวแทนจำาหน่าย ( Supplier Power)
ในแง่ Supplier นั้นไม่มีผลกระทบต่อ 7–Eleven เลย เนื่องจากว่า 7-Eleven เป็นบริษัทที่มีสาขาจำานวน
มาก กว่า 3,700 สาขา และมีกระจายอยูทั่วประเทศ ซึ่งทำาให้มีอำานาจต่อรองกับ Supplier สูงมาก เพราะ
่
ย่อมจะมี Supplier จำานวนมากรายที่อยากจะติดต่อขายสินค้าให้กับ 7–Eleven เพราะเมื่อสมารถขายสินค้า
ให้ กับ 7–Eleven ได้ ก็เท่ากับว่าสามารถกระจายสินค้าของตนไปได้ทั่วประเทศง่ายขึ้น อีกทั้งยังมี
Supplier จำานวนมากที่ไม่สามารถเข้าไปในเสนอขายสิค้าได้ใน ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ จึงทำาให้ 7-Eleven
มีอำานาจการต่อรองในเรื่องราคา และสามารถกำาหนดกติกากับ Supplier ได้เช่น หากทาง Supplier ไม่
สามารถจัดส่งสินค้าได้ตามเวลาที่กำาหนด จะต้องเสียค่าปรับ เพื่อชดเชยความเสียหายของ 7–Eleven ที่
ไม่มีสินค้าไว้สำาหรับให้บริการกับลูกค้าได้ อีกทั้งหากสินค้าที่นำามาขายในร้านสาขาใดไม่มีคุณภาพ ทาง
7-Eleven ก็จะคัดสินค้าออก ไม่ให้ขายในร้านสาขา
4.อำานาจต่อรองของผู้ซื้อ (Buyer Power)
ผู้ซื้อมีอำานาจในการต่อรองกับ 7–Eleven น้อย ถึงแม้ว่าจะมีร้านค้าปลีกเกิดขึ้นมากมาย และมีกรจัด
รายการที่น่าสนใจไว้ แต่ 7-Eleven ก็ยังเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำาหรับลูกค้า เพราะ 7–Eleven มีสาขา
กระจายอยูตามชุมชนทั่วประเทศ ซึงเป็นร้านค้าปลีกที่อยู่ใกล้บ้านมากกว่าร้านค้าปลีกอื่น ๆ จึงสามารถ
่ ่
สนองตอบความต้องการได้ง่าย ประกอบกับในภาวะที่ค่านำ้ามันเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบันนี้จึงทำาให้ผู้บริโภค เริ่ม
เปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อ ไม่ว่าจะซื้อจากร้านค้าใกล้บ้าน ใกล้ที่ทำางาน ซึ่งการกระจายสาขาของ 7-Eleven
นี้สามารถตอบสนองความต้องการในส่วนนี้ของลูกค้าได้มาก อีกทั้งการบริการอาหารและเครืองดื่มมีพร้อม
่
สะอาด สะดวก การเปิดบริการ 24 ชั่วโมง ล้วนเป็นสิ่งที่ดึงดูดลูกค้าให้มาใช้บริการได้
- 5. 5.สิ่งทดแทน (Substitutes)
มีร้านค้าปลีกขนาดเล็กทั้งที่เป็นร้านค้าปลีกตั้งเดิม และร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ซึ่งเป็นคู่แข่งทางตรง ที่
สามารถมาทดแทน สนองตอบต่อความต้องการของลูกค้าได้ เหมือน ๆ กัน ซึ่งในปัจจุบัน พฤติกรรมผู้
บริโภคในการซื้อสินค้าได้เปลี่ยนไปตามสภาวะราคานำ้ามันที่สูงขึ้น ซึ่งส่งผลให้ผู้บริโภคลดความถี่ในการ
ซื้อลง และมีการซือครั้งเดียวในปริมาณที่มากขึ้น รวมไปถึงการซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกที่ใกล้บ้านหรือ
้
ใกล้ที่ทำางาน มากขึ้น หรือตามร้านค้าปลีกทีสามารพตอบสนองความต้องการสินค้าและบริการได้ครบถ้วน
่
เพื่อความสะดวกในการจับจ่าย และเป็นการประหยัดเวลาในการจับจ่ายด้วย จึงทำาให้ร้านค้าปลีกต่าง ๆ
แข่งขันหาจุดบริการต่าง ๆ เพื่อดึงดูดให้ลูกค้าเลือกมาใช้บริการและจับจ่ายทีร้านของตน
่
Scenario Analysis
การวิเคราะห์ทัศนภาพ (Scenario Analysis) เป็นกระบวนการวิเคราะห์สถานการณ์ในภาพรวมซึ่งสามารถ
ใช้เป็นแนวทางในการ วิเคราะห์ทิศทางที่จะดำาเนินต่อไปในอนาคตได้ ซึ่งสามารถวิเคราะห์สถานการณ์
โดยรวม และปัจจัยความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อองค์กรคือ
1.การเมือง
ในสภาวะการเมืองที่ไม่ชัดเจน แม้ว่าในอนาคตอันใกล้นจะมีการเลือกตั้งที่แน่นอน จะมีรฐบาลใหม่ แต่ก็ยัง
ี้ ั
ไม่สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคและนักลงทุนเท่าใดนัก ต่างหยุดรอดูสถานการณ์หลังจัดตั้ง
รัฐบาลใหม่แล้วเสร็จ เพือดูทศทางที่แน่นอน จึงค่อยตัดสินใจลงทุน
่ ิ
อีกทั้งร่างกฎหมายค้าปลีกยังไม่ผ่านร่าง จึงทำาให้ค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่อาศัยช่องว่างที่กฎหมายยัง
ไม่มีผลบังคับใช้ ขยายสาขาไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ ก่อนทีจะถูกควบคุม ซึ่งเหล่าร้านค้าปลีกดั้งเดิมและร้าน
่
สะดวกซื้อต่างหวังว่ารัฐบาลใหม่ จะได้ขอสรุปกฎหมายค้าปลีกให้มีผลบังคับใช้กับร้านค้าปลีกข้ามชาติ
้
ขนาดใหญ่
2.เศรษฐกิจ
ในสภาวะทีเศรษฐกิจทั่วประเทศอยู่ในภาวะชะลอตัว การลงทุนด้านต่าง ๆ ต่างเลื่อนการลงทุนออกไปก่อน
อีกทั้งปัจจุบันนี้ราคานำ้ามันสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นผลให้กระทบต่อต้นทุนสินค้าจำานวนมาก ทำาให้ราคา
สินค้าเพิ่มสูงขึ้น ด้วยภาวะสองปัจจัยนี้เป็นสิ่งสำาคัญที่ผู้บริโภคระวังการใช้จ่าย มีการคิดถึงเรื่องความคุ้มค่า
กับราคาทีจ่ายไปมากขึ้น และใช้จ่ายเฉพาะสิ่งที่จำาเป็นเท่านั้น และเน้นการซือของทีละมาก ๆ ไม่ออกไป
่ ้
ซื้อบ่อย ๆ ซื้อจากร้านที่สามารถสนองความต้องการได้ครบถ้วน หรือ ไปที่เดียวได้ครบทุกอย่างที่ต้องการ
3.สังคมและวัฒนธรรม
ในสังคมปัจจุบันนี้ ในการประกอบธุรกิจใด ๆ ก็ตามล้วนต้องมีการกระทำาใด ๆ เพื่อตอบแทนกลับสู่สังคม
และชุมชน เพือให้ชุมชนรับรู้ว่าธุรกิจนั้นไม่ได้หวังแต่ผลกำาไรเพียงอย่างเดียว ซึ่งทาง 7-Eleven เองก็มี
่
โครงการหลาย ๆ โครงการร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพือประโยชน์แก่สังคม ดังเช่น
่
1. ด้านภาษาไทย การอ่าน และการเขียน เช่น
- โครงการโรงเรียนรักการอ่านยอดเยี่ยม
- โครงการประกวดหนังสือดีเด่น รางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด
- “กล้าวรรณกรรม” และ “นักเขียนการ์ตูนรุ่นเยาว์
2. ด้านพัฒนาทักษะทางปัญญา
- การเผยแพร่ “หมากล้อม” (เกมโกะ)
3. ด้านการศึกษาผ่านประสบการณ์ตรง
4. ด้านคุณธรรมจริยธรรม
- โครงการพัฒนาครูผู้สอนพระพุทธศาสนา วิถีพุทธกัลยาณมิตร
- โครงการเรายกวัดมาไว้ที่เซเว่นฯ
5. การบริการสาธารณประโยชน์
- โครงการบริจาคเงินสมทบทุนเพือมอบแก่ผู้ประสบภัย “สึนามิ” และผู้ประสบภัย “นำ้าท่วม”
่
- โครงการขาดหลอดประหยัดไฟ
- โครงการบริการนำ้าดื่มแก่เจ้าหน้าที่ตำารวจทั่วประเทศ
4. เทคโนโลยี
ปัจจุบันนี้เป็นโลกของข่าวสาร และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงไม่
สามารถหลบเลี่ยงไป ได้ ขณะเดียวกันเทคโนโลยีนั้นมีคุณอนันต์และโทษมหันต์ ขึ้นอยูกับการรู้จกนำามา
่ ั
- 6. ใช้ให้เป็น ซึ่ง ในบริษัท ซี.พี.เซเว่นอีเลฟเว่น นั้นได้นำาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ได้
อย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเพือสังเกตพฤติกรรมของผู้บริโภค หรือใช้เพื่อตรวจสอบควบคุม
่
คุณภาพของสินค้า ปริมาณสินค้าคงคลัง คิดค้นและพัฒนาคุณภาพสินค้า ซึ่งบริษัทนั้นมีเป้าหมายในการ
มุ่งไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ มีการส่งเสริมการเรียนรู้ ถ่ายทอด แบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ และจุดเรียนรู้
ในการทำางาน
การวิเคราะห์แนวโน้ม
แนวโน้มที่แน่นอน (Certainty Trends)
C1 ในปีนี้มีการเลือกตั้งที่แน่นอนและมีโอกาสทีจะจัดตั้งรัฐบาลใหม่ที่แน่นอน
่
C2 ลูกค้าเริ่มสนใจใส่ในเรื่องความคุ้มค่าของสินค้ากับปริมาณเงินที่จ่ายออกไป ในภาวะที่เศรศฐกิจของ
ประเทศชะลอตัว
C3 คู่แข่งขัน เริ่มมีการทำาตลาดและการจัดรายการทีดึงดูดลูกค้า
่
C4 การแข่งขันเรื่องสินค้าและบริการเน้นที่คุณภาพของสินค้าและบริการเป็นสำาคัญ
แนวโน้มที่ไม่แน่นอน (Uncertainty Trends)
U1 ราคานำ้ามันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลต่อต้นทุนของสินค้าในด้านการขนส่ง
U2 เทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
U3 พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
U4 ความไม่แน่นอนของกฎหมายค้าปลีกว่าจะมีผลบังคับใช้เมื่อใด ซึงส่งผลให้ร้านค้าปลีกข้ามชาติขนาด
่
ใหญ่ต่างเร่งขยายสาขาใหญ่บ้างเล็กบ้าง
U5 การแข็งค่าของค่าเงินบาท ส่งผลกระทบต่อรายได้ของร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ที่ได้ลงทุนในต่าง
ประเทศ
SWOT Analysis การวิเคราะห์ภายในองค์กร
ในการวิเคราะห์ SWOT ของ 7-Eleven ในครั้งนี้ดัวย 5’Ms โดยมีรายละเอียดดังนี้คือ
1. Man (คน)
จุดแข็ง (Strengths)
บริษัทประกอบด้วยพนักงานและบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ เนืองจาก 7-Eleven ได้ให้ความสำาคัญ
่
กับการพัฒนาคนมาอย่างต่อเนื่อง มีการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพเพื่อรองรับการ
ขยายสาขา และรองรับการแข่งขันที่สูงขึ้น ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญในการผลักดันให้ 7-Eleven ประสบความ
สำาเร็จได้ สามารถมีสาขาร้านค้ามากมาย
จุดอ่อน (Weakness)
การที่พนักงานและบุคลากร ของ 7-Eleven มีความรู้ความสามารถ อาจเป็นช่องทางให้บริษัทคู่แข่งธุรกิจ
เดียวกันเข้ามาซื้อตัวพนักงาน โดยอาจเสนออัตราเงินเดือน และผลตอบแทนที่สูงกว่าเพื่อดึงดูดพนักงาน
ของ 7-Eleven ได้ เพราะปัจจุบันนี้การแข่งขันที่สูง หากมีบุคลากรที่มความรู้ความสามารถมาร่วมแรง
ี
ร่วมใจพัฒนาองค์กร จะทำาให้ธุรกิจประสบความสำาเร็จไปกว่าครึ่งแล้ว
โอกาส (Opportunity)
ผู้บริหารของบริษัทให้ความสำาคัญต่อการสรรหาพนักงานมากพอ ๆ กับการพัฒนาศักยภาพของพนักงาน
โดยให้ความสำาคัญต่อการคัดเลือกคนดีมากกว่าคนเก่ง ซึงผู้บริหารเชื่อว่าพนักงานที่รับเข้ามาใหม่ยังไม่มี
่
ความรู้ ความสามารถในระดับที่เรียกว่า “คนเก่ง” ก็สามารถพัฒนาภายหลังได้ แต่การสร้างคนให้เป็นคนดี
ต้องใช้เวลานาน วิธีการสรรหาของบริษัท ใช้วิธีการหลายรูปแบบด้วยกัน เช่นการประกาศรับสมัครทางสื่อ
ต่าง ๆ การคัดเลือกนักศึกษาที่จบใหม่จากมหาวิทยาลัย การเข้าร่วมงานนัดพบแรงงาน และการรับสมัคร
ใน Internet เป็นต้น ซึงทำาให้ฝ่ายทรัพยากรบุคคลมีโอกาสที่จะคัดเลือกพนักงานได้มาก
่
อุปสรรค (Threat)
เนื่องจาก 7-Eleven มีคณะกรรมการที่มีอำานาจในการตัดสินใจ เรื่องนโยบายต่าง ๆ หลายท่าน ซึ่งคณะ
- 7. กรรมการเหล่านี้มาจากการแต่งตั้งโดยใช้เสียงข้างมาก จากการประชุมผู้ถอหุ้น ซึ่งสามารถถอดถอนได้
ื
โดยใช้มติที่ประชุม ซึ่งหากมีการเปลี่ยนคณะกรรมการบ่อย จะทำาให้การตัดสินใจล่าช้าไม่ทันต่อเหตุการณ์
ได้
2. Money (เงิน)
จุดแข็ง (Strengths)
ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้รวม 104,873 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2548 คิด
เป็น ร้อยละ 6 ซึ่งเป็นรายได้ธุรกิจร้านสะดวกซือ สัดส่วนร้อยละ 64 รายได้จากธุรกิจร้านค้าปลีกขนาดใหญ่
้
ในประเทศจีน สัดส่วนร้อยละ 30 และรายได้จากธุรกิจอื่น ๆ ในประเทศ สัดส่วนร้อยละ 6
กลุมธุรกิจร้านค้าสะดวกซือมียอดขายสุทธิรวม 65,055 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 14,975 ล้านบาท
่ ้
หรือคิดเป็นร้อยละ 29 ซึ่งการเพิ่มขึ้นของยอดขายสุทธิมีสาเหตุมาจากการขยายสาขา และยอดขายเฉลี่ย
ต่อร้านต่อวันเพิ่มขึ้น
ซึ่งแสดงให้เห็นว่า 7-eleven มีความแข็งแกร่งเรื่องเงินทุนและมีศักยภาพในการขยายสาขา และเพิ่มยอด
ขายให้สูงขึ้น เป็นอย่างมาก
จุดอ่อน (Weakness)
บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นเป็นจำานวนประมาณร้อยละ 50 ของกำาไรสุทธิจากการดำาเนิน
งานหลังภาษีเงินได้ ซึ่งนโยบายนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ซึงการขยายสาขาเพิ่มขึ้นนั้นมีส่วนทำาให้กำาไร
่
สุทธิลดลง เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการชายและบริหารที่เพิ่มขึ้น ด้วยเหตุนี้อาจทำาให้การจ่ายเงินปันผลให้
กับผูถือหุ้นเปลี่ยนไป อาจสร้างความไม่พึงพอใจให้กับผูถือหุ้นได้
้ ้
โอกาส (Opportunity)
7-Eleven เป็นร้านค้าสะดวกซื้อที่เป็นที่รู้จกโดยทั่วไป หากมีความจำาเป็นในการระดมทุนเพิ่ม ก็มความ
ั ี
สามารถในการระดมทุนได้ง่าย อีกทั้งการขยายเพิ่มของแฟรนไชส์ จะช่วยให้บริษัทไม่ต้องลงทุนในการ
เพิ่มสาขามากนัก แต่สามารถมีสาขาเพิ่มขึ้นได้
อุปสรรค (Threat)
ปัจจุบันค่าครองชีพที่สูงขึ้น ส่งผลให้อัตราค่าเช่าร้านสูงขึ้นมาก อีกทั้งแหล่งทำาเลทีตั้งร้านตามชุมชนต่าง
่
ๆ มีราคาแพง ซึ่งจะส่งผลทำาให้ค่าใช้จ่ายของร้านโดยรวมสูงขึ้น และจะส่งผลให้กำาไรสุทธิของบริษัทลด
น้อยลง
3. Materials (วัตถุดิบ อุปกรณ์ เครืองมือ ที่ใช้ในการดำาเนินธุรกิจ)
่
จุดแข็ง (Strengths)
บริษัทมีการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้ในการดำาเนินธุรกิจ เพือตอบสนองต่อความต้องการ
่
ของลูกค้าที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว โดยยึดถือความพึงพอใจของลูกค้าเป็นหลัก มีกระบวนการคัดสรรและ
ตรวจสอบคุณภาพของสินค้า ให้ได้คุณภาพสมำ่าเสมอ และเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค อีกทั้ง
บริษัทได้จัดกระบวนการพัฒนาสินค้า ร่วมกับผู้ผลิต โดยมีการตรวจสอบสินค้าตั้งแต่ขั้นตอนการผลิต การ
จัดส่ง การเก็บรักษา เพือให้ได้มาซึ่งสินค้าที่มีคุณภาพ
่
จุดอ่อน (Weakness)
เนื่องจากบริษัท 7-Eleven มีสาขากระจายอยู่ทั่วทั้งประเทศ การติดต่อสือสารมักใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
่
เป็นสำาคัญ หากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีปัญหา ก็จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารงาน
โอกาส (Opportunity)
บริษัทตระหนักถึงความสำาคัญในการพัฒนาสินค้า การคัดเลือกผลิตภัณฑ์ และพัฒนาสินที่ที่มีคุณภาพ อีก
ทั้งมีความพยายามอย่างต่อเนื่องในการพัฒนาห่วงโซ่อุปทานเพื่อส่งมอบสิ่ง ทีดีที่สดให้แก่ลกค้า และตรง
่ ุ ู
ความต้องการของลูกค้า อีกทั้งนำาเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ในการผลิต ควบคุม และการวางแผน เพือ ่
ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนไปของพฤติกรรมผู้บริโภค
- 8. อุปสรรค (Threat)
พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ฉะนั้นการวางแผนด้านต่าง ๆ ต้องกระทำาอย่างรวดเร็วเพื่อให้ทัน
ต่อเหตุการณ์ และสภาวะ การณ์ที่เปลี่ยนไป
4. Management (การจัดการ)
จุดแข็ง (Strengths)
โครงสร้างการจัดการของบริษัทประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานเจ้า
หน้าที่บริหาร และ ผู้บริหาร มีการแบ่งขอบเขตอำานาจหน้าที่อย่างชัดเจน ซึงคณะกรรมการบริษัทประกอบ
่
ไปด้วยบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ในการทำางานจากหลากหลายสาขาที่เป็นที่
ยอมรับในระดับประเทศ และมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบเป็นอย่างดี และมีวัฒนธรรม
องค์กรของบริษัทคือการทำางานเป็นทีม โดยมีค่านิยม 7 Values เป็นค่านิยมพื้นฐานสำาหรับพนักงานทุก
คนในองค์กร และ 11 Leadership เป็นค่านิยมสำาหรับผู้บริหารทุกคนยึดถือและนำาไปปฏิบัติในการดูแลเอา
ใจใส่ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างมีคุณธรรม
จุดอ่อน (Weakness)
การที่บริษัทมีคณะกรรมการบริษัท มากถึง 13 คน อาจส่งผลให้การตัดสินใจในบางเรื่องล่าช้ากว่าที่ควร
อำานาจการตัดสินใจมีน้อย ต้องอาศัยเสียงส่วนใหญ่ของผู้ถือหุ้น ซึ่งในการดำาเนินงานปัจจุบันต้องมีการ
ตัดสินใจที่รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ที่ เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว
โอกาส (Opportunity)
ตามโครงสร้างของคณะกรรมการ ล้วนเป็นบุคคลที่มีความสามารถ มีประสบการณ์ในการทำางานที่หลาก
หลาย และเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ย่อมสามารถนำาพาให้องค์กรประสบความสำาเร็จในการดำาเนินธุรกิจ
ได้เป็นอย่างดี สามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันรายใหญ่ ๆ ได้
อุปสรรค (Threat)
ในภาวะตลาดปัจจุบันมีการแข่งขันค่อนข้างสูง ไม่ว่าจะเป็นตลาดในประเทศ หรือในตลาดต่างประเทศ
ล้วนเป็นแรงผลักดันให้บริษัทต้องแสดงความสามารถในการบริหารจัดการ สร้างความแข่งแกร่ง และมี
ความพร้อมสำาหรับการฝ่าฟันอุปสรรคต่าง ๆ ได้
5.Marketing (การตลาด)
จุดแข็ง (Strengths)
บริษัทมีทำาเลทีตั้งทีค่อนข้างได้เปรียบเนื่องจากได้เลือกทำาเลที่ตั้งใน แหล่งชุมชนมีผคนสัญจรผ่านไปมา
่ ่ ู้
ตลอด จึงสามารถเข้าถึงผู้บริโภค ได้ง่าย อีกทั้ง มีผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และมีมาตรฐานคุณภาพสินค้าไว้
อย่างชัดเจน และมีการสุ่มตรวจคุณภาพสินค้าอย่างสมำ่าเสมอ และมีการสรรหาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย
แตกต่างจากคู่แข่งขันอยู่เสมอ โดยมีเป้าหมายหลักคือการตอบสนองตรงต่อความต้องการของลูกค้า
จุดอ่อน (Weakness)
ปัจจุบันร้านค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่มีการแข่งขันทางการตลาดสูงมาก ต่างนำากลยุทธ์ต่าง ๆ มาใช้เช่น
การขายสินค้าราคาพิเศษ การมีของสมนาคุณพิเศษ การแจกคูปองเงินสดเพื่อใช้เป็นส่วนลดในการซื้อ
สินค้า ซึงการแข่งขันเช่นนี้สามารถดึงดูดผู้ซอได้มาก เนื่องจากปัจจุบันนี้ผู้ซื้อมักมองถึงความคุ้มค่า
่ ื้
ประหยัด ซึ่งทางบริษัทเองต้องหาวิธีการจัดรายการโปรโมชั่นเพื่อดึงดูดใจผู้ แต่ในขณะเดียวกันต้องไม่มี
ผลกระทบต่อบริษัทในระยะยาว
โอกาส (Opportunity)
- 9. 7-Eleven มีโอกาสที่เข้าถึงชุมชนได้มากกว่าร้านค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่ เนื่องจากการมีสาขาที่
ครอบคลุมทั่วประเทศไทย อีกทั้งเป็นร้านสะดวกซือทีอยู่ในชุมชน และไม่ถูกต่อต้านจากชุมชนเนื่องจากว่า
้ ่
เป็นร้านค้าของคนไทยไม่ใช่ต่างชาติ ซึ่งจากข้อได้เปรียบนี้ทำาให้ 7-Eleven สามารถขยายสาขา
ครอบคลุมได้มากขึ้น
อุปสรรค (Threat)
ในปัจจุบันการแข่งขันทางการค้าค่อนข้างสูง การที่ร้านค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่ได้ขยายสาขาไปตาม
เมืองใหญ่ และพยายามหลีกเลี่ยงกฎหมายโดยการขยายสาขาที่มีขนาดเล็กลง และเริ่มเข้าไปในชุมชน
ซึ่งล้วนเป็นคู่แข่งทางการค้าของ 7-Eleven ได้
ข้อเสนอแนะ
1. การทีทาง 7-Eleven มีการฝึกบุคลากร โดยเปิกการเรียนการสอนและเปิดให้มีการปฏิบัติงานจริง ทำาให้
่
บุคคลากรที่สำาเร็จออกมามีความสามารถ และเป็นทีต้องการของร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ เพราะการที่ได้
่
บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน ย่อมช่วยให้ธุรกิจประสบความสำาเร็จ ซึ่งทาง 7-Eleven ควรมี
มาตรการรองรับปัญหาเรื่องสมองไหล เพือป้องกันการซื้อตัวบุคลากรจากบริษัทคู่แข่ง
่
2. 7-Eleven ต้องเร่งสร้างผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากคู่แข่ง เพือไม่ตองเหนื่อยในการแข่งขันกับคู่แข่ง ซึ่ง
่ ้
นโยบายที่ทาง 7-Eleven เน้นด้านสินค้าบริโภค นั้นหากสามารถ มีอาหารและเครื่องดื่มที่มคุณภาพ มี
ี
มาตรฐาน เชื่อว่า น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีสำาหรับลูกค้าได้เป็นอย่างดี
3. ควรเน้นพัฒนาระบบสารสนเทศ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ เพือรองรับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี และ
่
พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป
4. ควรมีมาตรการรักษาความปลอดภัยของร้านสาขา เนื่องจากปัจจุบันภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว มีคนว่าง
งานจำานวนมาก และยาบ้าเริ่มระบาดมากขึ้น ในขณะที่ร้านเปิดให้บริการ 24 ชั่วโมง หากบริษัทมีมาตรการ
รักษาความปลอดภัยที่ดีแล้ว จะทำาให้ลูกค้ากล้าที่จะมาใช้บริการในยามดึกดื่นเพิ่มขึ้น
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?
id=dnt&month=08-2008&date=24&group=40&gblog=38