SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของ
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙
“ความเจริญของคนทั้งหลาย ย่อมเกิดมาจากประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพชอบ เป็นหลักสาคัญ
ผู้ที่จะสามารถประพฤติชอบและหาเลี้ยงชีพชอบได้ด้วยนั้น ย่อมจะมีทั้งวิชาความรู้ ทั้งหลักธรรมทางศาสนา
เพราะสิ่งแรกเป็นปัจจัยสาหรับใช้กระทาการทางาน สิ่งหลังเป็นปัจจัยสาหรับส่งเสริมความประพฤติ
และการปฏิบัติงานให้ชอบคือให้ถูกต้องและเป็นธรรม”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การใช้จ่ายอย่างประหยัดนั้น จะเป็นหลักประกันความสมบูรณ์พูนสุขของผู้ประหยัดเอง และครอบครัว
ช่วยป้องกันความขาดแคลนในวันข้างหน้า การประหยัดดังกล่าวนี้จะมีผลดีไม่เฉพาะแก่ผู้ที่ประหยัดเท่านั้น
ยังเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติด้วย”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ถ้าทุกคนสนใจในความรักประเทศชาติ รักษาความดีเอาไว้ ไม่ต้องไปตามอย่างในสิ่งที่เราเห็นว่าไม่น่าที่จะเจริญ
ไม่น่าจะพัฒนา เราต้องรักษาแนวทางความคิดตามที่เรามีอยู่ แม้จะเป็นสิ่งที่ตกทอดมาแต่โบราณกาล
จากปู่ย่าตายายของเรา แต่เป็นระเบียบการหรือเป็นวิธีการที่ดี จะไม่ล้าสมัย”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความสามัคคีนั้น อาจหมายความถึงเห็นชอบเห็นพ้องกันโดยไม่แย้งกัน ความจริงงานทุกอย่างหรือการอยู่เป็นสังคม
ย่อมต้องมีความขัดแย้งกัน ความคิดต่างกัน ซึ่งไม่เสียหาย แต่อยู่ที่จิตใจของเรา
ถ้าเราใช้หลักวิชาและความปรองดองด้วยการใช้ปัญญา การแย้งต่างๆ ย่อมเป็นประโยชน์
ถ้ามีรากฐานของความคิดอย่างเดียวกัน รากฐานของความคิดนั้นคือ
แต่ละคนจะต้องทาให้บ้านเมืองมีความสุขมีความเป็นปึกแผ่น”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“คนเราอยู่คนเดียวไม่ได้ จะต้องอยู่เป็นหมู่คณะ และถ้าหมู่คณะนั้นมีความสามัคคี คือเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน
ช่วยเหลือในทุกเมื่อ ช่วยกันคิดว่าสิ่งใดสมควร สิ่งใดไม่สมควร สิ่งใดที่จะทาให้นามาสู่ความเจริญ
ความมั่นคง ความสุขก็ทา สิ่งใดที่นามาซึ่งหายนะหรือเสียหายก็เว้น
และช่วยกันปฏิบัติหน้าที่ทางกายทั้งหน้าที่ทางใจ”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ชาติบ้านเมืองประกอบด้วยนานาสถาบัน อันเปรียบได้กับอวัยวะทั้งปวง ที่ประกอบกันขึ้นเป็นชีวิตร่างกาย
ชีวิตร่างกายดารงอยู่ได้ เพราะอวัยวะใหญ่น้อยทางานเป็นปรกติพร้อมกันอย่างไร
ชาติบ้านเมืองก็ดารงอยู่ได้เพราะสถาบันต่าง ๆ ตั้งมั่นและปฏิบัติหน้าที่ของตนโดยพร้อมมูลอย่างนั้น”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ชาติบ้านเมือง คือ ชีวิต เลือดเนื้อ และสมบัติของเราทุกคน และการดารงรักษาชาติประเทศนั้น
มิใช่หน้าที่ของบุคคลผู้ใดหมู่ใดโดยเฉพาะ หากแต่เป็นหน้าที่ของทุกๆฝ่าย ทุกๆคน
ที่จะต้องร่วมมือกระทา พร้อมกันไปโดยสอดคล้องเกื้อกูลกัน”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การมีเสรีภาพนั้น เป็นของที่ดีอย่างยิ่ง แต่เมื่อจะใช้ จาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
ตามความรับผิดชอบ มิให้ล่วงละเมิดเสรีภาพของผู้อื่นที่เขามีอยู่เท่าเทียมกัน
ทั้งมิให้กระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพ และความเป็นปกติสุขของส่วนร่วมด้วย”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความรู้ในวิชาการ เป็นสิ่งหนึ่งที่จะทาให้สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ และทาให้เป็นคนที่มีเกียรติ
เป็นคนที่สามารถ เป็นคนที่มีความพอใจได้ในตัวว่า ทาประโยชน์แก่ตนเองและแก่ส่วนรวม
นอกจากวิชาความรู้ ก็จะต้องฝึกฝนในสิ่งที่ตัวต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับสังคม สอดคล้องกับสมัย
และสอดคล้องกับศีลธรรมที่ดีงาม ถ้าได้ทั้งวิชาการ ทั้งความรู้รอบตัว และความรู้ในชีวิต
ก็จะทาให้เป็นคนที่ครบคน ที่จะภูมิใจได้”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความเข้มแข็งในจิตใจนี้เป็นสิ่งที่สาคัญที่จะต้องฝึกฝนแต่เล็กเพราะว่าต่อไป ถ้ามีชีวิตที่ลาบาก
ไปประสบอุปสรรคใดๆ ถ้าไม่มีความเข้มแข็ง ไม่มีความรู้ ไม่มีทางที่จะผ่านอุปสรรคนั้นได้
เพราะว่าถ้าไม่เจออุปสรรคอะไร ก็ไม่มีอะไรที่จะมาช่วยเราได้ แต่ถ้ามีความรู้ มีอัธยาศัยที่ดี
และมีความเข้มแข็ง ในกาย ในใจ ก็สามารถที่จะผ่านพ้นอุปสรรคต่างๆ นั้นได้”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“วิถีทางดาเนินของบ้านเมืองและประชาชนโดยทั่วไป มีความเปลี่ยนแปลงมาตลอดเนื่องจากความวิปริตผันแปร
ของวิถีแห่งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอื่น ๆ ของโลก ยากยิ่งที่เราจะหลีกเลี่ยงให้พ้นได้
จึงต้องระมัดระวัง ประคับประคองตัวเรามากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการเป็นอยู่ โดยประหยัด
เพื่อที่จะอยู่ให้รอดและก้าวต่อไปได้โดยสวัสดี”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“บรรพชนไทย เป็นนักต่อสู้ ผู้มีชีวิตจิตใจผูกพันปรองดอง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
สามัคคีพร้อมเพรียงกันทุกเมื่อ ไม่ว่าจะทาการสิ่งใด บ้านเมืองไทยจึงมีเอกราชอธิปไตย
และมีความสุขความสมบูรณ์ทุกอย่างมาจนกระทั่งทุกวันนี้”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การดารงชีวิตที่ดีจะต้องปรับปรุงตัวตลอดเวลา การปรับปรุงตัวจะต้องมีความเพียรและความอดทนเป็นที่ตั้ง
ถ้าคนเราไม่หมั่นเพียร ไม่มีความอดทน ก็อาจจะท้อใจไปโดยง่าย
เมื่อท้อใจไปแล้ว ไม่มีทางที่จะมีชีวิตเจริญรุ่งเรืองแน่ๆ”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“เป็นความจริงอยู่โดยธรรมดา ที่บุคคลในสังคมนั้นย่อมมีอัชฌาสัยจิตใจแตกต่างเหลื่อมล้ากันเป็นหลายระดับ
ขึ้นอยู่กับพื้นฐานภูมิธรรมของตน บางคนก็มีความคิดจิตใจสูง มีความประพฤติปฏิบัติดีงาม
เป็นคุณเป็นประโยชน์อยู่แล้วเป็นปกติ แต่บางคนไม่สามารถจะทาเช่นนั้นได้ เพราะยังไม่เห็นคุณค่าของการปฏิบัติดี
จึงมักก่อปัญหาให้เกิดแก่สังคม คนเรานั้น สาคัญอยู่ที่ควรจะได้ปรารภปรารถนาที่จะพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นเป็นลาดับ
เพื่อให้ชีวิตเป็นสุข และเจริญรุ่งเรือง”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความสามัคคีและความถือตัวว่าเป็นไทยนี้ เป็นสิ่งที่มีค่าสูงสุด เพราะเป็นมรดกที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษของเรา
และเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เรารวมกันอยู่ได้ ให้เราดารงชาติประเทศและเอกราชสืบมาได้
ทุกคนควรจะได้พยายามรักษาความเป็นไทย และความสามัคคีนี้ไว้ให้มั่นคงในที่ทุกแห่ง
อย่ายอมให้สิ่งหนึ่งสิ่งใดมาทาลายได้”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การทาความดีนั้น โดยมากเป็นการเดินทวนกระแสความพอใจและความต้องการของมนุษย์
จึงทาได้ยากและเห็นผลช้า แต่ก็จาเป็นต้องทา เพราะหาไม่ ความชั่ว ซึ่งทาได้ง่ายจะเข้ามาแทนที่
แล้วจะพอกพูนขึ้นอย่างรวดเร็วโดยไม่ทันรู้สึกตัว”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความจงรักภักดีต่อชาตินั้น คือความสานึกตระหนักในคุณของแผ่นดิน อันเป็นที่เกิดที่อาศัย
ซึ่งทาให้บุคคลเกิดความภูมิใจในชาติกาเนิด และมุ่งมั่นที่จะธารงรักษาประเทศชาติไว้
ให้เป็นอิสระมั่นคงตลอดไป”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“บ้านเมืองไทย สามารถฟันฝ่าอุปสรรคต่าง ๆ ได้โดยดี เพราะว่าจิตใจสามัคคีและแสดงออกซึ่งสามัคคี
ถ้าตราบใดเรารักษาความสามัคคี ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกันไว้ได้
เราก็จะอยู่ได้อย่างมีความสุขตราบนั้น”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ทุกวันนี้ ประเทศไทยยังมีทรัพยากรพร้อมมูล ทั้งทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคล
ซึ่งเราสามารถนามาใช้เสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ และเสถียรภาพอันถาวรของบ้านเมืองได้เป็นอย่างดี
ข้อสาคัญ เราต้องรู้จักใช้ทรัพยากรนั้นอย่างฉลาด คือไม่นามาทุ่มเทใช้ให้เปลืองไปโดยไร้ประโยชน์
หรือได้ประโยชน์ไม่คุ้มค่า หากแต่การระมัดระวังใช้ด้วยความประหยัดรอบคอบ ประกอบด้วยความคิดพิจารณาตาม
หลักวิชา เหตุผล และความถูกต้องเหมาะสม โดยมุ่งถึงประโยชน์แท้จริงที่จะเกิดแก่ประเทศชาติ
ทั้งในปัจจุบันและอนาคตอันยืนยาว”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การที่คนสมัยใหม่บอกว่าคนสมัยเก่ามีความรู้น้อยก็อาจเป็นจริง
แล้วคนสมัยใหม่ดูถูกหรือเหยียดหยามคนสมัยเก่าก็มีสิทธิ์ แต่ถ้าพูดตามความจริงแล้ว
สิทธิ์ที่จะเหยียดหยามคนรุ่นเก่าไม่ควรจะมี ด้วยเหตุว่าคนรุ่นเก่านี้เองทาให้คนรุ่นใหม่เกิดขึ้นมาได้”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“คนเราถ้าพอใจในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย
ถ้าทุกประเทศมีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ
ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“คุณธรรม ข้อหนึ่งที่ยังมีอยู่อย่างบริบูรณ์ในจิตใจของคนไทยก็คือ การให้
การให้นี้ไม่ว่าจะให้สิ่งใด แก่ผู้ใดโดยสถานใดก็ตาม เป็นสิ่งที่พึงประสงค์อย่างยิ่ง
เพราะเป็นเครื่องประสานไมตรีอย่างสาคัญระหว่างบุคคลกับบุคคล
และให้สังคมมี ความมั่นคงเป็นปึกแผ่นด้วยสามัคคีธรรม”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“บ้านเมืองของเรากาลังต้องการการปรับปรุงและการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ
ทางที่เราจะช่วยกันได้ก็คือการที่ทาความคิดให้ถูกและแน่วแน่ ในอันที่จะยึดถือประโยชน์ของบ้านเมือง
เป็นที่หมาย ต้องเพลาการคิดถึงประโยชน์เฉพาะตัว และความขัดแย้งกันในสิ่งที่มิใช่สาระลง”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม อันเนื่องมาจากมลพิษ หรือความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในที่หนึ่งที่ใดก็ตาม ย่อมส่งผลกระทบต่อเนื่องไปถึงที่อื่นๆด้วยเหตุนี้ทุกคนทุกประเทศ ในโลก
จึงย่อมมีส่วนรับผิดชอบอยู่ด้วยกัน ทั้งในการแก้ไข ลดปัญหา และปรับปรุงสร้างเสริมสภาวะแวดล้อม
ให้กลับคืนมาสู่สภาพอันจะเอื้อต่อการมี ชีวิตอยู่อย่างเป็นสุขของตนเองและเพื่อนมนุษย์”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรม
ทั้งในเจตนาและการกระทา ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญหรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“สังคม ใดก็ตาม ถ้ามีความเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ด้วยความมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน
สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วยไมตรีจิต มิตรภาพ มีความร่มเย็นเป็นสุข น่าอยู่”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การที่ในประเทศใดมีประชาชนทั้งหมดอยู่ร่วมกัน โดยสันติ ก็เป็นสิ่งที่ปรารถนาของทุกคน
ไม่มีใครอยากให้มีความวุ่นวายในหมู่คณะในประเทศชาติ เพราะว่าถ้ามีความวุ่นวายนั้นเป็นความทุกข์
ทุกคนต้องการความสุขหากความสุขนั้นก็จะมาจากความปรองดอง
และความที่ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไปโดยยุติธรรม”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ผู้ที่จะรักษาความเป็นไทยได้มั่นคงที่สุด ดี และเหมาะสมที่สุด ไม่มีใครอื่นนอกจากคนไทย
เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งใด คนไทยมีหน้าที่ต้องรักษาความเป็นไทยเสมอ”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“สามัคคี หรือการปรองดองกัน ไม่ได้หมายความว่าคนหนึ่งพูดอย่างหนึ่ง คนอื่นต้องพูดเหมือนกันหมด
ลงท้ายชีวิตก็ไม่มีความหมาย ต้องมีความแตกต่างกัน แต่ต้องทางานให้สอดคล้องกัน
แม้จะขัดกันบ้างก็ต้องสอดคล้องกัน”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความสามัคคี เป็นคุณสมบัติประจาตัวของคนไทย ที่ได้อบรมสืบทอดกันมาแต่บรรพบุรุษโดยไม่ขาด
สาย ทั้งนี้เพราะคนไทย ทราบตระหนักว่า หมู่คณะที่มีความสามัคคีแน่นแฟ้นสมบูรณ์
ย่อมมีกาลังกล้าแข็งทั้งในการคิดและการปฏิบัติ”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ต่างคนต่างมีหน้าที่ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าทาเฉพาะหน้าที่นั้น เพราะว่าถ้าคนใดทาหน้าที่เฉพาะของตัว
โดยไม่มองไม่แลคนอื่น งานก็ดาเนินไปไม่ได้ เพราะเหตุว่างานทุกงานจะต้องพาดพิงกันจะต้องเกี่ยวโยงกัน
ฉะนั้นแต่ละคนจะต้องมีความรู้ถึงงานของผู้อื่นแล้วช่วยกันทา”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ในการปฏิบัติงานนั้น ย่อมมีปัญหาต่างๆเกิดขึ้นได้เสมอ เมื่อปัญหาเกิดขึ้นต้องแก้ไข อย่าทิ้งไว้พอกพูน
ลุกลามแก้ยาก ขอให้ทุกคนระลึกว่าปัญหาทุกอย่างมีทางแก้ได้ ถ้าแก้คนเดียวไม่ได้ก็ช่วยกันคิดช่วยกันแก้
หลายๆคนหลายๆทาง ด้วยความร่วมมือปรองดองกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นจักได้ไม่กลายเป็นอุปสรรคขัดขวาง
และบั่นทอนทาลายความเจริญและความสาเร็จของการงาน”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจาเป็นก็ต้องปิด ว่าที่จริงแล้วคนโดยมาก ไม่ค่อยชอบปิดทองหลังพระกันนัก
เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น แต่ถ้าทุกคนพากันปิดทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย
พระจะเป็นพระที่งามบริบูรณ์ไม่ได้”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“คนไม่มีความสุจริต คนไม่มีความมั่นคง ชอบแต่มักง่าย ไม่มีวันจะสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวมที่สาคัญอันใดได้
ผู้ที่มีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้น จึงจะทางานสาคัญยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณประโยชน์แท้จริงได้สาเร็จ”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การจะพัฒนาทุกสิ่งทุกอย่างให้เจริญนั้น จะต้องสร้างและเสริมขึ้นจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ก่อนทั้งสิ้น
ถ้าพื้นฐานไม่ดีหรือคลอนแคลนบกพร่องแล้ว ที่จะเพิ่มเติมเสริมต่อให้เจริญขึ้นไปอีกนั้น
ยากนักที่จะทาได้ จึงควรจะเข้าใจให้แจ้งชัดว่า นอกจากจะมุ่งสร้างความเจริญแล้ว
ยังต้องพยายามรักษาพื้นฐานให้มั่นคง ไม่บกพร่อง พร้อมๆกันได้”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“หลักของคุณธรรม คือการคิดด้วยจิตใจที่เป็นกลาง ก่อนจะพูดจะทาสิ่งไร จาเป็นต้องหยุดคิดเสียก่อน
เพื่อรวบรวมสติให้ตั้งมั่น และให้จิตสว่างแจ่มใส ซึ่งเมื่อฝึกหัดจนคุ้นเคยชานาญแล้ว จะกระทาได้คล่องแคล่ว
ช่วยให้สามารถแสดงความรู้ ความคิด ในเรื่องต่างๆให้ผู้ฟังเข้าใจได้ง่าย ได้ชัด
ไม่ผิดทั้งหลักวิชาทั้งหลักคุณธรรม”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความจริงใจต่อผู้อื่นเป็นคุณธรรมสาคัญมาก สาหรับผู้ที่ต้องการความสาเร็จและความเจริญ
เพราะช่วยให้สามารถขจัดปัดเป่าปัญหาได้มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาอันเกิดจากความกินแหนงแคลงใจ
และเอารัดเอาเปรียบกัน นอกจากนั้น ยังทาให้ได้รับความเชื่อถือไว้วางใจ และความร่วมมือสนับสนุนจากทุกคนทุกฝ่าย
ที่ถือมั่นในเหตุผลและความดี ผู้มีความจริงใจจะทาการสิ่งใดก็มักสาเร็จได้โดยราบรื่น”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“งานทุกอย่างมีบุคคลซึ่งมีชีวิตจิตใจ มีความนึกคิดเป็นผู้กระทา ถ้าผู้ทามีจิตใจไม่พร้อมจะทางานเช่น
ไม่ศรัทธาในงาน ไม่สนใจผูกพันกับงาน ผลงานที่ทาก็ย่อมบกพร่อง ไม่คงที่
ต่อเมื่อผู้ปฏิบัติมีศรัทธา เข้าใจซึ้งถึงประโยชน์ของงาน พร้อมใจและพอใจที่จะขวนขวายปฏิบัติงาน
โดยเต็มกาลังความสามารถ งานจึงจะดาเนินไปได้โดยราบรื่น และบรรลุผลตามที่มุ่งหมาย”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ความคิดนั้นเป็นแม่บทใหญ่ของการพูดและการกระทา เพราะกิจที่จะทาคาที่จะพูดทุกอย่างล้วนสาเร็จมาจาก
ความคิด การคิดก่อนพูด และก่อนทาจึงช่วยให้บุคคลสามารถยับยั้งคาพูดที่ไม่สมควร
หยุดยั้งการกระทาที่ไม่ถูกต้อง”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ผู้หนักแน่นในสัจจะ พูดอย่างไรทาอย่างนั้น จึงจะได้รับความสาเร็จ พร้อมทั้งความศรัทธา เชื่อถือ
และความยกย่องสรรเสริญจากคนทุกฝ่าย การพูดแล้วทา คือพูดจริงทาจริง จึงเป็นปัจจัยสาคัญ
ในการส่งเสริมเกียรติคุณของบุคคลให้เด่นชัด”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การรู้จักประมาณตน ได้แก่ การรู้จักและยอมรับว่าตนเองมีภูมิปัญญาและความสามารถด้านไหน เพียงใด
และควรจะทางานด้านไหน อย่างไร การรู้จักประมาณตนนี้ จะทาให้คนเรารู้จักใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่
ได้ถูกต้องเหมาะสมกับงาน และได้ประโยชน์สูงสุดเต็มตามประสิทธิภาพ ทั้งยังทาให้รู้จักขวนขวายศึกษาหาความรู้
และเพิ่มพูนประสบการณ์อยู่เสมอ เพื่อปรับปรุงส่งเสริมศักยภาพที่มีอยู่ในตนเองให้ยิ่งสูงขึ้น”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
งานด้านการศึกษาเป็นงานสาคัญที่สุดอย่างหนึ่งของชาตินั้น ขึ้นอยู่กับการศึกษาของพลเมืองเป็นข้อใหญ่
ตามข้อเท็จจริงที่ทราบกันดีแล้ว ระยะนี้บ้านเมืองของเรามีพลเมืองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งมีสัญญาณบางอย่าง
เกิดขึ้นด้วยว่า พลเมืองของเราบางส่วนเสื่อมทรามลงไปในความประพฤติและจิตใจ ซึ่งเป็นอาการที่น่าวิตกว่า
ถ้าหากยังคงเป็นอยู่ต่อไป เราอาจเอาตัวไม่รอด ปรากฏการณ์เช่นนี้ นอกจากเหตุอื่นแล้ว ต้องมีเหตุมาจากการศึกษา
ด้วยอย่างแน่นอน จึงพูดได้เต็มปากแล้วว่า เราจะต้องจัดงานด้านการศึกษาให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การให้การศึกษาอีกขั้นหนึ่ง คือ การสอนและการฝึกฝนให้เรียนรู้วิทยาการที่ก้าวหน้าขึ้นไป พร้อมทั้งการฝึกฝน
ให้รู้จักใช้เหตุผล สติปัญญา และหาหลักการชีวิต เพื่อให้สามารถสร้างสรรค์ความเจริญงอกงาม ทั้งทางกาย
และทางความคิด ผู้ทางานด้านการศึกษาจึงมีความสาคัญเป็นพิเศษ และได้รับความยกย่องเป็นอย่างสูงตลอดมา
ในฐานะที่เป็นผู้ให้ชีวิตจิตใจตลอดจนความเจริญทุกอย่างแก่อนุชน”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“การให้การศึกษานั้น กล่าวโดยจุดประสงค์ที่แท้จริง คือการสร้างสรรค์ความรู้ ความคิด พร้อมทั้งคุณสมบัติ
และจิตใจที่สมบูรณ์ให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล เพื่อช่วยให้เขาสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมั่นคงและราบรื่น
ทั้งสามารถบาเพ็ญประโยชน์สุขเพื่อตน เพื่อส่วนรวมได้ตามควรแก่อัตภาพ ผู้ทาหน้าที่ด้านการศึกษาทุกฝ่ายทุกระดับ
ควรจะได้มุ่งทางานเพื่อวัตถุประสงค์นี้ยิ่งกว่าสิ่งใด”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“โดยเราเคารพยกย่องครูมาก สงเคราะห์ครูเข้าในบุพการีรองจากบิดามารดา ไม่ว่าผู้ใดแม้มียศศักดิ์อานาจเพียงใด
ก็ยังยาเกรงเชื่อฟังครู ไม่ลบหลู่ ไม่ลืมครู เพราะเราถือว่าครูเป็นผู้ปลูกฝังทั้งความรู้และความดีให้แก่เรา
เป็นผู้ที่ปั้นเราให้เป็นคนดีมีประโยชน์”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ในที่นี้ผู้เป็นครูก็มี ที่จะเป็นครูก็มีต้องนึกถึงความรับผิดชอบเหมือนกัน เพราะว่าถ้าเป็นครูแล้วลูกศิษย์จะต้องนับถือ
ได้ ต้องวางตัวให้เหมาะสมกับที่เป็นครู ไม่ใช่วางตัวอย่างหนึ่งแล้วมาสอนอีกอย่างหนึ่ง ลูกศิษย์เขาเอาอย่าง
ครูต้องสาธิตให้นักเรียนเห็นว่าในชีวิตนี้เราควรจะทาอะไร ถ้าเราสาธิตให้นักเรียนวางตัวให้ดี มีศีลธรรม
ก็เชื่อว่าเด็กนักเรียนจะเชื่อฟังและเชื่อตาม เพราะเขาเห็นว่าเหมาะสมดี เขาก็เลื่อมใส เขาก็มีหวังว่าจะเป็นเด็กที่ดี
แล้วจะเป็นนักเรียนเป็นนักศึกษา เป็นครูต่อไปก็อาจเป็นได้ เป็นคนที่ดี ทางานหน้าที่ของพลเมืองดีต่อไป”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“เป็นหน้าที่…ผู้เป็นครูเป็นอาจารย์เป็นผู้บริหารการศึกษาที่จะต้องช่วยเหลือด้วยหลักวิชาและความสามารถทุกคนได้เรียนวิชาการ
แนะแนวมาแล้ว ควรจะได้นาหลักการมาปฏิบัติเพื่อให้เยาวชนได้รับประโยชน์อันแท้จริงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแนะแนวทางความ
ประพฤติและจิตใจซึ่งสาคัญมาก ขอให้เพียรพยายามปลูกฝังความรู้ความคิดที่ปราศจากโทษให้แก่เขาโดยเสมอหน้า
แนะนาอบรมด้วยเหตุผลและด้วยความจริงใจ ประกอบด้วยความเมตตาปรานีสงเคราะห์อนุเคราะห์และนาพาไปสู่ทางที่ถูกที่เจริญ
เยาวชนก็จะเกิดมีความมั่นใจและมีกาลังใจที่จะทาความดี”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
”ชีวิตครูควรเป็นชีวิตที่สะอาดบริสุทธิ์เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้สามารถปลูกฝังเยาวชนให้มีทั้งความรู้และคุณธรรมอันเหมาะสมแก่
การเป็นพลเมืองดีของชาติด้วยความรู้และคุณธรรมซึ่งท่านทั้งหลายได้เพียรสั่งสมไว้ครูจึงจะสมเป็นปูชนียบุคคลได้ตามคติที่เชื่อ
กันมาแต่โบราณหากครูหวั่นไหวไปตามโลกธรรมเสียแล้วความเป็นปูชนียบุคคลก็ย่อมเป็นที่เคลือบแคลงสงสัยผู้ถืออาชีพครูจึงพึง
ปฏิบัติงานของตนด้วยความรู้อันมีคุณธรรมเป็นเครื่องกากับจึงจะสมกับการเป็นปูชนียบุคคล”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
”ครูมีหน้าที่ที่จะต้องสั่งสอนแนะนาศิษย์ และศิษย์มีหน้าที่ที่จะต้องเรียนรู้จากครู การที่ให้ศิษย์เรียนรู้จากครู
หาได้ทาให้ศิษย์ขาดความริเริ่มหรือขาดอิสรภาพไปได้ประการใดไม่”
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๙
“ลักษณะของการศึกษาหรือการเรียนรู้นั้นมีอยู่สามลักษณะได้แก่ เรียนรู้ตามความรู้ความคิดของผู้อื่นอย่างหนึ่ง
เรียนรู้ด้วยการขบคิดพิจารณาของตนเองให้เห็นเหตุผลอย่างหนึ่งกับเรียนรู้จากการปฏิบัติฝึกฝนจนประจักษ์ผล
และเกิดความคล่องแคล่วชานาญอีกอย่างหนึ่ง”

More Related Content

More from MI

คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์MI
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo larMI
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarmMI
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11MI
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotesMI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113MI
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112MI
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1MI
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3MI
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2MI
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1MI
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1MI
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19MI
 
Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18MI
 
Luangpor intawai17
Luangpor intawai17Luangpor intawai17
Luangpor intawai17MI
 
Luangpor intawai16
Luangpor intawai16Luangpor intawai16
Luangpor intawai16MI
 
Luangpor intawai15
Luangpor intawai15Luangpor intawai15
Luangpor intawai15MI
 
Luangpor intawai14
Luangpor intawai14Luangpor intawai14
Luangpor intawai14MI
 

More from MI (20)

คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
Light of buddhism1
Light of buddhism1Light of buddhism1
Light of buddhism1
 
Luangpor intawai19
Luangpor intawai19Luangpor intawai19
Luangpor intawai19
 
Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18Luangpor intawai 18
Luangpor intawai 18
 
Luangpor intawai17
Luangpor intawai17Luangpor intawai17
Luangpor intawai17
 
Luangpor intawai16
Luangpor intawai16Luangpor intawai16
Luangpor intawai16
 
Luangpor intawai15
Luangpor intawai15Luangpor intawai15
Luangpor intawai15
 
Luangpor intawai14
Luangpor intawai14Luangpor intawai14
Luangpor intawai14
 

พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙