SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 99
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล ( World Class   Standard   School ) ดร .  เสาวนิตย์  ชัยมุสิก
International Baccalaureate Diploma Programme (IBDP) ศิลปะ วิทยาศาสตร์ทดลอง คณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ บุคคลและสังคม ภาษา  A 1 ภาษาที่สอง TOK :  Theory of Knowledge EE:   Extended Essay CAS:  Creativity, Action, Services
World Class Standard  School Curriculum ศิลปะ วิทยาศาสตร์ทดลอง คณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ บุคคลและสังคม ภาษา  A 1 ภาษาที่สอง TOK :  Theory of Knowledge GE :  Global Education EE:  Extended Essay CAS:  Creativity, Action, Services
ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก Smart Communicator Thinker Global Citizenship Innovator [email_address]
โครงสร้างหลักสูตร วิชาพื้นฐาน  8  กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น วิชาพื้นฐาน  8  กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระเพิ่มเติมสากล (  TOK-EE-CAS-GE ) โครงสร้างหลักสูตรสากล
[object Object]
หลักสูตรความเป็นสากล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หลักสูตรความเป็นสากล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เป้าหมายของหลักสูตร /  กรอบหลักสูตร 1.  สร้างพลโลก ด้านวัฒนธรรม ภาษาและการเรียนรู้   เพื่อการดำรงชีพร่วมกัน ( Developing citizens of the world – culture, language, and learning to live together )
เป้าหมายของหลักสูตร /  กรอบหลักสูตร 2.  เสริมสร้างความเป็นอัตลักษณ์และความรักหวงแหนในวัฒนธรรม ( Building and reinforcing students’s sense of identity and culture awareness   )
เป้าหมายของหลักสูตร /  กรอบหลักสูตร 3.  ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในตนเองและพัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (  Fostering students’s recognition and development  of universal human values )
เป้าหมายของหลักสูตร /  กรอบหลักสูตร 4.  กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่รู้ใฝ่เรียนและปลูกฝังนิสัยการค้นคว้าหาความรู้รวมทั้งการเรียนรู้  อย่างมีความสุข ( Stimulating curiosity and inquiry in order to foster  a spirit of discovery  and enjoyment  of learning )
เป้าหมายของหลักสูตร /  กรอบหลักสูตร 5.   พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและร่วมกับผู้อื่นและสามารถใช้ทักษะและความรู้ที่ได้รับในการแสวงหาความรู้ต่างๆ ( Equipping students with the skills to learn and to acquire knowledge, individually or collaboratively  and to apply these skills and knowledge accordingly  across a broad range of areas )
เป้าหมายของหลักสูตร /  กรอบหลักสูตร 6.  กำหนดเนื้อหาสาระที่ตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นและความสนใจ ( Providing international content while responding to  local requirement  and interest )
เป้าหมายของหลักสูตร /  กรอบหลักสูตร 7.  สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายและยืดหยุ่น ( Encouraging diversity and flexibility in pedagogy approaches )
เป้าหมายของหลักสูตร /  กรอบหลักสูตร 8.  กำหนดรูปแบบการวัดและประเมินผลเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล ( Providing appropriate forms of assessment and international benchmarking  )
Learner Profile :  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพลโลก Inquirers  Knowledgeable  Thinkers  ใฝ่รู้ใฝ่เรียน  รอบรู้ นักคิด Communicators  Principled  Open-minded    สื่อสาร   มีวินัย  ใจกว้าง Caring  Risk-takers  Well-Balanced  Reflective เอื้ออาทร  กล้าตัดสินใจ  วุฒิภาวะ  มีวิจารณญาณ
Theory of Knowledge :  TOK (  ทฤษฎีความรู้  )
การออกแบบการเรียนการสอนสาระทฤษฎีความรู้  ( Theory of Knowledge )
หลักสูตรความเป็นสากล ,[object Object]
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระ -  กำหนดประเด็นความรู้  (knowledge issues ) หรือหัวข้อ  ( Topics  )  สำหรับให้ผู้เรียนควรค้นคว้าเพิ่มเติม
ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระ -  กำหนดประเด็นความรู้  (knowledge issues ) หรือหัวข้อ  ( Topic ห  )  สำหรับให้ผู้เรียนควรค้นคว้าเพิ่มเติม -  รวบรวมหัวข้อทั้งหมด  ส่งงานโรงเรียน  ( งานวิชาการ )  เพื่อรวบรวมและจัดทำเป็นเล่ม
Theory of Knowledge TOK  เป็นสาระการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องประเด็นความรู้ต่างๆ  ( Knowledge Issues )  องค์ความรู้  ( Body of Knowledge )  และทฤษฎีความรู้  ( Theory )  ของสาระการเรียนรู้พื้นฐานทั้งหมด  ( Interdisciplinary )  ในเชิงบูรณการ
ขอบข่ายของความรู้ Areas of Knowledge มุ่งพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ Critical Thinking วิถีของการรู้ Ways of Knowing เป็นวิชา สหวิทยาการ  Interdisciplinary Course [email_address] How  do we know? What  do we ( claim to  ) know?
Theory of Knowledge Diagram ตัวผู้รู้ KNOWER(S ) [email_address]
Theory of Knowledge :  TOK วัตถุประสงค์  : 1.  ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้ (TOK is primarily concerned with problem of knowing )
Theory of Knowledge :  TOK 2.  ให้ผู้เรียนได้พิสูจน์สมมติฐานความรู้ (Challenge the assumption of knowledge )
Theory of Knowledge :  TOK 3.  ให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของความรู้ที่ยอมรับกันอยู่ (examine the realibility of critical sources )
Theory of Knowledge :  TOK 4.  ให้ผู้เรียนได้รู้จักรับรู้เชิงวัฒนธรรมและการใช้ความรู้สึก (consider different cultural and emotional perceptions )
Theory of Knowledge :  TOK 5.  ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความเข้าใจระหว่างชาติ (Foster international understanding)
ผลการเรียนรู้  TOK  :  ผู้เรียน   be able to สามารถ ... ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ผลการเรียนรู้  TOK   :  ผู้เรียน   be able to สามารถ ... 7.  แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจที่เป็นความคิดเห็นส่วนตัว  คำตัดสินและความเชื่อที่น่าจะมีอิทธิพลต่อความรู้ของ ตนเองและต่อผู้อื่น ( Demonstrate an understanding  that personal views, judgments and beliefs may influence  their knowledge  claims and those of  others.)
ผลการเรียนรู้  TOK   :  ผู้เรียน   be able to สามารถ ... ,[object Object]
กระบวนการจัด  TOK  ( ทฤษฎีความรู้ ) โรงเรียนทำอะไร ,[object Object],[object Object],-  จัดทำเอกสาร รวบรวมหัวข้อเรื่องสาระ  TOK   จำแนกสำหรับแต่ละระดับชั้น  ( ระดับชั้นประถมศึกษา ม .  ต้น และ ม .  ปลาย  )
ตัวอย่างหัวข้อ   ( Topics)  ,[object Object],[object Object],[object Object]
เมื่อนักคณิตศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และนักวิทยาศาสตร์ พูดว่าพวกเขาได้อธิบายบางสิ่งบางอย่างไปแล้ว  การพูดเช่นนี้  เขาเหล่านั้น ใช้คำว่า “ อธิบาย ” ในความหมายเดียวกันหรือไม่ ( When mathematicians, historians and scientists say that they  have explained something,  are they using the word   “ explain ”  in the same way ? )
อภิปราย  คำพูดของเฮ็นรี่  ปวงกาเร่  ( Henri Poincaré )  ที่ว่า  วิทยาศาสตร์สร้างขึ้นจากข้อเท็จจริงในลักษณะเดียวกันกับบ้าน ที่สร้างด้วยอิฐ  แต่การสะสมข้อเท็จจริงต่างๆไม่ได้เป็นวิทยาศาสตร์ มากไปกว่าผนังอิฐของบ้าน  โดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ ความรู้สาขาวิชาอื่นๆอย่างน้อยอีก  1  วิชา ( Science is built of facts the way a house  is built of bricks  but an accumulation of facts  is no more science than a pile of Bricks is a house : ( Henri Poincaré )  Discuss in relation to Science and at least one other area of knowledge )
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ในกรณีที่มีผู้กล่าวว่า  ทั้งการจำแนกความรู้ออกเป็นสาขาวิชาต่างๆ และการแบ่งผืนโลกออกเป็นประเทศต่างๆบนแผนที่เป็นสิ่งที่ ถูกสร้างขึ้น   ในความคิดเห็นของท่าน มีความหมายว่าอย่างไร และอะไรคือธรรมชาติของเครื่องกั้น / พรมแดนระหว่างสาขา วิชาต่างๆ ( If someone claims that   both the division of knowledge  into disciplines and the division of the world into countries on a map are artificial, what does this mean ? What is the Nature of the boundaries between Areas of Knowledge,  in your view. )
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
เอกสารรวบรวมรายชื่อหัวข้อการค้นคว้า สาระเพิ่มเติม  ทฤษฎีการเรียนรู้ ( Theory of Knowledge )
นักเรียนทำอะไร ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],-  เขียนความเรียงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหัวข้อเรื่องที่ตนเลือก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน การเขียนความเรียงชั้นสูง (Extended – Essay)
Extended essay การเขียนความเรียงขั้นสูง  ( Extended Essay ) เป็นสาระการเรียนรู้ ที่จัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนและเรียบเรียงความคิดข้อคิดเห็น การให้ข้อเสนอเชิงวิชาการ โดยใช้ภาษาอย่างถูกต้อง องค์ประกอบที่ใช้สำหรับการเขียนความเรียงขั้นสูง    ( Extended Essay ) วิธีการเขียนชื่อเรื่อง  ( Title )  การเขียนคำนำ    ( Introduction )   การเขียนเนื้อเรื่อง  ( Body Of Knowledge )   และ การเขียนบทสรุป  ( Conclusion )
Aims  ของการเรียนรู้  EE   :  ผู้เรียน   be able to ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Research  ( การค้นคว้า ) Topic ชื่อเรื่อง Search  for  Sources ค้นหาแหล่งค้นคว้า Focus ร้อยรัดชื่อ / กระชับ Research  Question เรียบเรียงชื่องานวิจัยค้นคว้า Preparatory  Reading อ่านเพื่อเตรียมการ Working  Outline กำหนดโครงร่าง Assemble Sources / Materials รวบรวมข้อมูล Recording  info.& data  บันทึกข้อมูล
Writing  ( การเขียน ) ( เขียนโครงร่าง  ) Shaping  the  Outlines Basic Outline Skeleton Outline Supporting Details จัดทำฉบับร่าง (  เขียน / เรียบเรียงส่วนต่างๆ ) Rough  Draft Title  Page Abstract Contents Introduction Body/Methods/Results Conclusion Illustrations Appendix Documentation (  ทบทวนและตรวจสอบ ) Revising& Editing (  ตรวจทาน ) Proofreading (  จัดทำฉบับจริง ) Final  Copy
Writing  (  การเขียน ) ( เขียนโครงร่าง  ) Shaping  the  Outlines Basic Outline Skeleton Outline Supporting Details 1.
Writing  (  การเขียน ) จัดทำฉบับร่าง (  เขียน / เรียบเรียงส่วนต่างๆ ) - Rough  Draft - Title  Page - Abstract - Contents - Introduction - Body/Methods/Results - Conclusion - Illustrations - Appendix - Documentation
Writing  (  การเขียน ) (  ทบทวนและตรวจสอบ ) Revising& Editing
Writing  (  การเขียน ) (  อ่านตรวจทาน ) Proofreading (  จัดทำฉบับจริง ) Final  Copy
Writing  (  การเขียน ) ( เขียนโครงร่าง  ) Shaping  the  Outlines Basic Outline Skeleton Outline Supporting Details จัดทำฉบับร่าง (  เขียน / เรียบเรียงส่วนต่างๆ ) Rough  Draft Title  Page Abstract Contents Introduction Body/Methods/Results Conclusion Illustrations Appendix Documentation (  ทบทวนและตรวจสอบ ) Revising& Editing (  ตรวจทาน ) Proofreading (  จัดทำฉบับจริง ) Final  Copy
สำหรับสาระการเขียนความเรียงชั้นสูง  (Extended-Essay)  ให้นักเรียนคิดและกำหนดหัวข้อเรื่องด้วยตนเอง
เกณฑ์การประเมิน (Criteria)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
-  CONTENT : Think : Knowledge issues คิด  :  ประเด็นความรู้ ที่เป็นหลักวิชาการ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
CREATIVITY : Think : Personal thought (  ความคิดสร้างสรรค์  ความคิดที่เป็นของตนเอง  )
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
CRITICAL  THINKING : Think : Arguments (  ความคิดเชิงวิเคราะห์  การให้เหตุผลโต้แย้งและสนับสนุน  )
Analysis of knowledge issues -  Insight and depth -  Main points justified  -  Arguments -  Assumptions and   implications
CLARITY : Think : Well- Structured essay
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
CAS : Creativity, Action, Service กิจกรรมสร้างสรรค์สู่การกระทำนำไปสู่บริการสังคม
CAS  ( Creativity ,  action ,  services ) เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สร้างสรรค์โครงงานและปฏิบัติจริง  3  กิจกรรม หลัก ๆ ที่ประกอบไปด้วย  การสร้างสรรค์โครงงาน   ( Creativity )   โดยใช้ความรู้จากสาระการเรียนรู้พื้นฐาน  การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงงานที่สร้างขึ้น  ( Action )   และ เข้าร่วม กิจกรรรมโครงงานสาธารณะประโยชน์   (  Service )
ผลการเรียนรู้  CAS   :  ผู้เรียน   have ,[object Object],[object Object]
ผลการเรียนรู้  CAS   :  ผู้เรียน   have 2.  Undertaken new challenges.
ผลการเรียนรู้  CAS   :  ผู้เรียน   have 3. planned and  initiated activities.
ผลการเรียนรู้  CAS   :  ผู้เรียน   have 4.  Worked collaboratively with others.
ผลการเรียนรู้  CAS   :  ผู้เรียน   have ,[object Object]
ผลการเรียนรู้  CAS   :  ผู้เรียน   have 6.  engaged  with issues of global importance.
ผลการเรียนรู้  CAS   :  ผู้เรียน   have 7.  considered  the ethical implications of their actions.
ผลการเรียนรู้  CAS   :  ผู้เรียน   have 8.  Developed  new skills.
Global Education การจัดการเรียนการสอนมี  8  เนื้อสาระ  ได้แก่  -  การเป็นพลเมืองโลก   ( Global citizenship ) -  การแก้ปัญหาความขัดแย้ง  ( Conflict resolution )  -  ความเป็นธรรมทางสังคม  ( Social Justice )  -  ค่านิยมและการตระหนักรับรู้สภาพการณ์  ( Value and perception )
โลกศึกษาคืออะไร ? ปัจจุบันมีความเป็นอยู่ และมีปฏิสัมพันธ์กัน ในโลกยุคโลกาภิวัตน์มากขึ้น (Globalized world)
[object Object],[object Object],[object Object]
Social justice ความเป็นธรรมในสังคม Diversity ความหลากหลาย Interdependence การพึ่งพาอาศัยกัน Sustainable Development การพัฒนาอย่างยั่งยืน Human Rights สิทธิมนุษยชน Conflict Resolution การแก้ปัญหาความขัดแย้ง Values &Perceptions ค่านิยม และการสัมผัสรับรู้ Global Citizenship ความเป็นพลเมืองโลก GLOBAL DIMENSION [email_address]
ขอบข่ายเนื้อหาสาระโลกศึกษา โลกศึกษาเป็นสหวิทยาการ  ( Interdisciplinary)  ไม่มุ่งเน้นการสอนเนื้อหาใหม่ ๆ แต่เน้นการเพิ่มพูนความรู้ ความคิดรวบยอดและเนื้อหาสาระ
1.   ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการโลกาภิวัตน์และการพัฒนาสังคมโลก
2.  การแก้ปัญหาความขัดแย้ง    (Conflict  Resolution)     ความรู้ความเข้าใจ ธรรมชาติของความขัดแย้ง  มีขันติ อดทน อดกลั้นต่อความแตกต่างขัดแย้ง  สามารถเจรจาต่อรอง เชื่อมประสาน เพื่อลด  ปัญหาหรือคลายปมขัดแย้ง  โดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง
[object Object],[object Object]
4.   ค่านิยมและการตระหนักรู้สภาพการณ์ การรู้จักประเมินสถานการณ์  ผลกระทบต่อประชาชน เจตคติและการสร้างคุณค่าให้กับมนุษยชน
5.  การพัฒนายั่งยืน   (Sustainable Development )   มีความรู้  เข้าใจความจำเป็น ในการรักษาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตโดยไม่ทำลายโลก รู้จักอนุรักษ์ทรัพยากร  ตระหนักในประโยชน์และคุณค่าของแหล่งธรรมชาติ  รับผิดชอบต่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
6.  สิทธิมนุษยชน   ( Human rights)   ความเป็นมนุษยชาติ   ประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล เศรษฐศาสตร์ ความยุติธรรมในสังคม   การค้าที่เป็นธรรม ความเสมอภาคทางเพศ สันติภาพและความขัดแย้ง  การเปลี่ยนแปลง ความเป็นพลเมือง ความหลากหลาย ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม การพัฒนาอย่างยั่งยืน สุขภาพอนามัยและความเสมอภาคเท่าเทียมในการเข้าถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
8.   ความหลากหลาย  (Diversity)  ความรู้ความเข้าใจการยอมรับและตระหนัก ในความหลากหลายทางเชื้อชาติ  เผ่าพันธุ์ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งความหลากหลาย ทางชีวภาพตลอดจนผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
จัดการเรียนการสอนโดยกระบวนวิธี   Issues – Based Learning
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้อัครเดช โพธิญาณ์
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupED-TA-ro
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 

Ähnlich wie การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (20)

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 

Mehr von wasan

นิทานคุณธรรม
นิทานคุณธรรมนิทานคุณธรรม
นิทานคุณธรรมwasan
 
Wasan
WasanWasan
Wasanwasan
 
ห้องอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศมัธยมศึกษา
ห้องอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศมัธยมศึกษาห้องอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศมัธยมศึกษา
ห้องอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศมัธยมศึกษาwasan
 
2 5 ระบบฐานข้อมูล
2 5 ระบบฐานข้อมูล2 5 ระบบฐานข้อมูล
2 5 ระบบฐานข้อมูลwasan
 
2 4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
2 4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์2 4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
2 4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์wasan
 
2 3 ข้อมูลในคอมพิวเตอร์
2 3 ข้อมูลในคอมพิวเตอร์2 3 ข้อมูลในคอมพิวเตอร์
2 3 ข้อมูลในคอมพิวเตอร์wasan
 
2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
2.1 ข้อมูลและสารสนเทศwasan
 

Mehr von wasan (7)

นิทานคุณธรรม
นิทานคุณธรรมนิทานคุณธรรม
นิทานคุณธรรม
 
Wasan
WasanWasan
Wasan
 
ห้องอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศมัธยมศึกษา
ห้องอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศมัธยมศึกษาห้องอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศมัธยมศึกษา
ห้องอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศมัธยมศึกษา
 
2 5 ระบบฐานข้อมูล
2 5 ระบบฐานข้อมูล2 5 ระบบฐานข้อมูล
2 5 ระบบฐานข้อมูล
 
2 4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
2 4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์2 4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
2 4 การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
 
2 3 ข้อมูลในคอมพิวเตอร์
2 3 ข้อมูลในคอมพิวเตอร์2 3 ข้อมูลในคอมพิวเตอร์
2 3 ข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 

การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล

  • 1. การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล ( World Class Standard School ) ดร . เสาวนิตย์ ชัยมุสิก
  • 2. International Baccalaureate Diploma Programme (IBDP) ศิลปะ วิทยาศาสตร์ทดลอง คณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ บุคคลและสังคม ภาษา A 1 ภาษาที่สอง TOK : Theory of Knowledge EE: Extended Essay CAS: Creativity, Action, Services
  • 3. World Class Standard School Curriculum ศิลปะ วิทยาศาสตร์ทดลอง คณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ บุคคลและสังคม ภาษา A 1 ภาษาที่สอง TOK : Theory of Knowledge GE : Global Education EE: Extended Essay CAS: Creativity, Action, Services
  • 4. ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก Smart Communicator Thinker Global Citizenship Innovator [email_address]
  • 5. โครงสร้างหลักสูตร วิชาพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น วิชาพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติมตามจุดเน้น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระเพิ่มเติมสากล ( TOK-EE-CAS-GE ) โครงสร้างหลักสูตรสากล
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9. เป้าหมายของหลักสูตร / กรอบหลักสูตร 1. สร้างพลโลก ด้านวัฒนธรรม ภาษาและการเรียนรู้ เพื่อการดำรงชีพร่วมกัน ( Developing citizens of the world – culture, language, and learning to live together )
  • 10. เป้าหมายของหลักสูตร / กรอบหลักสูตร 2. เสริมสร้างความเป็นอัตลักษณ์และความรักหวงแหนในวัฒนธรรม ( Building and reinforcing students’s sense of identity and culture awareness )
  • 11. เป้าหมายของหลักสูตร / กรอบหลักสูตร 3. ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในตนเองและพัฒนาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ( Fostering students’s recognition and development of universal human values )
  • 12. เป้าหมายของหลักสูตร / กรอบหลักสูตร 4. กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่รู้ใฝ่เรียนและปลูกฝังนิสัยการค้นคว้าหาความรู้รวมทั้งการเรียนรู้ อย่างมีความสุข ( Stimulating curiosity and inquiry in order to foster a spirit of discovery and enjoyment of learning )
  • 13. เป้าหมายของหลักสูตร / กรอบหลักสูตร 5. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและร่วมกับผู้อื่นและสามารถใช้ทักษะและความรู้ที่ได้รับในการแสวงหาความรู้ต่างๆ ( Equipping students with the skills to learn and to acquire knowledge, individually or collaboratively and to apply these skills and knowledge accordingly across a broad range of areas )
  • 14. เป้าหมายของหลักสูตร / กรอบหลักสูตร 6. กำหนดเนื้อหาสาระที่ตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นและความสนใจ ( Providing international content while responding to local requirement and interest )
  • 15. เป้าหมายของหลักสูตร / กรอบหลักสูตร 7. สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายและยืดหยุ่น ( Encouraging diversity and flexibility in pedagogy approaches )
  • 16. เป้าหมายของหลักสูตร / กรอบหลักสูตร 8. กำหนดรูปแบบการวัดและประเมินผลเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล ( Providing appropriate forms of assessment and international benchmarking )
  • 17. Learner Profile : คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพลโลก Inquirers Knowledgeable Thinkers ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รอบรู้ นักคิด Communicators Principled Open-minded สื่อสาร มีวินัย ใจกว้าง Caring Risk-takers Well-Balanced Reflective เอื้ออาทร กล้าตัดสินใจ วุฒิภาวะ มีวิจารณญาณ
  • 18. Theory of Knowledge : TOK ( ทฤษฎีความรู้ )
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระ - กำหนดประเด็นความรู้ (knowledge issues ) หรือหัวข้อ ( Topics ) สำหรับให้ผู้เรียนควรค้นคว้าเพิ่มเติม
  • 25. ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระ - กำหนดประเด็นความรู้ (knowledge issues ) หรือหัวข้อ ( Topic ห ) สำหรับให้ผู้เรียนควรค้นคว้าเพิ่มเติม - รวบรวมหัวข้อทั้งหมด ส่งงานโรงเรียน ( งานวิชาการ ) เพื่อรวบรวมและจัดทำเป็นเล่ม
  • 26. Theory of Knowledge TOK เป็นสาระการเรียนรู้ที่ว่าด้วยเรื่องประเด็นความรู้ต่างๆ ( Knowledge Issues ) องค์ความรู้ ( Body of Knowledge ) และทฤษฎีความรู้ ( Theory ) ของสาระการเรียนรู้พื้นฐานทั้งหมด ( Interdisciplinary ) ในเชิงบูรณการ
  • 27. ขอบข่ายของความรู้ Areas of Knowledge มุ่งพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ Critical Thinking วิถีของการรู้ Ways of Knowing เป็นวิชา สหวิทยาการ Interdisciplinary Course [email_address] How do we know? What do we ( claim to ) know?
  • 28. Theory of Knowledge Diagram ตัวผู้รู้ KNOWER(S ) [email_address]
  • 29. Theory of Knowledge : TOK วัตถุประสงค์ : 1. ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้ (TOK is primarily concerned with problem of knowing )
  • 30. Theory of Knowledge : TOK 2. ให้ผู้เรียนได้พิสูจน์สมมติฐานความรู้ (Challenge the assumption of knowledge )
  • 31. Theory of Knowledge : TOK 3. ให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของความรู้ที่ยอมรับกันอยู่ (examine the realibility of critical sources )
  • 32. Theory of Knowledge : TOK 4. ให้ผู้เรียนได้รู้จักรับรู้เชิงวัฒนธรรมและการใช้ความรู้สึก (consider different cultural and emotional perceptions )
  • 33. Theory of Knowledge : TOK 5. ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความเข้าใจระหว่างชาติ (Foster international understanding)
  • 34.
  • 35. ผลการเรียนรู้ TOK : ผู้เรียน be able to สามารถ ... 7. แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจที่เป็นความคิดเห็นส่วนตัว คำตัดสินและความเชื่อที่น่าจะมีอิทธิพลต่อความรู้ของ ตนเองและต่อผู้อื่น ( Demonstrate an understanding that personal views, judgments and beliefs may influence their knowledge claims and those of others.)
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39. เมื่อนักคณิตศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และนักวิทยาศาสตร์ พูดว่าพวกเขาได้อธิบายบางสิ่งบางอย่างไปแล้ว การพูดเช่นนี้ เขาเหล่านั้น ใช้คำว่า “ อธิบาย ” ในความหมายเดียวกันหรือไม่ ( When mathematicians, historians and scientists say that they have explained something, are they using the word “ explain ” in the same way ? )
  • 40. อภิปราย คำพูดของเฮ็นรี่ ปวงกาเร่ ( Henri Poincaré ) ที่ว่า วิทยาศาสตร์สร้างขึ้นจากข้อเท็จจริงในลักษณะเดียวกันกับบ้าน ที่สร้างด้วยอิฐ แต่การสะสมข้อเท็จจริงต่างๆไม่ได้เป็นวิทยาศาสตร์ มากไปกว่าผนังอิฐของบ้าน โดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ ความรู้สาขาวิชาอื่นๆอย่างน้อยอีก 1 วิชา ( Science is built of facts the way a house is built of bricks but an accumulation of facts is no more science than a pile of Bricks is a house : ( Henri Poincaré ) Discuss in relation to Science and at least one other area of knowledge )
  • 41.
  • 42. ในกรณีที่มีผู้กล่าวว่า ทั้งการจำแนกความรู้ออกเป็นสาขาวิชาต่างๆ และการแบ่งผืนโลกออกเป็นประเทศต่างๆบนแผนที่เป็นสิ่งที่ ถูกสร้างขึ้น ในความคิดเห็นของท่าน มีความหมายว่าอย่างไร และอะไรคือธรรมชาติของเครื่องกั้น / พรมแดนระหว่างสาขา วิชาต่างๆ ( If someone claims that both the division of knowledge into disciplines and the division of the world into countries on a map are artificial, what does this mean ? What is the Nature of the boundaries between Areas of Knowledge, in your view. )
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 51. Extended essay การเขียนความเรียงขั้นสูง ( Extended Essay ) เป็นสาระการเรียนรู้ ที่จัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนและเรียบเรียงความคิดข้อคิดเห็น การให้ข้อเสนอเชิงวิชาการ โดยใช้ภาษาอย่างถูกต้อง องค์ประกอบที่ใช้สำหรับการเขียนความเรียงขั้นสูง ( Extended Essay ) วิธีการเขียนชื่อเรื่อง ( Title ) การเขียนคำนำ ( Introduction ) การเขียนเนื้อเรื่อง ( Body Of Knowledge ) และ การเขียนบทสรุป ( Conclusion )
  • 52.
  • 53.
  • 54. Research ( การค้นคว้า ) Topic ชื่อเรื่อง Search for Sources ค้นหาแหล่งค้นคว้า Focus ร้อยรัดชื่อ / กระชับ Research Question เรียบเรียงชื่องานวิจัยค้นคว้า Preparatory Reading อ่านเพื่อเตรียมการ Working Outline กำหนดโครงร่าง Assemble Sources / Materials รวบรวมข้อมูล Recording info.& data บันทึกข้อมูล
  • 55. Writing ( การเขียน ) ( เขียนโครงร่าง ) Shaping the Outlines Basic Outline Skeleton Outline Supporting Details จัดทำฉบับร่าง ( เขียน / เรียบเรียงส่วนต่างๆ ) Rough Draft Title Page Abstract Contents Introduction Body/Methods/Results Conclusion Illustrations Appendix Documentation ( ทบทวนและตรวจสอบ ) Revising& Editing ( ตรวจทาน ) Proofreading ( จัดทำฉบับจริง ) Final Copy
  • 56. Writing ( การเขียน ) ( เขียนโครงร่าง ) Shaping the Outlines Basic Outline Skeleton Outline Supporting Details 1.
  • 57. Writing ( การเขียน ) จัดทำฉบับร่าง ( เขียน / เรียบเรียงส่วนต่างๆ ) - Rough Draft - Title Page - Abstract - Contents - Introduction - Body/Methods/Results - Conclusion - Illustrations - Appendix - Documentation
  • 58. Writing ( การเขียน ) ( ทบทวนและตรวจสอบ ) Revising& Editing
  • 59. Writing ( การเขียน ) ( อ่านตรวจทาน ) Proofreading ( จัดทำฉบับจริง ) Final Copy
  • 60. Writing ( การเขียน ) ( เขียนโครงร่าง ) Shaping the Outlines Basic Outline Skeleton Outline Supporting Details จัดทำฉบับร่าง ( เขียน / เรียบเรียงส่วนต่างๆ ) Rough Draft Title Page Abstract Contents Introduction Body/Methods/Results Conclusion Illustrations Appendix Documentation ( ทบทวนและตรวจสอบ ) Revising& Editing ( ตรวจทาน ) Proofreading ( จัดทำฉบับจริง ) Final Copy
  • 61. สำหรับสาระการเขียนความเรียงชั้นสูง (Extended-Essay) ให้นักเรียนคิดและกำหนดหัวข้อเรื่องด้วยตนเอง
  • 63.
  • 64.
  • 65. - CONTENT : Think : Knowledge issues คิด : ประเด็นความรู้ ที่เป็นหลักวิชาการ
  • 66.
  • 67. CREATIVITY : Think : Personal thought ( ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดที่เป็นของตนเอง )
  • 68.
  • 69. CRITICAL THINKING : Think : Arguments ( ความคิดเชิงวิเคราะห์ การให้เหตุผลโต้แย้งและสนับสนุน )
  • 70. Analysis of knowledge issues - Insight and depth - Main points justified - Arguments - Assumptions and implications
  • 71. CLARITY : Think : Well- Structured essay
  • 72.
  • 73. CAS : Creativity, Action, Service กิจกรรมสร้างสรรค์สู่การกระทำนำไปสู่บริการสังคม
  • 74. CAS ( Creativity , action , services ) เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สร้างสรรค์โครงงานและปฏิบัติจริง 3 กิจกรรม หลัก ๆ ที่ประกอบไปด้วย การสร้างสรรค์โครงงาน ( Creativity ) โดยใช้ความรู้จากสาระการเรียนรู้พื้นฐาน การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงงานที่สร้างขึ้น ( Action ) และ เข้าร่วม กิจกรรรมโครงงานสาธารณะประโยชน์ ( Service )
  • 75.
  • 76. ผลการเรียนรู้ CAS : ผู้เรียน have 2. Undertaken new challenges.
  • 77. ผลการเรียนรู้ CAS : ผู้เรียน have 3. planned and initiated activities.
  • 78. ผลการเรียนรู้ CAS : ผู้เรียน have 4. Worked collaboratively with others.
  • 79.
  • 80. ผลการเรียนรู้ CAS : ผู้เรียน have 6. engaged with issues of global importance.
  • 81. ผลการเรียนรู้ CAS : ผู้เรียน have 7. considered the ethical implications of their actions.
  • 82. ผลการเรียนรู้ CAS : ผู้เรียน have 8. Developed new skills.
  • 83. Global Education การจัดการเรียนการสอนมี 8 เนื้อสาระ ได้แก่ - การเป็นพลเมืองโลก ( Global citizenship ) - การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ( Conflict resolution ) - ความเป็นธรรมทางสังคม ( Social Justice ) - ค่านิยมและการตระหนักรับรู้สภาพการณ์ ( Value and perception )
  • 84. โลกศึกษาคืออะไร ? ปัจจุบันมีความเป็นอยู่ และมีปฏิสัมพันธ์กัน ในโลกยุคโลกาภิวัตน์มากขึ้น (Globalized world)
  • 85.
  • 86. Social justice ความเป็นธรรมในสังคม Diversity ความหลากหลาย Interdependence การพึ่งพาอาศัยกัน Sustainable Development การพัฒนาอย่างยั่งยืน Human Rights สิทธิมนุษยชน Conflict Resolution การแก้ปัญหาความขัดแย้ง Values &Perceptions ค่านิยม และการสัมผัสรับรู้ Global Citizenship ความเป็นพลเมืองโลก GLOBAL DIMENSION [email_address]
  • 87. ขอบข่ายเนื้อหาสาระโลกศึกษา โลกศึกษาเป็นสหวิทยาการ ( Interdisciplinary) ไม่มุ่งเน้นการสอนเนื้อหาใหม่ ๆ แต่เน้นการเพิ่มพูนความรู้ ความคิดรวบยอดและเนื้อหาสาระ
  • 88. 1. ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการโลกาภิวัตน์และการพัฒนาสังคมโลก
  • 89. 2. การแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Conflict Resolution) ความรู้ความเข้าใจ ธรรมชาติของความขัดแย้ง มีขันติ อดทน อดกลั้นต่อความแตกต่างขัดแย้ง สามารถเจรจาต่อรอง เชื่อมประสาน เพื่อลด ปัญหาหรือคลายปมขัดแย้ง โดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง
  • 90.
  • 91. 4. ค่านิยมและการตระหนักรู้สภาพการณ์ การรู้จักประเมินสถานการณ์ ผลกระทบต่อประชาชน เจตคติและการสร้างคุณค่าให้กับมนุษยชน
  • 92. 5. การพัฒนายั่งยืน (Sustainable Development ) มีความรู้ เข้าใจความจำเป็น ในการรักษาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตโดยไม่ทำลายโลก รู้จักอนุรักษ์ทรัพยากร ตระหนักในประโยชน์และคุณค่าของแหล่งธรรมชาติ รับผิดชอบต่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
  • 93. 6. สิทธิมนุษยชน ( Human rights) ความเป็นมนุษยชาติ ประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล เศรษฐศาสตร์ ความยุติธรรมในสังคม การค้าที่เป็นธรรม ความเสมอภาคทางเพศ สันติภาพและความขัดแย้ง การเปลี่ยนแปลง ความเป็นพลเมือง ความหลากหลาย ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม การพัฒนาอย่างยั่งยืน สุขภาพอนามัยและความเสมอภาคเท่าเทียมในการเข้าถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 94.
  • 95.
  • 96. 8. ความหลากหลาย (Diversity) ความรู้ความเข้าใจการยอมรับและตระหนัก ในความหลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งความหลากหลาย ทางชีวภาพตลอดจนผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
  • 98.
  • 99.