SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
52

   7. สรุปแผนผังความเกี่ยวข้องกันของ ยีนหรือ DNA กับการแสดงลักษณะของสิ่งมีชีวิต

                                                                        โปรตีนซึ่งเป็นโครงสร้างของ
                                                                        เซลล์ ทาให้เซลล์มี                              จึงแสดง
                                                                                                                                       ฟีโนไทป์ต่างๆ
      ยีน                                                               ลักษณะเฉพาะ
                    สังเคราะห์                   ควบคุมการสร้าง
      หรือ                          RNA
      DNA
                                                  ควบคุมการสร้าง โปรตีน ซึ่งเป็น
                                                                                                        ควบคุมการสร้าง สารอื่นๆที่จาเป็นต่อ
                                                                        เอนไซม์
                                                                                                                              การแสดงลักษณะ



คาถามในแบบเรียน หน้า 70-71
   1. ถ้าโคดอนของ mRNA โมเลกุลหนึ่งมีลาดับเบสดังนี้
        5 A U G C AC G G G U A U A U C U A A 3 จงบอกลาดับของแอนติโคดอนของ tRNA โดย
        เรียงลาดับที่จะเข้าจับสาย mRNA และลาดับของกรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์
                                          3 U A C G U G C C C A U A U A G A U U 5
        ลาดับเบสของแอนติโคดอน คือ.......................................................................................................
                                                       Met – His – Gly – Tyr – Lle =- รหัสหยุด
        ลาดับกรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์ คือ........................................................................................
   2. พอลิเพปไทด์สายหนึ่งมีลาดับกรดอะมิโนดังนี้ Met – Pro – Lys – Val จงบอกลาดับเบสที่อาจเป็นไป
      ได้ของ mRNA ที่สร้างพอลิเพปไทด์สายนี้
                 AUG CCA AAA GUG
      ............................................................................................................................................................
   3. จากภาพที่ 17-22 เป็นพอลิไรโบโซมของโพรคาริโอตหรือยูคาริโอต
                  โพรคาริโอต
      ..........................................................................................................................................................

                                                  ถ้านักเรียนทาได้ถูกทุก = เก่งมาก
                                                  ถ้าทาไม่ได้ ไม่ต้องท้อ อ่านทบทวนแล้วทาแบบฝึกหัดอีกครั้ง
53

จกรรมที่ 17.1 การแก้โจทย์ปัญหา
จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถ
    1. ระบุส่วนประกอบของ DNA
    2. นาความรู้เรื่องการถอดรหัสและการแปลรหัสมาแก้โจทย์ปัญหาที่กาหนด
****************************************
    1. จงศึกษาภาพแสดงโครงสร้างของ DNA แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ (แบบเรียนหน้า 72 )
       ก. หมายเลข 1-7เป็นส่วนประกอบส่วนใดของ DNA
                                หมู่ฟอสเฟต
       ตอบ หมายเลข 1 คือ......................................................................
                                น้าตาลเพนโทส
           หมายเลข 2 คือ......................................................................
                                เบสไซโทซีน
           หมายเลข 3 คือ.....................................................................
                                เบสไทมีน
           หมายเลข 4 คือ......................................................................
                                  เบสไทมีน
           หมายเลข 5 คือ......................................................................
                                  เบสกวานีน
           หมายเลข 6 คือ......................................................................
                                  เบสไซโทซีน
           หมายเลข 7 คือ......................................................................
                                    1 นิวคลีโอไทด์
          ข. กรอบที่ลูกศรชี้ คือ...................................................................
          ค. ปลายสองด้านของ DNA แต่ละสายในกรอบ K L M และ N เป็นปลาย 3 หรือ 5
                          5
             K คือปลาย.........................                 3
                                                 L คือปลาย..........................
                          3                                    5
             M คือปลาย.......................... N คือปลาย..........................
    2. mRNA ที่ถอดรหัสจาก DNA มีลาดับเบสเป็น 5 UAU CGC ACC UCA GAC UAG 3 จากข้อมูลนี้จง
       ตอบคาถามต่อไปนี้
       ก. ลาดับเบสบนสายแม่พิมพ์เป็นอย่างไร
             5 ATA GCG TGG AGT CTG ATC 3
          ..............................................................................................................................................................
       ข. พอลิเพปไทด์สายนี้มีลาดับของกรดอะมิโนเป็นอย่างไร โดยใช้รหัสพันธุกรรมจารกตารางที่ 17.5
             Tyr Arg Thr Ser Asp รหัสหยุด
          ..............................................................................................................................................................
54

3. กาหนดให้ส่วนหนึ่งของพอลินิวคลีโอไทด์สายหนึ่งของ DNA เป็นสายแม่พิมพ์โดย AUG เป็นรหัสเริ่มต้น
   ในการสังเคราะห์โปรตีน จากตารางที่กาหนดให้ จงเติมข้อมูลต่อไปนี้ลงในตาราง ได้แก่ โคดอนของ
   mRNA แอนติโคดอนของ tRNA ชนิดของกรดอะมิโน และสายพอลิเพปไทด์
                                                   กระบวนการสังเคราะห์โปรตี
   DNA แม่พิมพ์                 TAC CTT AAG GGA TTA CCG TCT ATG ATC
   โคดอนของ mRNA                AUG GAA UUC CCA AAU UGU UGU UAC UAG
   แอนติโคดอนของ tRNA           UAC CUU AAG GGU UUA ACA ACA AUG AUG
   กรดอะมิโน                    Met Glu Phe Pro Asn Arg Arg Tyr -
   พอลิเพปไทด์                  Met-Glu-Phe-Pro-Asn-Gly-Arg-Tyr
55

สาเหตุของการเกิดมิวเทชันในระดับยีน ได้แก่ รังสี
อัลตราไวโอเลต สารเคมีบางอย่าง เช่น สารอะฟลาทอกซิน มีผลทาให้ DNA หรือยีนเปลี่ยนแปลงไปได้
หลายลักษณะ เช่น เบสขาดหายไป เบสมีจานวนเพิ่มขึ้น เบสเปลี่ยนเป็นชนิดอื่น และจะเกิดผลต่อ
ลูกหลาน ถ้าเมื่อ บริเวณที่เกิดมิวเทชันนั้นสามารถนาไปขยายพันธุ์และได้รุ่นต่อไปได้ เช่น เกิดขึ้นใน
เซลล์สืบพันธุ์ หรือเกิดที่กิ่งของพืชที่รากที่จะไปนาใช้ขยายพันธุ์เพิ่ม



                    การแทนที่คู่เบส                                     เฟรมชิฟท์มิวเทชัน
1. มีการเปลี่ยนแปลงแทนที่คู่เบสในสายพอลิ              1. มีการเพิ่มหรือการขาดหายของนิวคลีโอไทด์ 1
นิวคลีโอไทด์ของ DNA เช่น A-T ถูกแทนที่ด้วย            หรือมากกว่าในสายพอลินิวคลีโอไทด์ของ
G-C                                                   DNA
2. มีผลทาให้เปลี่ยนแปลงเฉพาะบริเวณรหัส                2. มีผลทาให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม
พันธุกรรม ไม่ทาให้รหัสพันธุกรรมอื่น ๆ                 ลาดับและชนิดของกรดอะมิโนหลังจาก
เปลี่ยนแปลง                                           ตาแหน่งนี้ไปจะเปลี่ยนไปด้วย
3. อาจมีหรือไม่มีผลต่อลักษณะของสิ่งมีชีวิต คือ        3. สมบัติของพอลินิวคลีโอไทด์หรือโปรตีนที่ได้
ถ้าเกิดการแทนที่คู่เบสในรหัสพันธุกรรมรหัส             จากการสังเคราะห์โปรตีนจะแตกต่างไปจาก
เดียวกันมีการเปลี่ยนแปลงเบส แต่อาจไม่เปลี่ยน          ปกติ จะมีผลต่อลักษณะของสิ่งมีชีวิต
แปลงกรดอะมิโน จึงไม่มีผลต่อลักษณะ
พันธุกรรม แต่ถ้าทาให้เปลี่ยนแปลงกรด
อะมิโน โปรตีนจะเปลี่ยนไปก็จะมีผลต่อการ
แสดงลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น โรคโลหิตจาง
ชนิดซิกเคิลเซลล์
56

   ตอบคาถามในแบบเรียน74-84


1. จากภาพที่ 17-23 การเปลี่ยนแปลงของเบสใน DNA เป็นอย่างไร
        ในการจาลอง DNA ครั้งแรก มีการจับคู่ของเบสผิดคู่ เบส G ควรจะจับคู่กับเบส C แต่ไป
     ..............................................................................................................................................................
        จับคู่กับเบส T แทน และเมื่อสายพอลินิวคลีโอไทด์ที่มีเบส T นี้ไปสร้างพอลินิวคลีโอไทด์สาย
     ..............................................................................................................................................................
        ใหม่ เบส T ก็จะไปจับกับเบส A ดังนั้นลาดับของเบสในสาย DNA จะเปลี่ยนแปลงไป
     ..............................................................................................................................................................
     ..............................................................................................................................................................
2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ DNA อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของรหัสพันธุกรรมและการสังเคราะห์
โปรตีนอย่างไร
    ถ้า DNA สายที่เกิดมิวเทชันไปเป็นแม่พิมพ์ในการสร้าง mRNA ก็จะมีรหัสบนสาย mRNA
..........................................................................................................................................................................
    ในตาแหน่งที่เกิดมิวเทชันเปลี่ยนแปลง การแปลรหัสในการสังเคราะห์โปรตีนก็จะผิดปกติทาให้
..........................................................................................................................................................................
    ได้โปรตีนแตกต่างไปจากเดิม
..........................................................................................................................................................................
3. ถ้า mRNA มีลาดับเบสเป็น CUU UCU ACA AAA เกิดมิวเทชันเฉพาะที่เป็น UUU UCU ACA AAA จะมี
ผลอย่างไรในระดับของพอลิเพปไทด์และลักษณะของสิ่งมีชีวิต
   จะมีผลทาให้กรดอะมิโนในบริเวณมิวเทชัน คือ CUU ที่เป็นรหัสพันธุกรรมของกรดอะมิโนลิวซีน
..........................................................................................................................................................................
   เปลี่ยนเป็น UUU ซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมของกรดอะมิโนฟีนิลอะลามีนทาให้ลาดับของกรดอะมิโน
..........................................................................................................................................................................
   เปลี่ยนแปลงไปอาจมีผลต่อลักษณะของสิ่งมีชีวิต
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
4. นักเรียนคิดว่าการเกิดมิวเทชันแบบการแทนที่คู่เบสทาให้เกิดผลเสียเสมอไปหรือไม่ เพราะเหตุใด
      ไม่เสมอไป ถ้าการแทนที่คู่เบสนั้นเป็นรหัสของกรดอะมิโนชนิดเดียวกัน
..........................................................................................................................................................................
5. ถ้าเกิดการเพิ่มขึ้น หรือขาดหายไปของบริเวณที่เป็นโคดอน 3 นิวคลีโอไทด์ จะเกิดความผิดปกติอย่างไร
      ชนิดของกรดอะมิโนบริเวณดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไป ถ้าเกิดลักษณะเช่นนี้ 2 – 3 นิวคลีโอไทด์ มักจะ
..........................................................................................................................................................................
      มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในการทางานของพอลิเพฟไทป์
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
6. เราสามารถสังเกตมิวเทชันที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้หรือไม่
               ไม่ได้
..........................................................................................................................................................................
57


                                                        ศึกษาภาพที่ 17-26 แล้ว
                                                        ตอบคาถาม


      1. จากคารีโอไทป์ของกลุ่มอาการคริดูชาต์ โรคนี้เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมคู่ใด และจานวน
         โครโมโซมเปลี่ยนแปลงหรือไม่
         ..............................................................................................................................................................
      2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโครโมโซมมีผลต่อจานวนของยีนอย่างไร
         ..............................................................................................................................................................
         ..............................................................................................................................................................
         ..............................................................................................................................................................

                      ศึกษาภาพที่ 17-27 แล้ว
                      ตอบคาถาม

            1. กลุ่มอาการคริดูชาต์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโครโมโซมเป็นแบบใด
            ..............................................................................................................................................................
            2. ความผิดปกติของโครงสร้างโครโมโซม จะมีผลต่อยีนที่อยู่บนโครโมโซมอย่างไรบ้าง
            ..............................................................................................................................................................

                                                                                     ศึกษาภาพที่ 17-28 แล้ว
                                                                                     ตอบคาถาม

 จากคารีโอไทป์ของกลุ่มอาการดาวน์ โรคนี้เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมคู่ใด เกิดกับโครโมโซมชนิดใด
และโครโมโซมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
...........................................................................................................................................................................
58



   ศึกษาภาพที่ 17-29 แล้ว
   ตอบคาถาม

1. จากภาพที่ 17-29 จานวนโครโมโซมเพศขาดหรือเกินจากปกติได้อย่างไร
    เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสผิดปกติ อาจเกิดจากการแบ่งเซลล์ในระยะไมโอซิส I
.....................................................................................................................................................................
    หรือไมโอซิส II
.....................................................................................................................................................................
2. ถ้าพ่อสร้างสเปิร์มที่มีโครโมโซม XY ผสมกับเซลล์ไข่ที่มีโครโมโซม X ลูกจะมีโครโมโซมเพศเป็นอย่างไร
       และเกิดเป็นเพศใด
         โครโมโซมของลูกเป็น XXY เป็นเพศชาย
.....................................................................................................................................................................
3. เพราะเหตุใดพืชที่เป็นพอลิพลอยด์เลขคี่จึงมักเป็นหมัน
    ในกระบวนการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ในระยะเมทาเฟส I จะมีโครโมโซม
.....................................................................................................................................................................
    บางโครโมโซมไม่มีฮอมอโลกัสโครโมโซมมาเข้าคู่กัน จึงมีปัญหาในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
4. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับยีนและโครโมโซมเกี่ยวข้องกับการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตอย่างไร
     บางลักษณะที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจานวน ลาดับของยีน หรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ
.....................................................................................................................................................................
     โครโมโซม อาจจะทาให้สิ่งมีชีวิตอยู่รอด ลักษณะที่เกิดมิวเทชันถ้ามีการถ่ายทอดและถูกคัดเลือกไว้
.....................................................................................................................................................................
     ในธรรมชาติ และสะสมไว้ในยีนพูล อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ได้
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
59




5. จงเติมข้อความในแผนภาพให้สมบูรณ์

                        สารพันธุกรรม
                                ประกอบด้วย

  RNA                                                  DNA
                                                                 ประกอบด้วย
                                                       นิวคลีโอไทด์
                                                                 ประกอบด้วย

                       น้าตาลดีออกซีไรโบส          หมู่ฟอสเฟต            เบส


               ไทมีน                 อะดีนีน           กวานีน                  ไซโทซีน




                                ทาได้หรือเปล่า ... ถ้าทาไม่ได้
                                ให้ทบทวนบทเรียนอีกครั้งแล้ว
                                ทาใหม่

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 

Viewers also liked

บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนAon Narinchoti
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร PopulationPat Sn
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมSuntharee Yodkham
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

Viewers also liked (11)

1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 140921171754451403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(ชีววิทยา)
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similar to เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59

พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบยีน
แบบทดสอบยีนแบบทดสอบยีน
แบบทดสอบยีนWichai Likitponrak
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายAomiko Wipaporn
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DnaChotiros Thongngoen
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโนWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)Biobiome
 
Molecular genetics
Molecular genetics Molecular genetics
Molecular genetics Biobiome
 
โครโมโซม2
โครโมโซม2โครโมโซม2
โครโมโซม2Wan Ngamwongwan
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์Aomiko Wipaporn
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5Wichai Likitponrak
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfpitsanu duangkartok
 

Similar to เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59 (20)

พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
แบบทดสอบยีน
แบบทดสอบยีนแบบทดสอบยีน
แบบทดสอบยีน
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
3 gen 2 76
3 gen 2 763 gen 2 76
3 gen 2 76
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง Dna
 
พันธุเทคโน
พันธุเทคโนพันธุเทคโน
พันธุเทคโน
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
 
Molecular genetics
Molecular genetics Molecular genetics
Molecular genetics
 
โครโมโซม2
โครโมโซม2โครโมโซม2
โครโมโซม2
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 

More from Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 

เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59

  • 1. 52 7. สรุปแผนผังความเกี่ยวข้องกันของ ยีนหรือ DNA กับการแสดงลักษณะของสิ่งมีชีวิต โปรตีนซึ่งเป็นโครงสร้างของ เซลล์ ทาให้เซลล์มี จึงแสดง ฟีโนไทป์ต่างๆ ยีน ลักษณะเฉพาะ สังเคราะห์ ควบคุมการสร้าง หรือ RNA DNA ควบคุมการสร้าง โปรตีน ซึ่งเป็น ควบคุมการสร้าง สารอื่นๆที่จาเป็นต่อ เอนไซม์ การแสดงลักษณะ คาถามในแบบเรียน หน้า 70-71 1. ถ้าโคดอนของ mRNA โมเลกุลหนึ่งมีลาดับเบสดังนี้ 5 A U G C AC G G G U A U A U C U A A 3 จงบอกลาดับของแอนติโคดอนของ tRNA โดย เรียงลาดับที่จะเข้าจับสาย mRNA และลาดับของกรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์ 3 U A C G U G C C C A U A U A G A U U 5 ลาดับเบสของแอนติโคดอน คือ....................................................................................................... Met – His – Gly – Tyr – Lle =- รหัสหยุด ลาดับกรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์ คือ........................................................................................ 2. พอลิเพปไทด์สายหนึ่งมีลาดับกรดอะมิโนดังนี้ Met – Pro – Lys – Val จงบอกลาดับเบสที่อาจเป็นไป ได้ของ mRNA ที่สร้างพอลิเพปไทด์สายนี้ AUG CCA AAA GUG ............................................................................................................................................................ 3. จากภาพที่ 17-22 เป็นพอลิไรโบโซมของโพรคาริโอตหรือยูคาริโอต โพรคาริโอต .......................................................................................................................................................... ถ้านักเรียนทาได้ถูกทุก = เก่งมาก ถ้าทาไม่ได้ ไม่ต้องท้อ อ่านทบทวนแล้วทาแบบฝึกหัดอีกครั้ง
  • 2. 53 จกรรมที่ 17.1 การแก้โจทย์ปัญหา จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1. ระบุส่วนประกอบของ DNA 2. นาความรู้เรื่องการถอดรหัสและการแปลรหัสมาแก้โจทย์ปัญหาที่กาหนด **************************************** 1. จงศึกษาภาพแสดงโครงสร้างของ DNA แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ (แบบเรียนหน้า 72 ) ก. หมายเลข 1-7เป็นส่วนประกอบส่วนใดของ DNA หมู่ฟอสเฟต ตอบ หมายเลข 1 คือ...................................................................... น้าตาลเพนโทส หมายเลข 2 คือ...................................................................... เบสไซโทซีน หมายเลข 3 คือ..................................................................... เบสไทมีน หมายเลข 4 คือ...................................................................... เบสไทมีน หมายเลข 5 คือ...................................................................... เบสกวานีน หมายเลข 6 คือ...................................................................... เบสไซโทซีน หมายเลข 7 คือ...................................................................... 1 นิวคลีโอไทด์ ข. กรอบที่ลูกศรชี้ คือ................................................................... ค. ปลายสองด้านของ DNA แต่ละสายในกรอบ K L M และ N เป็นปลาย 3 หรือ 5 5 K คือปลาย......................... 3 L คือปลาย.......................... 3 5 M คือปลาย.......................... N คือปลาย.......................... 2. mRNA ที่ถอดรหัสจาก DNA มีลาดับเบสเป็น 5 UAU CGC ACC UCA GAC UAG 3 จากข้อมูลนี้จง ตอบคาถามต่อไปนี้ ก. ลาดับเบสบนสายแม่พิมพ์เป็นอย่างไร 5 ATA GCG TGG AGT CTG ATC 3 .............................................................................................................................................................. ข. พอลิเพปไทด์สายนี้มีลาดับของกรดอะมิโนเป็นอย่างไร โดยใช้รหัสพันธุกรรมจารกตารางที่ 17.5 Tyr Arg Thr Ser Asp รหัสหยุด ..............................................................................................................................................................
  • 3. 54 3. กาหนดให้ส่วนหนึ่งของพอลินิวคลีโอไทด์สายหนึ่งของ DNA เป็นสายแม่พิมพ์โดย AUG เป็นรหัสเริ่มต้น ในการสังเคราะห์โปรตีน จากตารางที่กาหนดให้ จงเติมข้อมูลต่อไปนี้ลงในตาราง ได้แก่ โคดอนของ mRNA แอนติโคดอนของ tRNA ชนิดของกรดอะมิโน และสายพอลิเพปไทด์ กระบวนการสังเคราะห์โปรตี DNA แม่พิมพ์ TAC CTT AAG GGA TTA CCG TCT ATG ATC โคดอนของ mRNA AUG GAA UUC CCA AAU UGU UGU UAC UAG แอนติโคดอนของ tRNA UAC CUU AAG GGU UUA ACA ACA AUG AUG กรดอะมิโน Met Glu Phe Pro Asn Arg Arg Tyr - พอลิเพปไทด์ Met-Glu-Phe-Pro-Asn-Gly-Arg-Tyr
  • 4. 55 สาเหตุของการเกิดมิวเทชันในระดับยีน ได้แก่ รังสี อัลตราไวโอเลต สารเคมีบางอย่าง เช่น สารอะฟลาทอกซิน มีผลทาให้ DNA หรือยีนเปลี่ยนแปลงไปได้ หลายลักษณะ เช่น เบสขาดหายไป เบสมีจานวนเพิ่มขึ้น เบสเปลี่ยนเป็นชนิดอื่น และจะเกิดผลต่อ ลูกหลาน ถ้าเมื่อ บริเวณที่เกิดมิวเทชันนั้นสามารถนาไปขยายพันธุ์และได้รุ่นต่อไปได้ เช่น เกิดขึ้นใน เซลล์สืบพันธุ์ หรือเกิดที่กิ่งของพืชที่รากที่จะไปนาใช้ขยายพันธุ์เพิ่ม การแทนที่คู่เบส เฟรมชิฟท์มิวเทชัน 1. มีการเปลี่ยนแปลงแทนที่คู่เบสในสายพอลิ 1. มีการเพิ่มหรือการขาดหายของนิวคลีโอไทด์ 1 นิวคลีโอไทด์ของ DNA เช่น A-T ถูกแทนที่ด้วย หรือมากกว่าในสายพอลินิวคลีโอไทด์ของ G-C DNA 2. มีผลทาให้เปลี่ยนแปลงเฉพาะบริเวณรหัส 2. มีผลทาให้รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม พันธุกรรม ไม่ทาให้รหัสพันธุกรรมอื่น ๆ ลาดับและชนิดของกรดอะมิโนหลังจาก เปลี่ยนแปลง ตาแหน่งนี้ไปจะเปลี่ยนไปด้วย 3. อาจมีหรือไม่มีผลต่อลักษณะของสิ่งมีชีวิต คือ 3. สมบัติของพอลินิวคลีโอไทด์หรือโปรตีนที่ได้ ถ้าเกิดการแทนที่คู่เบสในรหัสพันธุกรรมรหัส จากการสังเคราะห์โปรตีนจะแตกต่างไปจาก เดียวกันมีการเปลี่ยนแปลงเบส แต่อาจไม่เปลี่ยน ปกติ จะมีผลต่อลักษณะของสิ่งมีชีวิต แปลงกรดอะมิโน จึงไม่มีผลต่อลักษณะ พันธุกรรม แต่ถ้าทาให้เปลี่ยนแปลงกรด อะมิโน โปรตีนจะเปลี่ยนไปก็จะมีผลต่อการ แสดงลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่น โรคโลหิตจาง ชนิดซิกเคิลเซลล์
  • 5. 56 ตอบคาถามในแบบเรียน74-84 1. จากภาพที่ 17-23 การเปลี่ยนแปลงของเบสใน DNA เป็นอย่างไร ในการจาลอง DNA ครั้งแรก มีการจับคู่ของเบสผิดคู่ เบส G ควรจะจับคู่กับเบส C แต่ไป .............................................................................................................................................................. จับคู่กับเบส T แทน และเมื่อสายพอลินิวคลีโอไทด์ที่มีเบส T นี้ไปสร้างพอลินิวคลีโอไทด์สาย .............................................................................................................................................................. ใหม่ เบส T ก็จะไปจับกับเบส A ดังนั้นลาดับของเบสในสาย DNA จะเปลี่ยนแปลงไป .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ DNA อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของรหัสพันธุกรรมและการสังเคราะห์ โปรตีนอย่างไร ถ้า DNA สายที่เกิดมิวเทชันไปเป็นแม่พิมพ์ในการสร้าง mRNA ก็จะมีรหัสบนสาย mRNA .......................................................................................................................................................................... ในตาแหน่งที่เกิดมิวเทชันเปลี่ยนแปลง การแปลรหัสในการสังเคราะห์โปรตีนก็จะผิดปกติทาให้ .......................................................................................................................................................................... ได้โปรตีนแตกต่างไปจากเดิม .......................................................................................................................................................................... 3. ถ้า mRNA มีลาดับเบสเป็น CUU UCU ACA AAA เกิดมิวเทชันเฉพาะที่เป็น UUU UCU ACA AAA จะมี ผลอย่างไรในระดับของพอลิเพปไทด์และลักษณะของสิ่งมีชีวิต จะมีผลทาให้กรดอะมิโนในบริเวณมิวเทชัน คือ CUU ที่เป็นรหัสพันธุกรรมของกรดอะมิโนลิวซีน .......................................................................................................................................................................... เปลี่ยนเป็น UUU ซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมของกรดอะมิโนฟีนิลอะลามีนทาให้ลาดับของกรดอะมิโน .......................................................................................................................................................................... เปลี่ยนแปลงไปอาจมีผลต่อลักษณะของสิ่งมีชีวิต .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 4. นักเรียนคิดว่าการเกิดมิวเทชันแบบการแทนที่คู่เบสทาให้เกิดผลเสียเสมอไปหรือไม่ เพราะเหตุใด ไม่เสมอไป ถ้าการแทนที่คู่เบสนั้นเป็นรหัสของกรดอะมิโนชนิดเดียวกัน .......................................................................................................................................................................... 5. ถ้าเกิดการเพิ่มขึ้น หรือขาดหายไปของบริเวณที่เป็นโคดอน 3 นิวคลีโอไทด์ จะเกิดความผิดปกติอย่างไร ชนิดของกรดอะมิโนบริเวณดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไป ถ้าเกิดลักษณะเช่นนี้ 2 – 3 นิวคลีโอไทด์ มักจะ .......................................................................................................................................................................... มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในการทางานของพอลิเพฟไทป์ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 6. เราสามารถสังเกตมิวเทชันที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ได้หรือไม่ ไม่ได้ ..........................................................................................................................................................................
  • 6. 57 ศึกษาภาพที่ 17-26 แล้ว ตอบคาถาม 1. จากคารีโอไทป์ของกลุ่มอาการคริดูชาต์ โรคนี้เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมคู่ใด และจานวน โครโมโซมเปลี่ยนแปลงหรือไม่ .............................................................................................................................................................. 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโครโมโซมมีผลต่อจานวนของยีนอย่างไร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ศึกษาภาพที่ 17-27 แล้ว ตอบคาถาม 1. กลุ่มอาการคริดูชาต์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโครโมโซมเป็นแบบใด .............................................................................................................................................................. 2. ความผิดปกติของโครงสร้างโครโมโซม จะมีผลต่อยีนที่อยู่บนโครโมโซมอย่างไรบ้าง .............................................................................................................................................................. ศึกษาภาพที่ 17-28 แล้ว ตอบคาถาม  จากคารีโอไทป์ของกลุ่มอาการดาวน์ โรคนี้เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมคู่ใด เกิดกับโครโมโซมชนิดใด และโครโมโซมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ...........................................................................................................................................................................
  • 7. 58 ศึกษาภาพที่ 17-29 แล้ว ตอบคาถาม 1. จากภาพที่ 17-29 จานวนโครโมโซมเพศขาดหรือเกินจากปกติได้อย่างไร เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสผิดปกติ อาจเกิดจากการแบ่งเซลล์ในระยะไมโอซิส I ..................................................................................................................................................................... หรือไมโอซิส II ..................................................................................................................................................................... 2. ถ้าพ่อสร้างสเปิร์มที่มีโครโมโซม XY ผสมกับเซลล์ไข่ที่มีโครโมโซม X ลูกจะมีโครโมโซมเพศเป็นอย่างไร และเกิดเป็นเพศใด โครโมโซมของลูกเป็น XXY เป็นเพศชาย ..................................................................................................................................................................... 3. เพราะเหตุใดพืชที่เป็นพอลิพลอยด์เลขคี่จึงมักเป็นหมัน ในกระบวนการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ในระยะเมทาเฟส I จะมีโครโมโซม ..................................................................................................................................................................... บางโครโมโซมไม่มีฮอมอโลกัสโครโมโซมมาเข้าคู่กัน จึงมีปัญหาในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 4. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับยีนและโครโมโซมเกี่ยวข้องกับการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตอย่างไร บางลักษณะที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจานวน ลาดับของยีน หรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ ..................................................................................................................................................................... โครโมโซม อาจจะทาให้สิ่งมีชีวิตอยู่รอด ลักษณะที่เกิดมิวเทชันถ้ามีการถ่ายทอดและถูกคัดเลือกไว้ ..................................................................................................................................................................... ในธรรมชาติ และสะสมไว้ในยีนพูล อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ได้ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................
  • 8. 59 5. จงเติมข้อความในแผนภาพให้สมบูรณ์ สารพันธุกรรม ประกอบด้วย RNA DNA ประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย น้าตาลดีออกซีไรโบส หมู่ฟอสเฟต เบส ไทมีน อะดีนีน กวานีน ไซโทซีน ทาได้หรือเปล่า ... ถ้าทาไม่ได้ ให้ทบทวนบทเรียนอีกครั้งแล้ว ทาใหม่