SlideShare a Scribd company logo
1 of 82
Download to read offline
1
ประพจนตัวเชื่อมของประพจน
•หรือ
•และ
•ถา…..แลว
•ก็ตอเมื่อ
•นิเสธ
การสมมูลกันของประพจนประพจนที่ปนสัจจนิรันดร
ประโยคเปดตัวบงปริมาณประพจนที่มีตัวบงปริมาณ
•ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ
1ตัว
•ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ
2ตัว
นิเสธและการสมมูลกันของ
ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ
การอางเหตุผล
โจทยปญหา
2
ตรรกศาสตรเบื้องตน
1.ประพจน
ประโยคบอกเลาหรือปฏิเสธ ที่สามารถบอกคาความจริงเปนจริง(T)
หรือเท็จ(F) อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น
ตัวอยางเชน
1. เดือนเมษายน มี 30 วัน
ประโยคดังกลาวเปนประโยคบอกเลาที่สามารถบอกคาความจริงไดวาเปน จริง
∴ประโยคดังกลาวเปนประพจน
2. ในหนึ่งสัปดาหมีทั้งหมด 8 วัน
ประโยคดังกลาวเปนประโยคบอกเลาที่สามารถบอกคาความจริงไดวาเปน เท็จ
∴ประโยคดังกลาวเปนประพจน
3. x มีคานอยกวา 3
ประโยคดังกลาวเปนประโยคบอกเลา แตไมสามารถบอกคาความจริงไดวาเปน จริง หรือ เท็จ
อยางใดอยางหนึ่ง เพราะขึ้นอยูกับคา x วาจะเปนจํานวนใด เชน
ถา x = 2 ประโยคดังกลาวจะมีคาความจริงเปนจริง
ถา x = 4 ประโยคดังกลาวจะมีคาความจริงเปนเท็จ
∴ประโยคดังกลาวไมเปนประพจน
4. ขอความกรุณาอยาเดินลัดสนาม
ประโยคดังกลาวเปนประโยคขอรอง ไมใชประโยคบอกเลาหรือปฏิเสธ
∴ประโยคดังกลาวไมเปนประพจน
3
5. ประเทศเวียดนามไมไดมีอาณาเขตติดตอกับประเทศไทย
ประโยคดังกลาวเปนประโยคปฏิเสธ ทีสามารถบอกคาความจริงไดวาเปน จริง
∴ประโยคดังกลาวเปนประพจน
2.ตัวเชื่อมของประพจน
ถามีประพจนยอยตั้งแต 2 ประพจนเปนตนไป เราสามารถเชื่อมประพจนยอยนั้นเปนประพจน
เดียวที่สามารถบอกคาความจริงไดวาเปนจริงหรือเท็จ โดยใชตัวเชื่อมประพจน 5 แบบดังนี้
2.1 หรือ ( )∨ -สามารถยกตัวอยางในกรณีมีประพจนยอย 2 ประพจนคือ p และ q และสราง
ตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้
2.2 และ ( )∧ -สามารถยกตัวอยางในกรณีมีประพจนยอย 2 ประพจนคือ p และ q และสราง
ตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้
2.3 ถา….แลว ( )→ -สามารถยกตัวอยางในกรณีมีประพจนยอย 2 ประพจนคือ p และ q
และสรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้
p q p∨ q
T T T
T F T
F T T
F F F
p q p ∧ q
T T T
T F F
F T F
F F F
เปนจริงหมดยกเวนกรณี
p เปนเท็จ และ q เปน
เท็จ
เปนจริงกรณีเดียวคือ p
เปนจริง และ q เปนจริง
4
2.4 ก็ตอเมื่อ( )↔ -สามารถยกตัวอยางในกรณีมีประพจนยอย 2 ประพจนคือ p และ q และ
สรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้
2.4 นิเสธ( )∼ -สามารถสรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้
p p∼
T F
F T
ตัวอยางเชน
1) ถาให p,q และ r เปนประพจนที่มีคาความจริงเปน จริง , จริง และ เท็จ ตามลําดับ จงหา
คาความจริงของ ( ) ( )p q r p→ ∧ ∨ ∼
วิธีทํา p,q และ r มีคาความจริงดังนี้…………p-T , q-T และ r-F
( ) ( )p q r p→ ∧ ∨ ∼
T T F T
F
T F
F
p q p→q
T T T
T F F
F T T
F F T
p q p ↔ q
T T T
T F F
F T F
F F T
เปนเท็จกรณีเดียวคือ p
เปนจริง และ q เปนเท็จ
นอกนั้นเปนจริงหมด
เปนจริงกรณี p และ q มีคา
ความจริงเหมือนกัน
เปนเท็จกรณี p และ q มีคา
ความจริงตางกัน
คาความจริงจะตรงขามกับ
ของเดิม
5
2) ถาให p,q และ r เปนประพจนที่มีคาความจริงเปน จริง , จริง และ จริง ตามลําดับ จงหา
คาความจริงของ [( ) ]p q r q∧ → ∨
วิธีทํา p,q และ r มีคาความจริงดังนี้…………p-T , q-T และ r-T
[( ) ]p q r q∧ → ∨
T T T T
T
T
T
3) ถาให p,q และ r มีคาความจริงเปน เท็จ , จริง และ เท็จ ตามลําดับ จงหาคาความจริงของ
[( ) ] [ ]p q r p r↔ → ∨ →
วิธีทํา p,q และ r มีคาความจริงดังนี้…………p-F , q-T และ r-F
[( ) ] [ ]p q r p r↔ → ∨ →
F T F F F
F
T T
T
4) กําหนดใหคาความจริงของ ( ) ( )p q r s∧ → ∨ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ
p,q,r และ s
วิธีทํา
( ) ( )p q r s∧ → ∨
T T F F
T F
F
6
∴p,q,r และ s มีคาความจริงดังนี้……. p-T , q-T , r-F และ s-F
5) กําหนดใหคาความจริงของประพจน [ ( )] ( )p q r s∧ ∨ →∼ มีคาความจริงเปน
เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s
วิธีทํา
[ ( )] ( )p q r s∧ ∨ →∼
T T T F
F T F
F
∴p,q,r และ s มีคาความจริงดังนี้……. p-T , q-T , r-T และ s-F
แบบฝกหัด
1. ขอความตอไปนี้ ขอใดเปนประพจน เพราะเหตุใด
1.1) 5 มากกวา 2 อยูเทาไร
1.2) 0 เปนจํานวนคู
1.3) จํานวนตรรกยะทุกตัวเปนจํานวนเต็ม
1.4) กราฟของสมการ x+y=0 เปนเสนตรง
1.5) โปรดชวยกันประหยัดไฟฟา
7
1.6) จงหาเซตคําตอบของสมการ
2
4 5 0x x+ − =
1.7) (3,4)π ∈
1.8) 23 เปนจํานวนเฉพาะ
1.9) ไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง
1.10)
2 2
1x y+ = มีกราฟเปนวงกลม 1 หนวย
2. จงเขียนประโยคตอไปนี้ในรูปสัญลักษณ โดยให p แทนประพจนแรก และ q แทนประพจน
หลัง
2.1) 6 เปนจํานวนคู และ 3 เปนจํานวนคี่
2.2) ถาปลาบินไดแลว นกจะเปนสัตวน้ํา
2.3) 2 เทากับ 4 หรือ 5 เทากับ 0
2.4) ถา 7 เปนจํานวนคู แลว 9 เปนจํานวนคี่
2.5) 2 หาร a ลงตัวก็ตอเมื่อ 2 เปนตัวประกอบของ a
8
3. จงหาวาประพจนตอไปนี้มีคาความจริงเปน จริง หรือ เท็จ
3.1) 1+1=2 และ 1+3=5
3.2) 4 และ 6 เปนสมาชิกของ {2,4}
3.3) ถา 7+8=9 แลว 9+2=4
3.4) อยุธยาเปนเมืองหลวงของไทยในปจจุบันหรือกรุงเทพฯอยูทางภาคใต
3.5) π เปนจํานวนตรรกยะหรือจํานวนอตรรกยะ
3.6) 1+4=9 ก็ตอเมื่อ 4 > -3
3.7) ถา 5 > -6 แลว
2 2
5 ( 6)> −
3.8) แมวเปนสัตวน้ํา แตปลาเปนสัตวปก
3.9) 0 เปนจํานวนคู หรือ 0 เปนจํานวนคี่
3.10) ถา 3 ไมใชสมาชิกของเซตจํานวนคี่ แลว 3 ไมใชจํานวนคี่
4. ถา p,q และ r เปนประพจน โดยที่ r มีคาความจริงเปน จริง จงหาคาความจริงของ
ประพจนตอไปนี้
4.1) ( )p q r→ ∨
4.2) p r∧ ∼
9
4.3) ( )p q r∧ →
4.4) ( )r p q→ ∨∼ ∼
4.5) ( ) ( )p r q r∨ ↔ ∧∼ ∼
5. กําหนดคาความจริงของประพจนเชิงประกอบ จงหาคาความจริงของประพจนยอยตอไปนี้
5.1) ( ) ( )p q r s→ ∧ ∨∼ ∼ เปน จริง จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s
5.2) ( )p q r∧ →∼ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q และ r
10
5.3) ( ) ( )p q p r↔ → ∨∼ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q และ r
5.4) ( ) ( )p q p r→ ∨ ↔ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q และ r
5.5) ( ) ( )p q r s∧ → ↔ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s
11
5.6) ( ) ( )p q r s∨ ↔ →∼ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s
5.7) [( ) ] ( )p q r p s∧ ∧ → ∧ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s
5.8) [( ) ( )]q q r r s∨ ↔ ∨ → เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ q,r และ s
12
6. กําหนดให A แทนประพจน ( ) ( )p q r s∧ → →
และ B แทนประพจน (( ) )p r s q∨ → →
ถาประพจน ( ( ))p q r s→ → ∨ มีคาความจริงเปน เท็จ แลว จงหาคาความจริง
ของประพจน A และ B
7. กําหนดให p,q,r,s และ t เปนประพจน ซึ่งประพจน ( )p q r∧ → มีคาความจริง
เปน เท็จ ถา A แทนประพจน [ ( )] ( )s t q r p→ → ↔ ∧ จงหาคาความจริง
ของประพจน A
13
8. กําหนดใหประพจน ,p p q→ และ ( )p q r→ ∨∼ เปนประพจนที่มีคาความ
จริงเปน จริง จงหาคาความจริงของประพจนตอไปนี้
8.1) ( )q r p∧ →∼
8.2) ( )r p q→ ∨∼ ∼
8.3) ( )p q r∧ ∨∼
14
8.4) ( ) ( )p q r∧ ∨∼ ∼
9. กําหนดให p และ q เปนประพจน ถา [( ) ( )]p q p q→ → ∨ ∼ มีคาความจริง
เปน เท็จ แลว จงหาคาความจริงของประพจนตอไปนี้
9.1) p q∨∼
9.2) p q∧∼
15
9.3) p q↔
9.4) p q→∼
16
3.การสมมูลกันของประพจน
ประพจน 2 ประพจนจะสมมูลกัน เมื่อเราสรางตารางแสดงคาความจริงแลว มีคาความจริง
ออกมาเหมือนกันทุกกรณี เราเขียนสัญลักษณ ≡ แสดงวาประพจน 2 ประพจนสมมูลกัน เชน
( )p q p q→ ≡ ∨∼ หมายความวา ประพจน p q→ สมมูลกับประพจน
p q∨∼ และสามารถสรางตารางแสดงคาความจริงของการสมมูลกันของ 2 ประพจนไดดังนี้
p q p q→ p∼ p q∨∼
T T T F T
T F F F F
F T T T T
F F T T T
วิธีตรวจสอบวาประพจน 2 ประพจนสมมูลกันหรือไม ทําได 3 วิธี ดังนี้
จะเห็นวาคาความจริงของ p q→
และ p q∨∼ เหมือนกันทุกกรณี
17
วิธีที่ 1 – การสรางตารางแสดงคาความจริงของประพจน 2 ประพจนที่ตองการจะตรวจสอบวา
สมมูลกัน คาความจริงตองเหมือนกันทุกกรณี จึงจะสามารถบอกไดวาประพจน 2 ประพจนสมมูล
กัน ตัวอยางเชน
1. จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q∧∼ กับ p q∨∼ ∼ สมมูลกันหรือไม
วิธีทํา สรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้
p q p∼ q∼ p q∧ ( )p q∧∼ p q∨∼ ∼
T T F F T F F
T F F T F T T
F T T F F T T
F F T T F T T
∴ ( )p q p q∧ ≡ ∨∼ ∼ ∼
วิธีตรวจสอบประพจน 2 ประพจนสมมูลกันหรือไม
สรางตารางแสดงคาความจริง
การแปลงคาประพจนใหเหมือนกัน
การตรวจสอบแบบสัจจนิรันดร
จะเห็นวาคาความจริงของ ( )p q∧∼
และ p q∨∼ ∼ เหมือนกันทุกกรณี
18
2. จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q r→ → สมมูลกับ ( )p q r∧ → หรือไม
วิธีทํา - สามารถสรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้
จากโจทยมีประพจนยอย 3 ประพจนคือ p,q และ r เพราะฉะนั้นสามารถแยกกรณีความจริงได
ทั้งหมด
3
2 8= กรณี ดังนี้
p q r q r→ p q∧ ( )p q r→ → ( )p q r∧ →
T T T T T T T
T T F F T F F
T F T T F T T
T F F T F T T
F T T T F T T
F T F F F T T
F F T T F T T
F F F T F T T
∴ ( ) ( )p q r p q r→ → ≡ ∧ →
3. จงตรวจสอบวาประพจน p q↔ สมมูลกับ ( ) ( )p q q p→ ∧ →
หรือไม
วิธีทํา - สามารถสรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้
p q p q→ q p→ p q↔ ( ) ( )p q q p→ ∧ →
T T T T T T
T F F T F F
F T T F F F
F F T T T T
จะเห็นวาคาความจริงของ ( )p q r→ →
และ ( )p q r∧ → เหมือนกันทุกกรณี
19
∴ ( ) ( )p q p q q p↔ ≡ → ∧ →
วิธีที่ 2 –ตรวจสอบประพจน 2 ประพจน วาสมมูลกันหรือไม โดยวิธีการแปลงคาประพจนให
เหมือนกัน ตัวอยาง เชน
1. จากตัวอยางกอนหนานี้ จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q r→ → สมมูลกับ
( )p q r∧ → หรือไม โดยวิธีการแปลงคาประพจนใหเหมือนกัน
วิธีทํา
( )
( )
( )
( )
( )
( )
p q r
p q r
p q r
p q r
p q r
p q r
→ →
≡ → ∨
≡ ∨ ∨
≡ ∨ ∨
≡ ∧ ∨
≡ ∧ →
∼
∼ ∼
∼ ∼
∼
( )p q r∧ →
∴ ( ) ( )p q r p q r→ → ≡ ∧ →
2. จงตรวจสอบประพจน ( )p q r→ → สมมูลกับ ( )r p q→ ∧∼ ∼
หรือไม
วิธีทํา
( )
( )
( )
( )
p q r
r p q
r p q
r p q
→ →
≡ → →
≡ → ∨
≡ → ∧
∼ ∼
∼ ∼ ∼
∼ ∼
( )r p q→ ∧∼ ∼
∴ ( ) ( )p q r r p q→ → ≡ → ∧∼ ∼
จะเห็นวาคาความจริงของ p q↔ และ
( ) ( )p q q p→ ∧ → เหมือนกันทุกกรณี
เหมือนกัน
เหมือนกัน
20
3. จงตรวจสอบประพจน p q↔ สมมูลกับ ( ) ( )q p q p→ ∧ ∨∼ ∼ ∼
หรือไม
วิธีทํา
( ) ( )
( ) ( )
p q
p q q p
q p q p
↔
≡ → ∧ →
≡ → ∧ ∨∼ ∼ ∼
( ) ( )q p q p→ ∧ ∨∼ ∼ ∼
∴ ( ) ( )p q q p q p↔ ≡ → ∧ ∨∼ ∼ ∼
สรุปสูตรพื้นฐานของการแปลงคาประพจนที่ตองนําไปใชบอยๆ
1. p q p q q p→ ≡ ∨ ≡ →∼ ∼ ∼
2. ( ) ( )p q p q q p↔ ≡ → ∧ →
3. ( )p q p q∧ ≡ ∨∼ ∼ ∼
4. ( )p q p q∨ ≡ ∧∼ ∼ ∼
5. ( ) ( ) ( )p q r p q p r∧ ∨ ≡ ∧ ∨ ∧
6. ( ) ( ) ( )p q r p q p r∨ ∧ ≡ ∨ ∧ ∨
4. จงตรวจสอบประพจน ( )p q r→ ∨ สมมูลกับ ( ) ( )p q p r→ ∨ →
หรือไม
วิธีทํา
( )
( )
p q r
p q r
p q r
→ ∨
≡ ∨ ∨
≡ ∨ ∨
∼
∼
( ) ( )
( ) ( )
( )
p q p r
p q p r
p q p r
p p q r
p q r
→ ∨ →
≡ ∨ ∨ ∨
≡ ∨ ∨ ∨
≡ ∨ ∨ ∨
≡ ∨ ∨
∼ ∼
∼ ∼
∼ ∼
∼
เหมือนกัน
เหมือนกัน
21
∴ ( ) ( ) ( )p q r p q p r→ ∨ ≡ → ∨ →
ขอสังเกต – จากตัวอยางที่ผานๆมา การแปลงคาประพจนใหเหมือนกันเปนการแปลงคาจาก
ประพจนทาง ซาย ใหเหมือนกับประพจนทาง ขวา แตจากตัวอยางขางบนเปนการแปลงคา
ประพจนจาก ทั้งประพจนซายและขวา ใหเหมือนกัน ทั้งคู
5. จงตรวจสอบประพจน ( )p q r∨ → สมมูลกับ ( ) ( )p r q r→ ∧ →
หรือไม
วิธีทํา
( )
( )
( )
( ) ( )
( ) ( )
p q r
p q r
p q r
p r q r
p r q r
∨ →
≡ ∨ ∨
≡ ∧ ∨
≡ ∨ ∧ ∨
≡ → ∧ →
∼
∼ ∼
∼ ∼
( ) ( )p r q r→ ∧ →
∴ ( ) ( ) ( )p q r p r q r∨ → ≡ → ∧ →
วิธีที่ 3 –วิธีสัจจนิรันดร ตรวจสอบวาประพจน 2 ประพจน สมมูลกันหรือไม โดยการเชื่อม
ประพจนทั้งสองดวยตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ” ( )↔ แลวตรวจสอบวาเปนสัจจนิรันดรหรือไม โดย
การตรวจสอบความเปนสัจจนิรันดรของประพจนรวมคือ ประพจนรวมตองมีคาความจริงเปนจริง
เสมอ ไมวาประพจนยอยจะมีคาความจริงเปนกรณีใดก็ตาม ตัวอยาง เชน
1. จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q r→ → สมมูลกับประพจน
[ ( )]r p q→ ∧∼ ∼ หรือไม โดยวิธีทดสอบแบบสัจจนิรันดร
วิธีทํา ทําการตรวจสอบการสมมูลกันของประพจนโดย สรางประพจนรวม
[( ) ] [ ( )]p q r r p q→ → ↔ → ∧∼ ∼ (เชื่อมตอประพจน
( )p q r→ → และ [ ( )]r p q→ ∧∼ ∼ ดวยตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ” ( )↔ )
แลวทดสอบความเปนสัจจนิรันดรของประพจน
[( ) ] [ ( )]p q r r p q→ → ↔ → ∧∼ ∼ วามีคาความจริงเปน จริง ทุกกรณีหรือ
เสมอหรือไม โดยการสรางตารางแจกแจงแสดงคาความจริงออกมา ตองเปน จริง ทุกกรณี
เหมือนกัน
22
p q r q∼ r∼ p q→ p q∧ ∼ ( )p q r→ → ( )r p q→ ∧∼ ∼ [( ) ] [ ( )]p q r r p q→ → ↔ → ∧∼ ∼
T T T F F T F T T T
T T F F T T F F F T
T F T T F F T T T T
T F F T T F T T T T
F T T F F T F T T T
F T F F T T F F F T
F F T T F T F T T T
F F F T T T F F F T
∴ ( ) [ ( )]p q r r p q→ → ≡ → ∧∼ ∼
2. จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q∨∼ ∼ สมมูลกับประพจน ( )q p→∼
หรือไม โดยวิธีทดสอบแบบสัจจนิรันดร
วิธีทํา
ทําการทดสอบวาประพจน ( ) [ ( )]p q q p∨ ↔ →∼ ∼ ∼
จะเห็นวาคาความจริงของ
[( ) ] [ ( )]p q r r p q→ → ↔ → ∧∼ ∼
เปนจริงทุกกรณีคาความจริงของ p,q และ r
สัจจนิรันดร
แสดงวา ( ) [ ( )]p q q p∨ ≡ →∼ ∼ ∼
แสดงวา ( )p q∨∼ ∼ ไมสมมูลกับ ( )q p→∼ใช
ไมใช
23
……………….ทําการสรางตารางแสดงคาความจริง
p q q∼ ( )p q∨ ∼ ( )q p→ ( )p q∨∼ ∼ ( )q p→∼ ( ) [ ( )]p q q p∨ ↔ →∼ ∼ ∼
T T F T T F F T
T F T T T F F T
F T F F F T T T
F F T T T F F T
∴ ( ) ( )p q q p∨ ≡ →∼ ∼ ∼
4.ประพจนที่เปนสัจจนิรันดร
ประพจนที่เปนสัจจนิรันดรตองมีคาความจริงของประพจนนั้นเปน จริง ทุกกรณีคาความจริงของ
ประพจนยอยที่ประกอบเปนประพจนนั้น การตรวจสอบวาประพจนใดเปนสัจจนิรันดรสามารถ
กระทําได 2 วิธี
วิธีที่ 1 – การสรางตารางแสดงคาความจริงของประพจนนั้นตองเปน จริง ทุกกรณีของคาความจริง
ของประพจนยอยที่ประกอบเปนประพจนนั้น
จะเห็นวาคาความจริงของ
( ) [ ( )]p q q p∨ ↔ →∼ ∼ ∼
เปนจริงทุกกรณีคาความจริงของ p และ q
การตรวจสอบประพจนวาเปนสัจจนิรันดรหรือไม
สรางตารางแสดงคาความจริง การสมมติใหเปน เท็จ แลวหาขอขัดแยง
24
1. จงตรวจสอบประพจน ( ) [( ) ( )]p q p r q r→ → ∨ → ∨ วาเปนสัจจนิ
รันดรหรือไม โดยการสรางตารางแสดงคาความจริง
วิธีทํา ………… ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการสรางตารางแจกแจงคาความจริง
p q r p q→ p r∨ q r∨ ( ) ( )p r q r∨ → ∨ ( ) [( ) ( )]p q p r q r→ → ∨ → ∨
T T T T T T T T
T T F T T T T T
T F T F T T T T
T F F F T F F T
F T T T T T T T
F T F T F T T T
F F T T T T T T
F F F T F F T T
∴ ( ) [( ) ( )]p q p r q r→ → ∨ → ∨ เปนสัจจนิรันดร
2. จงตรวจสอบประพจน [( ) ] ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดร
หรือไม โดยการสรางตารางแสดงคาความจริง
วิธีทํา ………… ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการสรางตารางแจกแจงคาความจริง
p q p∼ p q∨ p q∧∼ ( )p q p∨ ∧ ∼ [( ) ] ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼
T T F T F F T
T F F T F F T
F T T T T T T
F F T F F F T
จะเห็นวาคาความจริงของ
( ) [( ) ( )]p q p r q r→ → ∨ → ∨
เปนจริงทุกกรณีคาความจริงของ p ,q และ r
25
∴ [( ) ] ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼ เปนสัจจนิรันดร
วิธีที่ 2 – ตรวจสอบประพจนที่เปนสัจจนิรันดร โดยการสมมติใหประพจนนั้นมีคาความจริงเปน
เท็จ แลวหาคาความจริงของประพจนยอยที่ประกอบเปนประพจนนั้น วามีขอขัดแยงหรือไม
(ประพจนยอยมีคาความจริงเปน จริงและเท็จ ในเวลาเดียวกัน) ถาประพจนยอยพบขอขัดแยง
แสดงวา ประพจนที่ตองการตรวจสอบสัจจนิรันดรนั้นเปน สัจจนิรันดร แตถาประพจนยอยไมพบ
ขอขัดแยง แสดงวา ประพจนที่ตองการตรวจสอบสัจจนิรันดรนั้น ไมเปนสัจจนิรันดร ดังแผนภาพ
ตอไปนี้
……….ดัง ตัวอยาง เชน
จะเห็นวาคาความจริงของ
[( ) ] ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼
เปนจริงทุกกรณีคาความจริงของ p และ q
ตรวจสอบความเปนสัจจนิรันดร
สมมติใหประพจนนั้นมีคาความจริงเปน เท็จ
หา ขอขัดแยง ของ
ประพจนยอย
เปนสัจจนิรันดร ไมเปนสัจจนิรันดร
มี
ไมมี
26
1. จงตรวจสอบประพจน [( ) ] ( )x y x x y∧ ∧ → →∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดร
หรือไม
วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง
[( ) ] ( )x y x x y∧ ∧ → →∼ ∼
T F F T F
T
T T
T F
F
∴ [( ) ] ( )x y x x y∧ ∧ → →∼ ∼ เปนสัจจนิรันดร
2. จงตรวจสอบประพจน [( ) ] ( )x y x x y∧ → → →∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดร
หรือไม
วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง
[( ) ] ( )x y x x y∧ → → →∼ ∼
T F T T F
T
T F
T F
F
∴ [( ) ] ( )x y x x y∧ → → →∼ ∼ เปนสัจจนิรันดร
ขอขัดแยง
T F T→ =
27
3. จงตรวจสอบประพจน [( )] ( )p q p q∨ → →∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดร
หรือไม
วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง
[( )] ( )p q p q∨ → →∼ ∼
T F T F
F T
T F
F
……ไมพบขอขัดแยง แสดงวาประพจน [( )] ( )p q p q∨ → →∼ ∼ เปน เท็จ ได
∴ [( )] ( )p q p q∨ → →∼ ∼ ไมเปนสัจจนิรันดร
4. จงตรวจสอบประพจน [( ) ]p q q p→ ∧ →∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดรหรือไม
วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง
[( ) ]p q q p→ ∧ →∼ ∼
T F F T
T T
T F
F
∴ [( ) ]p q q p→ ∧ →∼ ∼ เปนสัจจนิรันดร
ขอขัดแยง
T F T→ =
28
5. จงตรวจสอบประพจน [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → วา
เปนสัจจนิรันดรหรือไม
วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง
[( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ →
T F T F T T F
T T T
T F
F
…………….กรณีที่ 1 พบขอขัดแยง
[( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ →
F F T F F T F
T F F
F T
F
…………….กรณีที่ 2.1 ไมพบขอขัดแยง
ขอขัดแยง
T F T→ =
กรณีที่ 1
กรณีที่ 2
กรณีที่ 2.1
29
[( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ →
T F F F T F F
F T F
F T
F
…………….กรณีที่ 2.2 ไมพบขอขัดแยง
……….สรุปวาประพจน [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → เปน
เท็จ ไดจากกรณีที่ 2.1 และ 2.2 คือ p-F , q-T และ r-F หรือ p-T , q-F และ r-F
∴ [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → ไมเปนสัจจนิรันดร
6. จงตรวจสอบประพจน [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ ∨ → ∧ →∼ วาเปนสัจจ
นิรันดรหรือไม
วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง
[ ( )] [( ) ]p q r p q r→ ∨ → ∧ →∼
T F F T F F
T
F T
T F
F
กรณีที่ 2
กรณีที่ 2.2
ขอขัดแยง
T F T→ =
30
∴ [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ ∨ → ∧ →∼ เปนสัจจนิรันดร
แบบฝกหัด
1. จงตรวจสอบวา ขอความ A และ B ในขอตอไปนี้สมมูลกันหรือไม
1) A : ถาอองดื่มนมแลวอองจะแข็งแรง
B : อองไมดื่มนมหรืออองแข็งแรง
2) A : ถาฝนตกแลวน้ําทวมกรุงเทพฯ
B : ถาน้ําไมทวมกรุงเทพฯแลวฝนไมตก
3) A : ไมเปนความจริงที่วา 2 หาร 2 และ 5 ลงตัว
B : 2 หาร 2 และ 5 ไมลงตัว
31
4) A : หนิงเปนนักแสดงหรือนักรอง
B : ถาหนิงเปนนักรองแลวหนิงตองเปนนักแสดง
5) A : ถา a เปนจํานวนเต็ม และ
2
a เปนจํานวนคูแลว a เปนจํานวนคูดวย
B : ถา a เปนจํานวนเต็ม และ a เปนจํานวนคี่แลว
2
a เปนจํานวนคี่
2. จงหานิเสธของขอความตอไปนี้
1) ฝนตกหรือแดดออก
2) ถา 2+3=5 แลว 2
2 4=
3) p q∧∼
4) ( )p q r∧ ∨∼
32
5) p q↔∼
6) ( ) ( )p q p q∧ → ∨∼
3. จงตรวจสอบวาประพจนในแตละขอตอไปนี้สมมูลกันหรือไม โดยใชตารางคาความจริง
1) ( )p p q∨ ∧∼ กับ p q∨
2) ( )p q p→ →∼ กับ p q∨ ∼
33
3) ( )p q r→ → กับ ( )q p r→ →
4) ( )p q r→ →∼ กับ ( )r p q→ ∨∼
34
5) [ ( )] [( ) ( )]p q q q r p p∧ ∨ → ∨ ∨ ∧∼ ∼ กับ( )q r p∨ →∼ ∼ ∼
4. จงพิจารณาวาประโยคตอไปนี้เปนจริงหรือไม
1) ( ( )) ( )p q r p p q r→ → ∨ ≡ ∨ ∨∼ ∼
2) ( ) ( )p q p p p q→ → ≡ ∨ ∧∼ ∼ ∼ ∼
35
3) ( ) ( )p q p p p q→ → ≡ ∨ ∧∼ ∼ ∼ ∼
4) [ ( ( )) ( )] [( ) ]p q r q p r q∨ ∨ → ≡ ∧ →∼ ∼ ∼ ∼ ∼
5) ( ) ( ) ( )p q q r r q q p→ ∨ → ∨ → ≡ →
36
6) ( ) ( ) ( ) ( )p r r p r p p r↔ ∧ → ≡ ∨ ∧ ∨∼ ∼
7) ( ) ( ) ( )p q r p p q r∨ ∧ ∧ ≡ ∨ ∧∼ ∼ ∼
5. จงตรวจสอบวาประพจนตอไปนี้เปนสัจจนิรันดรหรือไม
1) ( ) ( )p q p q∧ → ∨
37
2) ( ) ( )p q q p→ ∨ →∼ ∼
3) ( ) ( )p q p q∨ ∨ ↔∼ ∼
4) [ ( )]p p q q∧ → →
38
5) [( ) ]p q q p→ ∧ →∼ ∼
6) [ ( )]p p q q∧ ∨ →∼
7) [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ ∨ → ∧ →∼
39
8) [ ( )] [ ( )]p q r q p r→ ∨ ∨ ↔ ∧
9) [ ( )] [ ( )]p q r q r p→ → ↔ → →
40
10) [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ → → → →
11) [( ) ( )] ( )p q q r p r→ ∧ → → →
12) [( ) ( )] ( )p q p r q r r∨ ∧ → ∧ → →
41
13) ( ) ( ) ( )p q p q p q→ ↔ ∧ ∨ ∧∼ ∼
14) [( ) ( ) ( )]p q p r q r r∨ ∧ → ∧ → →
42
15) [ ( )] [( ) ]p r s r s p→ → ↔ → →∼ ∼
5.ประโยคเปด
ประโยคที่ประกอบไปดวยตัวแปรที่ไมทราบคาอยางนอย 1 ตัว
ทําใหไมสามารถบอกคาความจริงของประโยคนั้นไดวาเปน จริง หรือ เท็จ
ตัวอยาง เชน
1. x+3 < 5 เปนประโยคเปด เพราะ ไมสามารถบอกไดวา ประโยคดังกลาวเปน จริง หรือ
เท็จ ขึ้นกับวา คา x มีคาเปนอะไร เชน
ถา x = 2 แลว x+3 < 5 มีคาความจริงเปน เท็จ
ถา x = 1 แลว x+3 < 5 มีคาความจริงเปน จริง …………… เปนตน
2. “เขาคนนั้นเปนผูชาย”……ประโยคนี้เปนประโยคเปด เพราะ ไมทราบวา เขาคนนั้น คือ
ใคร ทําใหไมสามารถบอกไดวาประโยคดังกลาวมีคาความจริงเปน จริงหรือ เท็จ
43
6.ตัวบงปริมาณ
ใชรวมกับประโยคเปด แลวทําใหประโยคเปดดังกลาวสามารถระบุคาความจริงไดแนนอนวา
มีคาความจริงเปน จริง หรือ เท็จ ซึ่งก็หมายความวา ประโยคเปดนั้นจะเรียกวาเปน “ประพจน” ได
ตัวบงปริมาณประกอบไปดวย 2 ตัว คือ [ ]For All∀ และ [ ]For Some∃
∀ และ ∃ เปนตัวบงปริมาณที่ใชคูกับตัวแปร เชน ตัวแปร x เราจะเขียนคูกันวา x∀ และ x∃
โดย x∀ ……….มีความหมายวา……. “สําหรับ x ทุกตัว” และ
x∃ ……….มีความหมายวา……. “มี x บางตัว”
นอกจากตัวบงปริมาณ ∀ และ ∃จะตองใชคูกับตัวแปรเชน x เปนตนแลว เราตองกําหนด
ขอบเขตของตัวแปรตองมีคาอยูในเซตที่เรียกวาเอกภพสัมพัทธ เทานั้นดวย ตัวอยาง เชน
1. [ 2 0]x x∀ + = เมื่อ = { 2, 1,0}− − มีความหมายวา
“สําหรับ x ทุกตัวที่อยูในเอกภพสัมพัทธ = { 2, 1,0}− − แลวทําให 2 0x + = ”
ถามวาประพจนดังกลาวมีคาความจริงเปนอะไร? จะเห็นวา x สามารถมีคาไดดังนี้
……กรณี 2x = − ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน จริง [( 2) 2 0]− + =
1x = − ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน เท็จ [( 1) 2 0]− + ≠
0x = ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน เท็จ [0 2 0]+ ≠
……จะเห็นวา จากคา x ที่เปนไปไดทั้งหมด มีคา x=(-1) และ x=0 ที่ทําใหประโยคเปด
2 0x + = มีคาความจริงเปน เท็จ ซึ่งก็หมายความวาคา x ที่เปนไปไดทั้งหมด ไมไดทําให
ประโยคเปด 2 0x + = มีคาความจริงเปน จริง ทั้งหมดทุกกรณีคา x ……..เพราะฉะนั้นจึง
สรุปวาประพจน [ 2 0]x x∀ + = เมื่อ = { 2, 1,0}− − นั้นมีคาความจริงเปน
เท็จ
2. [ 2 0]x x∃ + = เมื่อ = { 2, 1,0}− − มีความหมายวา
“มี x บางตัวที่อยูในเอกภพสัมพัทธ = { 2, 1,0}− − แลวทําให 2 0x + = ”
ถามวาประพจนดังกลาวมีคาความจริงเปนอะไร? จะเห็นวา x สามารถมีคาไดดังนี้
……กรณี 2x = − ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน จริง [( 2) 2 0]− + =
1x = − ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน เท็จ [( 1) 2 0]− + ≠
0x = ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน เท็จ [0 2 0]+ ≠
……จะเห็นวา ถาคา x = (-2) แลวจะทําใหประโยคเปด 2 0x + = มีคาความจริงเปน
จริง ซึ่งก็หมายความวา มีคา x ซึ่งอยูในเอกภพสัมพัทธ ที่ทําให 2 0x + = จริง……..
เพราะฉะนั้นจึงสรุปวาประพจน [ 2 0]x x∃ + = เมื่อ = { 2, 1,0}− − นั้นมีคา
ความจริงเปน จริง
44
7.คาความจริงของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ
7.1 คาความจริงของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 1 ตัว
ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 1 ตัว คือ ประพจนที่มีประโยคเปด ประกอบไปดวยตัวแปรแค 1
ตัวแปร เชน ตัวแปร x เปนตน ตัวอยาง เชน
[ ( )]
[ ( )]
x P x
x P x
∀
∃
……สามารถเขียนแผนภาพกระบวนการหาคาความจริงของประพจน [ ( )]x P x∀ ไดดังนี้
= {.......}
…และสามารถเขียนแผนภาพกระบวนการหาคาความจริงของประพจน [ ( )]x P x∃ ไดดังนี้
เมื่อ P(x) แทนประโยคเปดที่มีตัวแปร 1 ตัว คือ x
ตรวจสอบคาความจริงของ
[ ( )]x P x∀
มีคา x ในเอกภพสัมพัทธที่
ทําให P(x)
[ ( )]x P x∀ มีคาความจริงเปน เท็จ [ ( )]x P x∀ มีคาความจริงเปน จริง
พิจารณาคา x ใน
เอกภพสัมพัทธ
เท็จ
จริง
ครบ
ยังไมครบ
45
= {.....}
ตัวอยาง เชน
1. กําหนดให = { | (0,2)}x x∈ จงหาวา
2
[ 2 0]x x x∀ − < มีคา
ความจริงเปน จริงหรือเท็จ
วิธีทํา 1) หาเซตคําตอบของ…….…
2
2 0
( 2) 0
x x
x x
− <
− <
(0,2)x∴ ∈
2) พิจารณาคาความจริงของ
2
[ 2 0]x x x∀ − < เมื่อ = { | (0,2)}x x∈
……..จะเห็นวา เมื่อแทนคา (0,2)x∈ ทุกๆคา ทําใหประโยคเปด 2
2 0x x− < มี
คาความจริงเปน จริง เพราะวาเซตคําตอบของอสมการ 2
2 0x x− < ก็คือ (0,2)x∈
นั่นเอง
ตรวจสอบคาความจริงของ
[ ( )]x P x∃
มีคา x ในเอกภพสัมพัทธที่
ทําให P(x)
[ ( )]x P x∃ มีคาความจริงเปน จริง [ ( )]x P x∃ มีคาความจริงเปน เท็จ
พิจารณาคา x ใน
เอกภพสัมพัทธ
จริง
เท็จ
ครบ
ยังไมครบ
0 2
+ − +
46
∴ประพจน
2
[ 2 0]x x x∀ − < เมื่อ (0,2)= มีคาความจริงเปน จริง
2. กําหนดให = { | 1 2}x R x∈ − ≤ จงหาคาความจริงของ
2
[ 3 6]x x∀ − <
วิธีทํา 1) หาเซต แบบแจกแจงสมาชิก ซึ่งก็คือหาเซตคําตอบของ
1 2
2 1 2
2 1 2 1
1 3
x
x
x
x
− ≤
− ≤ − ≤
− + ≤ ≤ +
− ≤ ≤
…….ซึ่งก็คือไดเซต [ ]1,3= −
2) หาคาความจริงของ
2
[ 3 6]x x∀ − < เมื่อ [ ]1,3= − โดยเริ่มจากการหาเซต
คําตอบของอสมการ
2
2
3 6
9 0
( 3)( 3) 0
x
x
x x
− <
− <
− + <
( 3,3)x∴ ∈ −
พิจารณาคา x ที่อยุในเอกภพสัมพัทธ ซึ่งก็คือที่ [ ]1,3x∈ − สามารถหาคา x ที่ทําใหอสมการ
2
3 6x − < มีคาความจริงเปน เท็จ ได………ซึ่งก็คือที่ x=3 เมื่อแทนคา x ลงในอสมการ
2
3 6x − < แลว ทําใหอสมการเปน เท็จ เพราะ 3 ( 3,3)∉ − หรือสามารถเขียนเปน
แผนภาพไดดังนี้
-3 3
+ − +
47
เมื่อ [ ]1,3= −
3. กําหนดให U R= จงหาคาความจริงของ
2
[ 3 2 0]x x x∃ − + =
วิธีทํา 1) พิจารณาคาความจริงของ
2
[ 3 2 0]x x x∃ − + = เมื่อ U R= โดยหาเซต
คําตอบของสมการ ……………….
2
3 2 0x x− + =
( 2)( 1) 0
2,1
x x
x
− − =
=
2) มีคา x ที่ x=1,2 ซึ่ง x U∈ …….ทําใหสมการ 2
3 2 0x x− + = เปน จริง
∴ประพจน
2
[ 3 2 0]x x x∃ − + = เมื่อ U R= มีคาความจริงเปน จริง
7.2 คาความจริงของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 2 ตัว
ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 2 ตัว คือ ประพจนที่มีประโยคเปด ประกอบไปดวยตัวแปรจํานวน
2 ตัวแปร เชน ตัวแปร x และ y เปนตน แยกเปนรูปแบบไดดังนี้
[ ( , )]
[ ( , )]
[ ( , )]
[ ( , )]
x y P x y
x y P x y
x y P x y
x y P x y
∀ ∀
∃ ∃
∀ ∃
∃ ∀
ตรวจสอบคาความจริงของ
2
[ 3 6]x x∀ − <
มีคา x U∈ ที่ทําใหอสมการ
2
3 6x − < เปน เท็จ
คาความจริงของ
2
[ 3 6]x x∀ − < เปน เท็จ
3x =
เมื่อ P(x,y) แทนประโยคเปดที่มีตัวแปร 2 ตัว คือ x และ y
48
ตัวอยาง เชน
1.
2 2
[ 1]x y x y∀ ∀ + = เมื่อ U R= สามารถตีความหมายของประพจนที่มีตัวบง
ปริมาณดังกลาวไดดังนี้ คือมีความหมายวา “สําหรับ x และ y ทุกตัวที่เปนจํานวนจริง
แลวจะทําให
2 2
1x y+ = ”……….ซึ่งจะเห็นวา ขอความดังกลาวเปน เท็จ
เพราะวา คา x และ y ที่เปนจํานวนจริง ไมจําเปนที่ กําลังสองบวกกันแลวตองเทากับ 1
เชน ถา x=1 และ y=1 เมื่อแทนคาลงในสมการ
2 2
1x y+ = จะใหคาเปน เท็จ
2 2
[1 1 1]+ ≠
สรุปวาประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 2 ตัว สามารถเขียนแผนภาพการหาคาความจริงไดแยกเปนกรณี
ดังนี้
กรณี 1 [ ( , )]x y P x y∀ ∀
ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( , )]x y P x y∀ ∀
มีคา x และ y อยางนอย 1 คูในเอก-
ภพสัมพัทธที่ทําให P(x,y) เปน เท็จ
มี
ไมมี
[ ( , )]x y P x y∀ ∀ เปน เท็จ [ ( , )]x y P x y∀ ∀ เปน จริง
49
กรณี 2 [ ( , )]x y P x y∃ ∃
กรณี 3 [ ( , )]x y P x y∀ ∃
ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( , )]x y P x y∃ ∃
มีคา x และ y อยางนอย 1 คูในเอก-
ภพสัมพัทธที่ทําให P(x,y) เปน จริง
มี
ไมมี
[ ( , )]x y P x y∃ ∃ เปน จริง [ ( , )]x y P x y∃ ∃ เปน เท็จ
ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( , )]x y P x y∀ ∃
ทุกๆคา x ใน U จะมีคา y อยางนอย 1
คาใน U ที่ทําให P(x,y) เปน จริง
หาได
หาไมได
[ ( , )]x y P x y∀ ∃ เปน จริง [ ( , )]x y P x y∀ ∃ เปน จริง
50
กรณี 4 [ ( , )]x y P x y∃ ∀
2. ถา { 1, 2, 3}U = − − − แลวประพจน
2
[( ) ( )]x y x y x y∀ ∃ ≤ ∧ > มีคา
ความจริงเปนอะไร
วิธีทํา 1) ตีความหมายของประพจน
2
[( ) ( )]x y x y x y∀ ∃ ≤ ∧ > ……ไดคือ
“สําหรับคา x ทุกคา จะมีคา y ที่ทําให x y≤ และ
2
x y> ” …..แปลความไดวา
1. ถา x=-1 ก็สามารถหาคา { 1, 2 3}y ∈ − − − ไดอยางนอย 1 คา ที่ทําให
1y ≥ − และ
2
( 1)y < −
2. ถา x=-2 ก็สามารถหาคา { 1, 2 3}y ∈ − − − ไดอยางนอย 1 คา ที่ทําให
2y ≥ − และ
2
( 2)y < −
3. ถา x=-3 ก็สามารถหาคา { 1, 2 3}y ∈ − − − ไดอยางนอย 1 คา ที่ทําให
3y ≥ − และ
2
( 3)y < −
2) จากขอ 1) กรณี x=-1 สามารถหาคา y=-1 ซึ่งจะทําให 1y ≥ − และ
2
( 1)y < −
[ 1 1− ≥ − และ 1 1− < ]
กรณี x=-2 สามารถหาคา y=-1 ซึ่งจะทําให 2y ≥ − และ
2
( 2)y < −
[ 1 2− ≥ − และ 1 4− < ]
ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( , )]x y P x y∃ ∀
มีคา x อยางนอย 1 คา สําหรับคา y ทุก
คาใน U ที่ทําให P(x,y) เปน จริง
มี
ไมมี
[ ( , )]x y P x y∃ ∀ เปน จริง [ ( , )]x y P x y∃ ∀ เปน เท็จ
51
กรณี x=-3 สามารถหาคา y=-1 ซึ่งจะทําให 3y ≥ − และ
2
( 3)y < −
[ 1 3− ≥ − และ 1 9− < ]
3) สามารถสรุปไดวา
2
[( ) ( )]x y x y x y∀ ∃ ≤ ∧ > เมื่อ { 1, 2, 3}U = − − − มีคา
ความจริงเปน จริง
3. จงหาคาความจริงของ [ 5]x y x y∀ ∃ + > เมื่อ {2,3,4}U =
วิธีทํา
1) [ 5]x y x y∀ ∃ + > ……หมายความวา “สําหรับทุกคา x จะมี y ซึ่งทําให
5x y+ >
2)
3) [ 5]x y x y∀ ∃ + > เมื่อ {2,3,4}U = มีคาความจริงเปน จริง
4. จงหาคาความจริงของ [ ]x y x y y∃ ∀ + = เมื่อ {0,1,2}U =
วิธีทํา
1) [ ]x y x y y∃ ∀ + = ……หมายความวา “จะมีคา x อยางนอย 1 คา สําหรับทุกๆ
คา y ซึ่งทําให 5x y+ > ”
2)
2x =
3x =
4x =
4y =
3y =
2y =
5.......x y T+ >
0x =
0y =
1y =
2y =
.......x y y T+ =
52
3) [ ]x y x y y∃ ∀ + = เมื่อ {0,1,2}U = มีคาความจริงเปน จริง
5. จงหาคาความจริงของ
2 2
[ ]x y x x y y∃ ∀ + = + เมื่อ { 1,0,1}U = −
วิธีทํา
1)
2 2
[ ]x y x x y y∃ ∀ + = + ……หมายความวา “จะมีคา x อยางนอย 1 คา
สําหรับทุกๆคา y ซึ่งทําให
2 2
x x y y+ = + ”
2)
3)
2 2
[ ]x y x x y y∃ ∀ + = + เมื่อ { 1,0,1}U = − มีคาความจริงเปน เท็จ
6. จงหาคาความจริงของ [5 7 1]x y x y∃ ∃ + = เมื่อ U I=
วิธีทํา
1) [5 7 1]x y x y∃ ∃ + = ……หมายความวา “จะมีคา x และ y อยางนอย 1 คู ที่ทํา
ให 5 7 1x y+ = ”
2)
3) [5 7 1]x y x y∃ ∃ + = เมื่อ U I= มีคาความจริงเปน จริง
?x = 0y =
1y =
2 2
.......x x y y T+ = +
1y = −
หาคา x ที่มีคุณสมบัตินี้ ไมได
3x = 2y = − 5 7 1.......x y T+ =
53
8.นิเสธของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ
8.1 นิเสธของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 1 ตัว
นิเสธของประพจน [ ( )]x P x∃ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( )]x P x∃∼
[ ( )] [ ( )]x P x x P x∃ ≡ ∀∼ ∼
นิเสธของประพจน [ ( )]x P x∀ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( )]x P x∀∼
[ ( )] [ ( )]x P x x P x∀ ≡ ∃∼ ∼
8.2 นิเสธของประพจนที่มีตัวบงปริมาณมากกวา 1 ตัว
ตัวอยาง เชน
นิเสธของประพจน [ ( , )]x y P x y∃ ∃ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( , )]x y P x y∃ ∃∼
นิเสธของประพจน [ ( , )]x y P x y∀ ∀ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( , )]x y P x y∀ ∀∼
นิเสธของประพจน [ ( , )]x y P x y∃ ∀ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( , )]x y P x y∃ ∀∼
นิเสธของประพจน [ ( , )]x y P x y∀ ∃ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( , )]x y P x y∀ ∃∼
[ ( , )] [ ( , )]
[ ( , )] [ ( , )]
[ ( , )] [ ( , )]
[ ( , )] [ ( , )]
x y P x y x y P x y
x y P x y x y P x y
x y P x y x y P x y
x y P x y x y P x y
∃ ∃ ≡ ∀ ∀
∀ ∀ ≡ ∃ ∃
∃ ∀ ≡ ∀ ∃
∀ ∃ ≡ ∃ ∀
∼ ∼
∼ ∼
∼ ∼
∼ ∼
สรุปคือการเปลี่ยนนิเสธของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ สามารถกระทําไดดังนี้
1) เปลี่ยนตัวบงปริมาณเปนตรงกันขาม x x∀ → ∃ และ x x∃ → ∀
2) ใสนิเสธไปที่ประโยคเปดเชน ( ) ( )P x P x→∼ เปนตน
54
......[ ( , , ,...)]x y z P x y z∀ ∃ ∀∼
......[ ( , , ,...)]x y z P x y z∃ ∀ ∃ ∼
ตัวอยาง เชน
1. นิเสธของประโยค “คนทุกคนรักพอและแม” มีความหมายตรงกับประโยคใด
1.1) คนบางคนรักพอและแม
1.2) คนบางคนไมรักพอและไมรักแม
1.3) คนบางคนไมรักพอแตรักแม
1.4) คนบางคนไมรักพอหรือไมรักแม
วิธีทํา
1) แทนประโยค “คนทุกคนรักพอและแม” ใหเปนภาษาสัญลักษณดังนี้
ให…………….P(x) แทนประโยคเปด………….x รักพอ
และ……………Q(x) แทนประโยคเปด…………x รักแม
เพราะฉะนั้นประโยค “คนทุกคนรักพอและแม” แทนดวยประพจนที่มีตัวบงปริมาณดังนี้
[ ( ) ( )]x P x Q x∀ ∧
2) หานิเสธของประพจน [ ( ) ( )]x P x Q x∀ ∧ คือ [ ( ) ( )]x P x Q x∀ ∧∼ ซึ่งก็
คือ
[ ( ) ( )]
[ ( ( ) ( ))]
[ ( ) ( )]
x P x Q x
x P x Q x
x P x Q x
∀ ∧
≡ ∃ ∧
≡ ∃ ∨
∼
∼
∼ ∼
ซึ่งประพจน [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∨∼ ∼ ตีความไดวา “คนบางคนไมรักพอหรือไมรักแม”
ตอบ ขอ 1.4)
2. จงหานิเสธของขอความ
2
[( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥
วิธีทํา
55
1) นิเสธของ
2
[( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥ คือ
2
[( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥∼ ซึ่งสามารถหาไดดังนี้
2
2
2
2
[( 2 2) ( sin )]
[ (( 2 2) ( sin ))]
[( ( 2 2) ( sin )]
[( 2 2) ( sin )]
x y x x y y x
x y x x y y x
x y x x y y x
x y x x y y x
∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥
≡ ∃ ∀ − ≥ − ∧ ≥
≡ ∃ ∀ − ≥ − ∨ ≥
≡ ∃ ∀ − < − ∨ <
∼
∼
∼ ∼
2) 2 2
[( 2 2) ( sin )] [( ( 2 2) ( sin )]x y x x y y x x y x x y y x∴ ∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥ ≡ ∃ ∀ − ≥ − ∨ ≥∼ ∼ ∼
3. นิเสธของ
2
[( 5) ( 2 4)]x y z x y z y z x∀ ∃ ∃ = + ∨ + > + คือ?
วิธีทํา
1) นิเสธของ
2
[( 5) ( 2 4)]x y z x y z y z x∀ ∃ ∃ = + ∨ + > + คือ
2
[( 5) ( 2 4)]x y z x y z y z x∀ ∃ ∃ = + ∨ + > +∼ ซึ่งสามารถหาไดดังนี้
2
2
2
2
[( 5) ( 2 4)]
[ (( 5) ( 2 4))]
[( ( 5) ( 2 4)]
[( 5) ( 2 4)]
x y z x y z y z x
x y z x y z y z x
x y z x y z y z x
x y z x y z y z x
∀ ∃ ∃ = + ∨ + > +
≡ ∃ ∀ ∀ = + ∨ + > +
≡ ∃ ∀ ∀ = + ∧ + > +
≡ ∃ ∀ ∀ ≠ + ∧ + ≤ +
∼
∼
∼ ∼
2) 2 2
[( 5) ( 2 4)] [( 5) ( 2 4)]x y z x y z y z x x y z x y z y z x∴ ∀ ∃ ∃ = + ∨ + > + ≡ ∃ ∀ ∀ ≠ + ∧ + ≤ +∼
9.การสมมูลกันของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ
มีหลักการพิจารณาเหมือนการพิจารณาการสมมูลกันของประพจน ดังนี้
9.1 การสมมูลกันของประพจนที่มีตัวบงปริมาณชุดเดียว เชน ประพจนดังตอไปนี้
2
2
[ 5]
[( 5) ( 2 4)]
x x
x y z x y z y z x
∀ =
∀ ∀ ∀ = + ∨ + > +
เปนตน
มีหลักการใหการพิจารณาการสมมูลดังนี้
56
[ ( )] [ ( )]
[ ( )] [ ( )]
x P x x Q x
x P x x Q x
∀ ≡ ∀
∃ ≡ ∃
[ ( , )] [ ( , )]
[ ( , )] [ ( , )]
[ ( , )] [ ( , )]
[ ( , )] [ ( , )]
x y P x y x y Q x y
x y P x y x y Q x y
x y P x y x y Q x y
x y P x y x y Q x y
∀ ∀ ≡ ∀ ∀
∃ ∃ ≡ ∃ ∃
∃ ∀ ≡ ∃ ∀
∀ ∃ ≡ ∀ ∃
ตัวอยาง เชน
1. จงพิจารณาวาประพจน
2
[ 2 4]x x x∀ = → = สมมูลกับประพจน
2
[ 4 2]x x x∀ ≠ → ≠ หรือไม
วิธีทํา
1) ประโยค
2 2
[ 2 4] [ 4 2]x x x x x x∀ = → = ≡ ∀ ≠ → ≠ จะเปน จริง
เมื่อ ประโยคเปด
2 2
( 2) ( 4) ( 4) ( 2)x x x x= → = ≡ ≠ → ≠
พิจารณาประโยคเปด
2
2
( 2) ( 4)
( 4) ( 2)....[ ]
x x
x x p q q p
= → =
≡ ≠ → ≠ → ≡ →∼ ∼
2)
2 2
[ 2 4] [ 4 2]x x x x x x∴∀ = → = ≡ ∀ ≠ → ≠ ….จริง
2. จงพิจารณาวาประพจน
2
[ 2 4]x x x∃ = ↔ = สมมูลกับประพจน
2
[ 2 4]x x x∃ ≠ ↔ ≠ หรือไม
วิธีทํา
1) ประโยค
2 2
[ 2 4] [ 2 4]x x x x x x∃ = ↔ = ≡ ∃ ≠ ↔ ≠ จะเปน จริง
เมื่อ ประโยคเปด
2 2
2 4 2 4x x x x= ↔ = ≡ ≠ ↔ ≠
พิจารณาประโยคเปด
2
2
2 4
2 4....[ ]
x x
x x p q p q
= ↔ =
≡ ≠ ↔ ≠ ↔ ≡ ↔∼ ∼
ประพจนทั้งสองจะสมมูลกันเมื่อประโยคเปด ( ) ( )P x Q x≡
ประพจนทั้งสองจะสมมูลกันเมื่อประโยคเปด
( , ) ( , )P x y Q x y≡
57
2)
2 2
[ 2 4] [ 2 4]x x x x x x∃ = ↔ = ≡ ∃ ≠ ↔ ≠ ….จริง
9.2 การสมมูลกันของประพจนที่มีตัวบงปริมาณหลายชุด เชน ประพจนดังตอไปนี้
2
2
[ 4] [ 1 5]
[ 1] [ 4]
[ ( , )] [ ( , )]
x x x x
x x x x
x y P x y x y P x y
∀ = → ∃ + =
∃ > ∧ ∃ =
∀ ∃ ↔ ∃ ∀
เปนตน
มีหลักในการพิจารณาการสมมูลกันตามตัวอยาง เชน
1) ประพจน
2
[ 4] [ 1 5]x x x x∀ = → ∃ + = สมมูลกับประพจน
2
[ 4] [ 1 5]x x x x∃ ≠ ∨ ∃ + = หรือไม
วิธีทํา
1) แทนประพจน
2
[ 4]x x∀ = ……………… ดวย p
แทนประพจน [ 1 5]x x∃ + = …………….. ดวย q
2
[ 4] [ 1 5]x x x x∴∀ = → ∃ + = แทนดวย………….. p q→
p q p q→ ≡ ∨∼
2) ประพจน p q∨∼ คือ
2
[ 4] [ 1 5]x x x x∀ = ∨ ∃ + =∼
2
2
[ ( 4)] [ 1 5]
[ 4] [ 1 5]
x x x x
x x x x
≡ ∃ = ∨ ∃ + =
≡ ∃ ≠ ∨ ∃ + =
∼
3)
2 2
[ 4] [ 1 5] [ 4] [ 1 5]x x x x x x x x∴∀ = → ∃ + = ≡ ∃ ≠ ∨ ∃ + =
…………จริง
2) ประพจน
2
( [ 0] [ 2 ])x x x x x∀ ≥ ∧ ∃ =∼ สมมูลกับประพจน
2
[ 0] [ 2 ]x x x x x∃ < ∨ ∀ = หรือไม
วิธีทํา
1) แทนประพจน [ 0]x x∀ ≥ ……………… ดวย p
แทนประพจน
2
[ 2 ]x x x∃ = …………….. ดวย q
58
2
( [ 0] [ 2 ])x x x x x∴ ∀ ≥ ∧ ∃ =∼ แทนดวย………….. ( )p q∧∼
( )p q p q∧ ≡ ∨∼ ∼ ∼
2) ประพจน p q∨∼ ∼ คือ
2
[ 0] [ 2 ]x x x x x∀ ≥ ∨ ∃ =∼ ∼
2
2
[ ( 0)] [ 2 ]
[ 0] [ 2 ]
x x x x x
x x x x x
≡ ∃ ≥ ∨ ∀ =
≡ ∃ < ∨ ∀ =
∼
3)
2 2
( [ 0] [ 2 ]) [ 0] [ 2 ]x x x x x x x x x x∴ ∀ ≥ ∧ ∃ = ≡ ∃ < ∨ ∀ =∼
…………จริง
แบบฝกหัด
1. จงเขียนขอความตอไปนี้ใหอยูในรูปสัญลักษณทางตรรกศาสตรเมี่อเอกภพสัมพัทธคือเซต
ของจํานวนจริง
1.1) สําหรับ x ทุกตัว
2
9 ( 3)( 3)x x x− = − +
1.2) สําหรับ x บางตัว 2
x x>
1.3) สําหรับ x บางตัว ถา 0x ≠ แลว 2
0x >
59
1.4) สําหรับ x ทุกตัว x x= − ก็ตอเมื่อ 0x <
1.5) มี x และ y ซึ่ง
2 2
x y=
1.6) สําหรับ x และ y ทุกตัว ถา 0x < และ 0y < แลว 0xy <
1.7) สําหรับ x ทุกตัว จะมี y บางตัว ซึ่ง xy y=
1.8) มี x บางตัว สําหรับ y ทุกตัว ถา x y> แลว
2 2
x y>
1.9) ไมมีจํานวนจริง x ใดๆที่ทําให 2 3x x+ = +
1.10) จํานวนจริงทุกตัวเปนจํานวนจริง
2. จงเขียนขอความแทนประโยคตอไปนี้
2.1) [ 0 0]x x x∀ ≥ ∨ <
2.2)
1 1
[ 0]x x x
x
−
∀ = ↔ ≠
2.3)
2
[ 25 5]x x x∀ = → =
60
2.4)
2
[ 3]x x I x∃ ∈ ∧ =
2.5)
2 2
[ ]x y x y y x∀ ∃ − = −
2.6) [ 0]x y x y x∃ ∀ > → >
2.7)
2
[ 5]x y x y∃ ∃ = +
2.8) [ ]x y x y y x y∀ ∃ < ↔ − < <
3. กําหนดเอกภพสัมพัทธ U ในแตละขอตอไปนี้ จงหาคาความจริงของประพจนที่มีตัวบง
ปริมาณตอไปนี้
3.1) [ 3 ] , {1,2,3}x x x x U∃ + = =
61
3.2)
2
[ ] , {1,2,3}x x x U∀ = =
3.3)
2
[ 1 0] , {0,1,2,3}x x U∃ − = =
3.4)
2
[ 1 0] , {0,1,2,3}x x U∀ − = =
3.5) [ 2 3] , { 3, 2, 1,0,1,2,3}x x x U∃ + = + = − − −
62
3.6) 2
[ 2 1 0] ,x x x U I∀ + − > =
3.7) 2 2
[ 1 1x x x x∀ − = − → เปนจํานวนคี่] , { 1,0,1}U = −
3.8) [ 0] ,x x U N∃ < =
3.9) [ 0] [ 1 0], { 1,0,1}x x x x U∃ < ∧ ∃ − = = −
63
3.10)
2
[ ] [ 1 ], { 2, 1,0}
1
x x
x x x x x U
x
−
∀ = → ∃ − + = = − −
−
3.11) [8(4 ) 16 ] , [ 10,10)x x
x U∀ ≥ = −
3.12) 2
[2 5 0] , (0,3)x x x U∀ − ≤ =
64
3.13) 6 3
[ 2 1] ,x x x U R∀ − ≥ − =
3.14) 2
4
[log (log ) 1] ,xx
x x U R∃ = − =
4. ชวงในขอใดตอไปนี้ที่เปนเอกภพสัมพัทธที่ทําใหขอความ 2
[ 2 8]x x x∃ − ≤ และ
3
[ 9 0]x x x∀ − ≠ มีคาความจริงเปน จริง
4.1) ( 3, 2)− −
4.2) ( 3,0)−
4.3) (0,4)
4.4) ( 2,3)−
65
5. ให R เปนเซตของจํานวนจริง และเอกภพสัมพัทธ { / 0 1}U x R x= ∈ ≤ ≤ ขอใด
ตอไปนี้มีคาความจริงเปน เท็จ
4.1) 2
[ ]x x x∃ =
4.2) 2
[ ]x x x∀ ≤
4.3)
21 1
[( ) ( )]
2 2
x x x∃ > ∧ >
4.4) 2
[ 2 2 0]x x x∀ − + <
6. จงหาคาความจริงของประพจนดังตอไปนี้
6.1) [ 4] , { 2, 1,0,1,2}x y xy U∀ ∀ < = − −
66
6.2) [ 4] , { 2, 1,0,1,2}x y x y U∀ ∀ + < = − −
6.3) 2 2
[ 4] , { 1,0,1}x y x y U∀ ∀ + ≥ = −
6.4) [ 4] , { 2, 1,0,1,2}x y xy U∀ ∀ < = − −
67
6.5) 2 2
[ 12] , {1,2,3}x y x y U∀ ∃ + < =
6.6)
1 1 1
[ ] , {0,1,2,3, , }
2 3
x y y U
x
∀ ∃ = =
6.7) [ 5 2] , {0,1,2}x y x y U∃ ∃ + = + =
68
6.8)
2 2
[( ) ( )] ,x y x y x y U R∀ ∀ < → < =
7. จงหานิเสธของประโยคตอไปนี้
7.1) [2 0]x
x∀ >
7.2) 2
[ 0 0]x x x∀ > → >
7.3) 2
[ 0] [ 0]x x x x∀ > → ∀ >
7.4) 2
[( 1 1) 4]x x x x∃ = ∨ = − → =
7.5) [ 0] [ 0]x x x x∃ ≠ ∨ ∀ ≠
69
7.6) ( [ ( )] [ ( )]) [ ( )]x P x x Q x x P x∀ ∧ ∃ → ∀
7.7) [ 2 ]x y x y x∀ ∀ + =
7.8) [ ]x y x y xy∀ ∃ + ≠
7.9) [ ] [ ]x y xy yx x y xy y∀ ∀ = ∧ ∃ ∃ =
7.10) [ 5] [ ]x y x y x y x y∃ ∃ + > → ∀ ∀ >
7.11) ฝนตกหนักยอมทําใหบางจังหวัดน้ําทวม
7.12) คนทุกคนทํางานหนักหรือคนบางคนพูดไมได
70
8. จงตรวจสอบวาประโยคแตละคูตอไปนี้สมมูลกันหรือไม
8.1) 2
[ 0]x x∀ ≥∼ กับ 2
[ 0]x x∀ <
8.2) 2
[ 0]x x x x∀ = → ≥ กับ 2
[ 0]x x x x∃ = ∧ <∼
8.3) 2
[ 2 8]x x x∃ = ↔ = กับ 3 3
[( 2 8) ( 8 2)]x x x x x∃ = → = ∧ = → =
8.4) [ ( 2 5)]x x I x∀ ∈ ∧ + = กับ [( 2 5) ]x x x I∀ + = ∧ ∈
71
8.5) [ 1 2 3]x x x∃ ≤ → + ≠ กับ [ 2 3 1]x x x∃ + = → >
8.6) 2
[ 0 0]x x x∃ ≥ ∨ ≥ กับ 2
[ 0 0]x x x∀ ≥ → ≥∼
8.7) 2 2
[( ) ( )]x y x y x y∃ ∃ ≥ → ≥ กับ 2 2
[( ) ( )]x y x y x y∃ ∃ < ∨ ≥
72
8.8) 2
[( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥∼ กับ
2
[( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∃ ∀ − < − ∨ <
73
10.การอางเหตุผล
เหตุผล ประกอบไปดวยขอความซึ่งเรียกวา “เหตุ” และ ขอความซึ่งเรียกวา “ผล”
ถาการอางเหตุผล เปนไปในกรณีที่เหตุนําไปสูผลที่เปนจริง เราเรียกการอางเหตุผลนั้นวา
“สมเหตุสมผล”
ถาการอางเหตุผล เปนไปในกรณีที่เหตุนําไปสูผลที่ไมเปนจริง เราเรียกการอางเหตุผลนั้น
วา “ไมสมเหตุสมผล”
การอางเหตุผล มีรูปแบบดังตัวอยาง เชน
เหตุ : 1. A
2. B
3. C
ผล : D
การอางเหตุผลขางตนจะ สมเหตุสมผล ก็ตอเมื่อ “เหตุ A , B และ C นําไปสูผลที่เปน D จริง”
คือ มีความหมายวา “ถาเกิดเหตุการณ A และ B และ C แลว ตองเกิดเหตุการณ D จริง”
สามารถเขียนเปนประพจนไดดังนี้
( )A B C D∧ ∧ →
ถาเราสามารถพิสูจนไดวาประพจน ( )A B C D∧ ∧ → มีคาความจริงเปน จริง เสมอ หรือ
วาเปน สัจจนิรันดร เราสามารถกลาวอางไดวา การอางเหตุผลนี้ “สมเหตุสมผล” แตถาประพจน
( )A B C D∧ ∧ → ไมเปนสัจจนิรันดร การอางเหตุผลนี้ “ไมสมเหตุสมผล”
ตัวอยาง เชน
1. จงพิจารณาวาการกลาวอางเหตุผลตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม
74
เหตุ : 1) p q→
2) r p∨
3) q∼
ผล : r p→∼
วิธีทํา
1) จากการกลาวอางเหตุผล แปลงเปน ประพจน
[( ) ( ) ( )] ( )p q r p q r p→ ∧ ∨ ∧ → →∼ ∼
2) พิสูจนประพจนดังกลาววาเปน สัจจนิรันดร หรือไม
[( ) ( ) ( )] ( )p q r p q r p→ ∧ ∨ ∧ → →∼ ∼
T F T T F T T
F
T T T F
F
พบขอขัดแยง แสดงวา ประพจน [( ) ( ) ( )] ( )p q r p q r p→ ∧ ∨ ∧ → →∼ ∼
เปน สัจจนิรันดร
3) การอางเหตุผลดังกลาว สมเหตุสมผล
2. จงพิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้วาสมเหตุสมผลหรือไม
เหตุ : 1) ( )p q s∨ →
2) s r→
3) ( )r q∨∼
ผล : p s→
วิธีทํา
1) จากการกลาวอางเหตุผล แปลงเปน ประพจน
ขอขัดแยง
T F T→ =
75
[ ][( ) ] ( ) [ ( )] ( )p q s s r r q p s∨ → ∧ → ∧ ∨ → →∼
2) พิสูจนประพจนดังกลาววาเปน สัจจนิรันดร หรือไม
[ ][( ) ] ( ) [ ( )] ( )p q s s r r q p s∨ → ∧ → ∧ ∨ → →∼
T F F F F F F T F
T F
T T T F
F
พบขอขัดแยง แสดงวา ประพจน
[ ][( ) ] ( ) [ ( )] ( )p q s s r r q p s∨ → ∧ → ∧ ∨ → →∼ เปน สัจจนิรันดร
3) การอางเหตุผลดังกลาว สมเหตุสมผล
3. จงพิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้วาสมเหตุสมผลหรือไม
เหตุ : 1) ( )p q r→ →∼
2) q
3) r
ผล : p
วิธีทํา
1) จากการกลาวอางเหตุผล แปลงเปน ประพจน
[ ][ ( )]p q r q r p→ → ∧ ∧ →∼
2) พิสูจนประพจนดังกลาววาเปน สัจจนิรันดร หรือไม
ขอขัดแยง
T F T→ =
76
[ ][ ( )]p q r q r p→ → ∧ ∧ →∼
F T T T T F
F
F
T
F
ไมพบขอขัดแยง แสดงวา ประพจน [ ][ ( )]p q r q r p→ → ∧ ∧ →∼ ไมเปน
สัจจนิรันดร
3) การอางเหตุผลดังกลาว ไมสมเหตุสมผล
4. จงพิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้วาสมเหตุสมผลหรือไม
เหตุ : 1) ( )p q r∧ →
2) ( )r s∨∼
3) p
ผล : q∼
วิธีทํา
1) จากการกลาวอางเหตุผล แปลงเปน ประพจน
[ ][( ) ] [ ( )]p q r r s p q∧ → ∧ ∨ ∧ →∼ ∼
2) พิสูจนประพจนดังกลาววาเปน สัจจนิรันดร หรือไม
[ ][( ) ] [ ( )]p q r r s p q∧ → ∧ ∨ ∧ →∼ ∼
T T F F F T T
T F
T T F
F
ขอขัดแยง
T F T→ =
77
พบขอขัดแยง แสดงวา ประพจน [ ][( ) ] [ ( )]p q r r s p q∧ → ∧ ∨ ∧ →∼ ∼
เปน สัจจนิรันดร
3) การอางเหตุผลดังกลาว สมเหตุสมผล
แบบฝกหัด
พิจารณาการกลาวอางเหตุผลตอไปนี้วาสมเหตุสมผลหรือไม
1.
เหตุ : 1) p q∧ ∼
2) q r∨
ผล : p r∧
78
2.
เหตุ : 1) ( )p q r→ →
2) p s∧ ∼
3) r s→
ผล : q∼
3.
เหตุ : 1) p q∨
2) p∼
3) r q→∼
4) s r→
ผล : s∼
79
4.
เหตุ : 1) p q→
2) q r→
3) p
ผล : r s∨
5.
เหตุ : 1) p q→
2) r p→
3) s r→
4) q∼
ผล : s∼
80
6.
เหตุ : 1) q p→∼ ∼
2) r∼
3) q r→
4) p s∨
ผล : s
7.
เหตุ : 1) ถาฝนตกแลวอากาศจะเย็นลง
2) ถาอากาศเย็นลงแลวจะเกิดหมอก
3) ไมเกิดหมอก
ผล : ฝนไมตก
81
8.
เหตุ : 1) ฉันตั้งใจเรียนและฉันขยัน
2) ถาฉันขยันแลวฉันจะสอบไดที่หนึ่ง
3) ถาฉันไมทองหนังสือแลวจะไมสอบไดที่หนึ่ง
ผล : ฉันตองทองหนังสือ
9.
เหตุ : 1) ถา ก ไมเรียนหมอแลว ข จะไมเรียนวิศวะ
2) ข เรียนวิศวะ หรือ ค เรียนบัญชี
3) ค ไมเรียนบัญชี
ผล : ก ไมเรียนหมอ
82
10.
เหตุ : 1) ถาเขาขยันเรียนแลวเขาจะสอบผาน
2) เขาสอบผานหรือเขาเรียนเกง
3) เขาไมขยันเรียน
ผล : เขาเรียนไมเกง

More Related Content

Viewers also liked

เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)Thanuphong Ngoapm
 
โจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิตโจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิตThanuphong Ngoapm
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Thanuphong Ngoapm
 
Kimjiiii
KimjiiiiKimjiiii
KimjiiiiKJ TLL
 

Viewers also liked (10)

เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
Complex number1
Complex number1Complex number1
Complex number1
 
โจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิตโจทย์เรขาคณิต
โจทย์เรขาคณิต
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
Trigonometry1
Trigonometry1Trigonometry1
Trigonometry1
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
Kimjiiii
KimjiiiiKimjiiii
Kimjiiii
 

Similar to Logic

9789740329909
97897403299099789740329909
9789740329909CUPress
 
การสอบย่อย1 ตรรกศาสตร์
การสอบย่อย1  ตรรกศาสตร์การสอบย่อย1  ตรรกศาสตร์
การสอบย่อย1 ตรรกศาสตร์krukanidfkw
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นAon Narinchoti
 

Similar to Logic (10)

9789740329909
97897403299099789740329909
9789740329909
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
การสอบย่อย1 ตรรกศาสตร์
การสอบย่อย1  ตรรกศาสตร์การสอบย่อย1  ตรรกศาสตร์
การสอบย่อย1 ตรรกศาสตร์
 
Logic problem p
Logic problem pLogic problem p
Logic problem p
 
Logic
LogicLogic
Logic
 
Logic
LogicLogic
Logic
 
All m4
All m4All m4
All m4
 
04 การเชื่อมประพจน์
04 การเชื่อมประพจน์04 การเชื่อมประพจน์
04 การเชื่อมประพจน์
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 

More from Thanuphong Ngoapm

เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565Thanuphong Ngoapm
 
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfการประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfThanuphong Ngoapm
 
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์Thanuphong Ngoapm
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfThanuphong Ngoapm
 
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfmath_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfThanuphong Ngoapm
 
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfเฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfThanuphong Ngoapm
 
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfสถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfThanuphong Ngoapm
 
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfการให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfจำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
เซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfเซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfThanuphong Ngoapm
 
analyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfanalyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfThanuphong Ngoapm
 

More from Thanuphong Ngoapm (20)

เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
 
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
 
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfการประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
 
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
 
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfmath_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfเฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
 
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
 
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
 
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
 
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfสถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
 
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfการให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
 
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfจำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
 
เซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfเซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdf
 
analyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfanalyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdf
 
4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf
 

Logic

  • 1. 1 ประพจนตัวเชื่อมของประพจน •หรือ •และ •ถา…..แลว •ก็ตอเมื่อ •นิเสธ การสมมูลกันของประพจนประพจนที่ปนสัจจนิรันดร ประโยคเปดตัวบงปริมาณประพจนที่มีตัวบงปริมาณ •ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 1ตัว •ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 2ตัว นิเสธและการสมมูลกันของ ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ การอางเหตุผล โจทยปญหา
  • 2. 2 ตรรกศาสตรเบื้องตน 1.ประพจน ประโยคบอกเลาหรือปฏิเสธ ที่สามารถบอกคาความจริงเปนจริง(T) หรือเท็จ(F) อยางใดอยางหนึ่งเทานั้น ตัวอยางเชน 1. เดือนเมษายน มี 30 วัน ประโยคดังกลาวเปนประโยคบอกเลาที่สามารถบอกคาความจริงไดวาเปน จริง ∴ประโยคดังกลาวเปนประพจน 2. ในหนึ่งสัปดาหมีทั้งหมด 8 วัน ประโยคดังกลาวเปนประโยคบอกเลาที่สามารถบอกคาความจริงไดวาเปน เท็จ ∴ประโยคดังกลาวเปนประพจน 3. x มีคานอยกวา 3 ประโยคดังกลาวเปนประโยคบอกเลา แตไมสามารถบอกคาความจริงไดวาเปน จริง หรือ เท็จ อยางใดอยางหนึ่ง เพราะขึ้นอยูกับคา x วาจะเปนจํานวนใด เชน ถา x = 2 ประโยคดังกลาวจะมีคาความจริงเปนจริง ถา x = 4 ประโยคดังกลาวจะมีคาความจริงเปนเท็จ ∴ประโยคดังกลาวไมเปนประพจน 4. ขอความกรุณาอยาเดินลัดสนาม ประโยคดังกลาวเปนประโยคขอรอง ไมใชประโยคบอกเลาหรือปฏิเสธ ∴ประโยคดังกลาวไมเปนประพจน
  • 3. 3 5. ประเทศเวียดนามไมไดมีอาณาเขตติดตอกับประเทศไทย ประโยคดังกลาวเปนประโยคปฏิเสธ ทีสามารถบอกคาความจริงไดวาเปน จริง ∴ประโยคดังกลาวเปนประพจน 2.ตัวเชื่อมของประพจน ถามีประพจนยอยตั้งแต 2 ประพจนเปนตนไป เราสามารถเชื่อมประพจนยอยนั้นเปนประพจน เดียวที่สามารถบอกคาความจริงไดวาเปนจริงหรือเท็จ โดยใชตัวเชื่อมประพจน 5 แบบดังนี้ 2.1 หรือ ( )∨ -สามารถยกตัวอยางในกรณีมีประพจนยอย 2 ประพจนคือ p และ q และสราง ตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้ 2.2 และ ( )∧ -สามารถยกตัวอยางในกรณีมีประพจนยอย 2 ประพจนคือ p และ q และสราง ตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้ 2.3 ถา….แลว ( )→ -สามารถยกตัวอยางในกรณีมีประพจนยอย 2 ประพจนคือ p และ q และสรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้ p q p∨ q T T T T F T F T T F F F p q p ∧ q T T T T F F F T F F F F เปนจริงหมดยกเวนกรณี p เปนเท็จ และ q เปน เท็จ เปนจริงกรณีเดียวคือ p เปนจริง และ q เปนจริง
  • 4. 4 2.4 ก็ตอเมื่อ( )↔ -สามารถยกตัวอยางในกรณีมีประพจนยอย 2 ประพจนคือ p และ q และ สรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้ 2.4 นิเสธ( )∼ -สามารถสรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้ p p∼ T F F T ตัวอยางเชน 1) ถาให p,q และ r เปนประพจนที่มีคาความจริงเปน จริง , จริง และ เท็จ ตามลําดับ จงหา คาความจริงของ ( ) ( )p q r p→ ∧ ∨ ∼ วิธีทํา p,q และ r มีคาความจริงดังนี้…………p-T , q-T และ r-F ( ) ( )p q r p→ ∧ ∨ ∼ T T F T F T F F p q p→q T T T T F F F T T F F T p q p ↔ q T T T T F F F T F F F T เปนเท็จกรณีเดียวคือ p เปนจริง และ q เปนเท็จ นอกนั้นเปนจริงหมด เปนจริงกรณี p และ q มีคา ความจริงเหมือนกัน เปนเท็จกรณี p และ q มีคา ความจริงตางกัน คาความจริงจะตรงขามกับ ของเดิม
  • 5. 5 2) ถาให p,q และ r เปนประพจนที่มีคาความจริงเปน จริง , จริง และ จริง ตามลําดับ จงหา คาความจริงของ [( ) ]p q r q∧ → ∨ วิธีทํา p,q และ r มีคาความจริงดังนี้…………p-T , q-T และ r-T [( ) ]p q r q∧ → ∨ T T T T T T T 3) ถาให p,q และ r มีคาความจริงเปน เท็จ , จริง และ เท็จ ตามลําดับ จงหาคาความจริงของ [( ) ] [ ]p q r p r↔ → ∨ → วิธีทํา p,q และ r มีคาความจริงดังนี้…………p-F , q-T และ r-F [( ) ] [ ]p q r p r↔ → ∨ → F T F F F F T T T 4) กําหนดใหคาความจริงของ ( ) ( )p q r s∧ → ∨ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s วิธีทํา ( ) ( )p q r s∧ → ∨ T T F F T F F
  • 6. 6 ∴p,q,r และ s มีคาความจริงดังนี้……. p-T , q-T , r-F และ s-F 5) กําหนดใหคาความจริงของประพจน [ ( )] ( )p q r s∧ ∨ →∼ มีคาความจริงเปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s วิธีทํา [ ( )] ( )p q r s∧ ∨ →∼ T T T F F T F F ∴p,q,r และ s มีคาความจริงดังนี้……. p-T , q-T , r-T และ s-F แบบฝกหัด 1. ขอความตอไปนี้ ขอใดเปนประพจน เพราะเหตุใด 1.1) 5 มากกวา 2 อยูเทาไร 1.2) 0 เปนจํานวนคู 1.3) จํานวนตรรกยะทุกตัวเปนจํานวนเต็ม 1.4) กราฟของสมการ x+y=0 เปนเสนตรง 1.5) โปรดชวยกันประหยัดไฟฟา
  • 7. 7 1.6) จงหาเซตคําตอบของสมการ 2 4 5 0x x+ − = 1.7) (3,4)π ∈ 1.8) 23 เปนจํานวนเฉพาะ 1.9) ไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง 1.10) 2 2 1x y+ = มีกราฟเปนวงกลม 1 หนวย 2. จงเขียนประโยคตอไปนี้ในรูปสัญลักษณ โดยให p แทนประพจนแรก และ q แทนประพจน หลัง 2.1) 6 เปนจํานวนคู และ 3 เปนจํานวนคี่ 2.2) ถาปลาบินไดแลว นกจะเปนสัตวน้ํา 2.3) 2 เทากับ 4 หรือ 5 เทากับ 0 2.4) ถา 7 เปนจํานวนคู แลว 9 เปนจํานวนคี่ 2.5) 2 หาร a ลงตัวก็ตอเมื่อ 2 เปนตัวประกอบของ a
  • 8. 8 3. จงหาวาประพจนตอไปนี้มีคาความจริงเปน จริง หรือ เท็จ 3.1) 1+1=2 และ 1+3=5 3.2) 4 และ 6 เปนสมาชิกของ {2,4} 3.3) ถา 7+8=9 แลว 9+2=4 3.4) อยุธยาเปนเมืองหลวงของไทยในปจจุบันหรือกรุงเทพฯอยูทางภาคใต 3.5) π เปนจํานวนตรรกยะหรือจํานวนอตรรกยะ 3.6) 1+4=9 ก็ตอเมื่อ 4 > -3 3.7) ถา 5 > -6 แลว 2 2 5 ( 6)> − 3.8) แมวเปนสัตวน้ํา แตปลาเปนสัตวปก 3.9) 0 เปนจํานวนคู หรือ 0 เปนจํานวนคี่ 3.10) ถา 3 ไมใชสมาชิกของเซตจํานวนคี่ แลว 3 ไมใชจํานวนคี่ 4. ถา p,q และ r เปนประพจน โดยที่ r มีคาความจริงเปน จริง จงหาคาความจริงของ ประพจนตอไปนี้ 4.1) ( )p q r→ ∨ 4.2) p r∧ ∼
  • 9. 9 4.3) ( )p q r∧ → 4.4) ( )r p q→ ∨∼ ∼ 4.5) ( ) ( )p r q r∨ ↔ ∧∼ ∼ 5. กําหนดคาความจริงของประพจนเชิงประกอบ จงหาคาความจริงของประพจนยอยตอไปนี้ 5.1) ( ) ( )p q r s→ ∧ ∨∼ ∼ เปน จริง จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s 5.2) ( )p q r∧ →∼ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q และ r
  • 10. 10 5.3) ( ) ( )p q p r↔ → ∨∼ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q และ r 5.4) ( ) ( )p q p r→ ∨ ↔ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q และ r 5.5) ( ) ( )p q r s∧ → ↔ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s
  • 11. 11 5.6) ( ) ( )p q r s∨ ↔ →∼ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s 5.7) [( ) ] ( )p q r p s∧ ∧ → ∧ เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ p,q,r และ s 5.8) [( ) ( )]q q r r s∨ ↔ ∨ → เปน เท็จ จงหาคาความจริงของ q,r และ s
  • 12. 12 6. กําหนดให A แทนประพจน ( ) ( )p q r s∧ → → และ B แทนประพจน (( ) )p r s q∨ → → ถาประพจน ( ( ))p q r s→ → ∨ มีคาความจริงเปน เท็จ แลว จงหาคาความจริง ของประพจน A และ B 7. กําหนดให p,q,r,s และ t เปนประพจน ซึ่งประพจน ( )p q r∧ → มีคาความจริง เปน เท็จ ถา A แทนประพจน [ ( )] ( )s t q r p→ → ↔ ∧ จงหาคาความจริง ของประพจน A
  • 13. 13 8. กําหนดใหประพจน ,p p q→ และ ( )p q r→ ∨∼ เปนประพจนที่มีคาความ จริงเปน จริง จงหาคาความจริงของประพจนตอไปนี้ 8.1) ( )q r p∧ →∼ 8.2) ( )r p q→ ∨∼ ∼ 8.3) ( )p q r∧ ∨∼
  • 14. 14 8.4) ( ) ( )p q r∧ ∨∼ ∼ 9. กําหนดให p และ q เปนประพจน ถา [( ) ( )]p q p q→ → ∨ ∼ มีคาความจริง เปน เท็จ แลว จงหาคาความจริงของประพจนตอไปนี้ 9.1) p q∨∼ 9.2) p q∧∼
  • 15. 15 9.3) p q↔ 9.4) p q→∼
  • 16. 16 3.การสมมูลกันของประพจน ประพจน 2 ประพจนจะสมมูลกัน เมื่อเราสรางตารางแสดงคาความจริงแลว มีคาความจริง ออกมาเหมือนกันทุกกรณี เราเขียนสัญลักษณ ≡ แสดงวาประพจน 2 ประพจนสมมูลกัน เชน ( )p q p q→ ≡ ∨∼ หมายความวา ประพจน p q→ สมมูลกับประพจน p q∨∼ และสามารถสรางตารางแสดงคาความจริงของการสมมูลกันของ 2 ประพจนไดดังนี้ p q p q→ p∼ p q∨∼ T T T F T T F F F F F T T T T F F T T T วิธีตรวจสอบวาประพจน 2 ประพจนสมมูลกันหรือไม ทําได 3 วิธี ดังนี้ จะเห็นวาคาความจริงของ p q→ และ p q∨∼ เหมือนกันทุกกรณี
  • 17. 17 วิธีที่ 1 – การสรางตารางแสดงคาความจริงของประพจน 2 ประพจนที่ตองการจะตรวจสอบวา สมมูลกัน คาความจริงตองเหมือนกันทุกกรณี จึงจะสามารถบอกไดวาประพจน 2 ประพจนสมมูล กัน ตัวอยางเชน 1. จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q∧∼ กับ p q∨∼ ∼ สมมูลกันหรือไม วิธีทํา สรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้ p q p∼ q∼ p q∧ ( )p q∧∼ p q∨∼ ∼ T T F F T F F T F F T F T T F T T F F T T F F T T F T T ∴ ( )p q p q∧ ≡ ∨∼ ∼ ∼ วิธีตรวจสอบประพจน 2 ประพจนสมมูลกันหรือไม สรางตารางแสดงคาความจริง การแปลงคาประพจนใหเหมือนกัน การตรวจสอบแบบสัจจนิรันดร จะเห็นวาคาความจริงของ ( )p q∧∼ และ p q∨∼ ∼ เหมือนกันทุกกรณี
  • 18. 18 2. จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q r→ → สมมูลกับ ( )p q r∧ → หรือไม วิธีทํา - สามารถสรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้ จากโจทยมีประพจนยอย 3 ประพจนคือ p,q และ r เพราะฉะนั้นสามารถแยกกรณีความจริงได ทั้งหมด 3 2 8= กรณี ดังนี้ p q r q r→ p q∧ ( )p q r→ → ( )p q r∧ → T T T T T T T T T F F T F F T F T T F T T T F F T F T T F T T T F T T F T F F F T T F F T T F T T F F F T F T T ∴ ( ) ( )p q r p q r→ → ≡ ∧ → 3. จงตรวจสอบวาประพจน p q↔ สมมูลกับ ( ) ( )p q q p→ ∧ → หรือไม วิธีทํา - สามารถสรางตารางแสดงคาความจริงไดดังนี้ p q p q→ q p→ p q↔ ( ) ( )p q q p→ ∧ → T T T T T T T F F T F F F T T F F F F F T T T T จะเห็นวาคาความจริงของ ( )p q r→ → และ ( )p q r∧ → เหมือนกันทุกกรณี
  • 19. 19 ∴ ( ) ( )p q p q q p↔ ≡ → ∧ → วิธีที่ 2 –ตรวจสอบประพจน 2 ประพจน วาสมมูลกันหรือไม โดยวิธีการแปลงคาประพจนให เหมือนกัน ตัวอยาง เชน 1. จากตัวอยางกอนหนานี้ จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q r→ → สมมูลกับ ( )p q r∧ → หรือไม โดยวิธีการแปลงคาประพจนใหเหมือนกัน วิธีทํา ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) p q r p q r p q r p q r p q r p q r → → ≡ → ∨ ≡ ∨ ∨ ≡ ∨ ∨ ≡ ∧ ∨ ≡ ∧ → ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ( )p q r∧ → ∴ ( ) ( )p q r p q r→ → ≡ ∧ → 2. จงตรวจสอบประพจน ( )p q r→ → สมมูลกับ ( )r p q→ ∧∼ ∼ หรือไม วิธีทํา ( ) ( ) ( ) ( ) p q r r p q r p q r p q → → ≡ → → ≡ → ∨ ≡ → ∧ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ( )r p q→ ∧∼ ∼ ∴ ( ) ( )p q r r p q→ → ≡ → ∧∼ ∼ จะเห็นวาคาความจริงของ p q↔ และ ( ) ( )p q q p→ ∧ → เหมือนกันทุกกรณี เหมือนกัน เหมือนกัน
  • 20. 20 3. จงตรวจสอบประพจน p q↔ สมมูลกับ ( ) ( )q p q p→ ∧ ∨∼ ∼ ∼ หรือไม วิธีทํา ( ) ( ) ( ) ( ) p q p q q p q p q p ↔ ≡ → ∧ → ≡ → ∧ ∨∼ ∼ ∼ ( ) ( )q p q p→ ∧ ∨∼ ∼ ∼ ∴ ( ) ( )p q q p q p↔ ≡ → ∧ ∨∼ ∼ ∼ สรุปสูตรพื้นฐานของการแปลงคาประพจนที่ตองนําไปใชบอยๆ 1. p q p q q p→ ≡ ∨ ≡ →∼ ∼ ∼ 2. ( ) ( )p q p q q p↔ ≡ → ∧ → 3. ( )p q p q∧ ≡ ∨∼ ∼ ∼ 4. ( )p q p q∨ ≡ ∧∼ ∼ ∼ 5. ( ) ( ) ( )p q r p q p r∧ ∨ ≡ ∧ ∨ ∧ 6. ( ) ( ) ( )p q r p q p r∨ ∧ ≡ ∨ ∧ ∨ 4. จงตรวจสอบประพจน ( )p q r→ ∨ สมมูลกับ ( ) ( )p q p r→ ∨ → หรือไม วิธีทํา ( ) ( ) p q r p q r p q r → ∨ ≡ ∨ ∨ ≡ ∨ ∨ ∼ ∼ ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) p q p r p q p r p q p r p p q r p q r → ∨ → ≡ ∨ ∨ ∨ ≡ ∨ ∨ ∨ ≡ ∨ ∨ ∨ ≡ ∨ ∨ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ เหมือนกัน เหมือนกัน
  • 21. 21 ∴ ( ) ( ) ( )p q r p q p r→ ∨ ≡ → ∨ → ขอสังเกต – จากตัวอยางที่ผานๆมา การแปลงคาประพจนใหเหมือนกันเปนการแปลงคาจาก ประพจนทาง ซาย ใหเหมือนกับประพจนทาง ขวา แตจากตัวอยางขางบนเปนการแปลงคา ประพจนจาก ทั้งประพจนซายและขวา ใหเหมือนกัน ทั้งคู 5. จงตรวจสอบประพจน ( )p q r∨ → สมมูลกับ ( ) ( )p r q r→ ∧ → หรือไม วิธีทํา ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) p q r p q r p q r p r q r p r q r ∨ → ≡ ∨ ∨ ≡ ∧ ∨ ≡ ∨ ∧ ∨ ≡ → ∧ → ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ( ) ( )p r q r→ ∧ → ∴ ( ) ( ) ( )p q r p r q r∨ → ≡ → ∧ → วิธีที่ 3 –วิธีสัจจนิรันดร ตรวจสอบวาประพจน 2 ประพจน สมมูลกันหรือไม โดยการเชื่อม ประพจนทั้งสองดวยตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ” ( )↔ แลวตรวจสอบวาเปนสัจจนิรันดรหรือไม โดย การตรวจสอบความเปนสัจจนิรันดรของประพจนรวมคือ ประพจนรวมตองมีคาความจริงเปนจริง เสมอ ไมวาประพจนยอยจะมีคาความจริงเปนกรณีใดก็ตาม ตัวอยาง เชน 1. จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q r→ → สมมูลกับประพจน [ ( )]r p q→ ∧∼ ∼ หรือไม โดยวิธีทดสอบแบบสัจจนิรันดร วิธีทํา ทําการตรวจสอบการสมมูลกันของประพจนโดย สรางประพจนรวม [( ) ] [ ( )]p q r r p q→ → ↔ → ∧∼ ∼ (เชื่อมตอประพจน ( )p q r→ → และ [ ( )]r p q→ ∧∼ ∼ ดวยตัวเชื่อม “ก็ตอเมื่อ” ( )↔ ) แลวทดสอบความเปนสัจจนิรันดรของประพจน [( ) ] [ ( )]p q r r p q→ → ↔ → ∧∼ ∼ วามีคาความจริงเปน จริง ทุกกรณีหรือ เสมอหรือไม โดยการสรางตารางแจกแจงแสดงคาความจริงออกมา ตองเปน จริง ทุกกรณี เหมือนกัน
  • 22. 22 p q r q∼ r∼ p q→ p q∧ ∼ ( )p q r→ → ( )r p q→ ∧∼ ∼ [( ) ] [ ( )]p q r r p q→ → ↔ → ∧∼ ∼ T T T F F T F T T T T T F F T T F F F T T F T T F F T T T T T F F T T F T T T T F T T F F T F T T T F T F F T T F F F T F F T T F T F T T T F F F T T T F F F T ∴ ( ) [ ( )]p q r r p q→ → ≡ → ∧∼ ∼ 2. จงตรวจสอบวาประพจน ( )p q∨∼ ∼ สมมูลกับประพจน ( )q p→∼ หรือไม โดยวิธีทดสอบแบบสัจจนิรันดร วิธีทํา ทําการทดสอบวาประพจน ( ) [ ( )]p q q p∨ ↔ →∼ ∼ ∼ จะเห็นวาคาความจริงของ [( ) ] [ ( )]p q r r p q→ → ↔ → ∧∼ ∼ เปนจริงทุกกรณีคาความจริงของ p,q และ r สัจจนิรันดร แสดงวา ( ) [ ( )]p q q p∨ ≡ →∼ ∼ ∼ แสดงวา ( )p q∨∼ ∼ ไมสมมูลกับ ( )q p→∼ใช ไมใช
  • 23. 23 ……………….ทําการสรางตารางแสดงคาความจริง p q q∼ ( )p q∨ ∼ ( )q p→ ( )p q∨∼ ∼ ( )q p→∼ ( ) [ ( )]p q q p∨ ↔ →∼ ∼ ∼ T T F T T F F T T F T T T F F T F T F F F T T T F F T T T F F T ∴ ( ) ( )p q q p∨ ≡ →∼ ∼ ∼ 4.ประพจนที่เปนสัจจนิรันดร ประพจนที่เปนสัจจนิรันดรตองมีคาความจริงของประพจนนั้นเปน จริง ทุกกรณีคาความจริงของ ประพจนยอยที่ประกอบเปนประพจนนั้น การตรวจสอบวาประพจนใดเปนสัจจนิรันดรสามารถ กระทําได 2 วิธี วิธีที่ 1 – การสรางตารางแสดงคาความจริงของประพจนนั้นตองเปน จริง ทุกกรณีของคาความจริง ของประพจนยอยที่ประกอบเปนประพจนนั้น จะเห็นวาคาความจริงของ ( ) [ ( )]p q q p∨ ↔ →∼ ∼ ∼ เปนจริงทุกกรณีคาความจริงของ p และ q การตรวจสอบประพจนวาเปนสัจจนิรันดรหรือไม สรางตารางแสดงคาความจริง การสมมติใหเปน เท็จ แลวหาขอขัดแยง
  • 24. 24 1. จงตรวจสอบประพจน ( ) [( ) ( )]p q p r q r→ → ∨ → ∨ วาเปนสัจจนิ รันดรหรือไม โดยการสรางตารางแสดงคาความจริง วิธีทํา ………… ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการสรางตารางแจกแจงคาความจริง p q r p q→ p r∨ q r∨ ( ) ( )p r q r∨ → ∨ ( ) [( ) ( )]p q p r q r→ → ∨ → ∨ T T T T T T T T T T F T T T T T T F T F T T T T T F F F T F F T F T T T T T T T F T F T F T T T F F T T T T T T F F F T F F T T ∴ ( ) [( ) ( )]p q p r q r→ → ∨ → ∨ เปนสัจจนิรันดร 2. จงตรวจสอบประพจน [( ) ] ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดร หรือไม โดยการสรางตารางแสดงคาความจริง วิธีทํา ………… ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการสรางตารางแจกแจงคาความจริง p q p∼ p q∨ p q∧∼ ( )p q p∨ ∧ ∼ [( ) ] ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼ T T F T F F T T F F T F F T F T T T T T T F F T F F F T จะเห็นวาคาความจริงของ ( ) [( ) ( )]p q p r q r→ → ∨ → ∨ เปนจริงทุกกรณีคาความจริงของ p ,q และ r
  • 25. 25 ∴ [( ) ] ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼ เปนสัจจนิรันดร วิธีที่ 2 – ตรวจสอบประพจนที่เปนสัจจนิรันดร โดยการสมมติใหประพจนนั้นมีคาความจริงเปน เท็จ แลวหาคาความจริงของประพจนยอยที่ประกอบเปนประพจนนั้น วามีขอขัดแยงหรือไม (ประพจนยอยมีคาความจริงเปน จริงและเท็จ ในเวลาเดียวกัน) ถาประพจนยอยพบขอขัดแยง แสดงวา ประพจนที่ตองการตรวจสอบสัจจนิรันดรนั้นเปน สัจจนิรันดร แตถาประพจนยอยไมพบ ขอขัดแยง แสดงวา ประพจนที่ตองการตรวจสอบสัจจนิรันดรนั้น ไมเปนสัจจนิรันดร ดังแผนภาพ ตอไปนี้ ……….ดัง ตัวอยาง เชน จะเห็นวาคาความจริงของ [( ) ] ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼ เปนจริงทุกกรณีคาความจริงของ p และ q ตรวจสอบความเปนสัจจนิรันดร สมมติใหประพจนนั้นมีคาความจริงเปน เท็จ หา ขอขัดแยง ของ ประพจนยอย เปนสัจจนิรันดร ไมเปนสัจจนิรันดร มี ไมมี
  • 26. 26 1. จงตรวจสอบประพจน [( ) ] ( )x y x x y∧ ∧ → →∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดร หรือไม วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง [( ) ] ( )x y x x y∧ ∧ → →∼ ∼ T F F T F T T T T F F ∴ [( ) ] ( )x y x x y∧ ∧ → →∼ ∼ เปนสัจจนิรันดร 2. จงตรวจสอบประพจน [( ) ] ( )x y x x y∧ → → →∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดร หรือไม วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง [( ) ] ( )x y x x y∧ → → →∼ ∼ T F T T F T T F T F F ∴ [( ) ] ( )x y x x y∧ → → →∼ ∼ เปนสัจจนิรันดร ขอขัดแยง T F T→ =
  • 27. 27 3. จงตรวจสอบประพจน [( )] ( )p q p q∨ → →∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดร หรือไม วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง [( )] ( )p q p q∨ → →∼ ∼ T F T F F T T F F ……ไมพบขอขัดแยง แสดงวาประพจน [( )] ( )p q p q∨ → →∼ ∼ เปน เท็จ ได ∴ [( )] ( )p q p q∨ → →∼ ∼ ไมเปนสัจจนิรันดร 4. จงตรวจสอบประพจน [( ) ]p q q p→ ∧ →∼ ∼ วาเปนสัจจนิรันดรหรือไม วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง [( ) ]p q q p→ ∧ →∼ ∼ T F F T T T T F F ∴ [( ) ]p q q p→ ∧ →∼ ∼ เปนสัจจนิรันดร ขอขัดแยง T F T→ =
  • 28. 28 5. จงตรวจสอบประพจน [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → วา เปนสัจจนิรันดรหรือไม วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → T F T F T T F T T T T F F …………….กรณีที่ 1 พบขอขัดแยง [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → F F T F F T F T F F F T F …………….กรณีที่ 2.1 ไมพบขอขัดแยง ขอขัดแยง T F T→ = กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 2.1
  • 29. 29 [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → T F F F T F F F T F F T F …………….กรณีที่ 2.2 ไมพบขอขัดแยง ……….สรุปวาประพจน [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → เปน เท็จ ไดจากกรณีที่ 2.1 และ 2.2 คือ p-F , q-T และ r-F หรือ p-T , q-F และ r-F ∴ [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → ไมเปนสัจจนิรันดร 6. จงตรวจสอบประพจน [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ ∨ → ∧ →∼ วาเปนสัจจ นิรันดรหรือไม วิธีทํา ………….ตรวจสอบความเปน สัจจนิรันดร โดยการหาขอขัดแยง [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ ∨ → ∧ →∼ T F F T F F T F T T F F กรณีที่ 2 กรณีที่ 2.2 ขอขัดแยง T F T→ =
  • 30. 30 ∴ [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ ∨ → ∧ →∼ เปนสัจจนิรันดร แบบฝกหัด 1. จงตรวจสอบวา ขอความ A และ B ในขอตอไปนี้สมมูลกันหรือไม 1) A : ถาอองดื่มนมแลวอองจะแข็งแรง B : อองไมดื่มนมหรืออองแข็งแรง 2) A : ถาฝนตกแลวน้ําทวมกรุงเทพฯ B : ถาน้ําไมทวมกรุงเทพฯแลวฝนไมตก 3) A : ไมเปนความจริงที่วา 2 หาร 2 และ 5 ลงตัว B : 2 หาร 2 และ 5 ไมลงตัว
  • 31. 31 4) A : หนิงเปนนักแสดงหรือนักรอง B : ถาหนิงเปนนักรองแลวหนิงตองเปนนักแสดง 5) A : ถา a เปนจํานวนเต็ม และ 2 a เปนจํานวนคูแลว a เปนจํานวนคูดวย B : ถา a เปนจํานวนเต็ม และ a เปนจํานวนคี่แลว 2 a เปนจํานวนคี่ 2. จงหานิเสธของขอความตอไปนี้ 1) ฝนตกหรือแดดออก 2) ถา 2+3=5 แลว 2 2 4= 3) p q∧∼ 4) ( )p q r∧ ∨∼
  • 32. 32 5) p q↔∼ 6) ( ) ( )p q p q∧ → ∨∼ 3. จงตรวจสอบวาประพจนในแตละขอตอไปนี้สมมูลกันหรือไม โดยใชตารางคาความจริง 1) ( )p p q∨ ∧∼ กับ p q∨ 2) ( )p q p→ →∼ กับ p q∨ ∼
  • 33. 33 3) ( )p q r→ → กับ ( )q p r→ → 4) ( )p q r→ →∼ กับ ( )r p q→ ∨∼
  • 34. 34 5) [ ( )] [( ) ( )]p q q q r p p∧ ∨ → ∨ ∨ ∧∼ ∼ กับ( )q r p∨ →∼ ∼ ∼ 4. จงพิจารณาวาประโยคตอไปนี้เปนจริงหรือไม 1) ( ( )) ( )p q r p p q r→ → ∨ ≡ ∨ ∨∼ ∼ 2) ( ) ( )p q p p p q→ → ≡ ∨ ∧∼ ∼ ∼ ∼
  • 35. 35 3) ( ) ( )p q p p p q→ → ≡ ∨ ∧∼ ∼ ∼ ∼ 4) [ ( ( )) ( )] [( ) ]p q r q p r q∨ ∨ → ≡ ∧ →∼ ∼ ∼ ∼ ∼ 5) ( ) ( ) ( )p q q r r q q p→ ∨ → ∨ → ≡ →
  • 36. 36 6) ( ) ( ) ( ) ( )p r r p r p p r↔ ∧ → ≡ ∨ ∧ ∨∼ ∼ 7) ( ) ( ) ( )p q r p p q r∨ ∧ ∧ ≡ ∨ ∧∼ ∼ ∼ 5. จงตรวจสอบวาประพจนตอไปนี้เปนสัจจนิรันดรหรือไม 1) ( ) ( )p q p q∧ → ∨
  • 37. 37 2) ( ) ( )p q q p→ ∨ →∼ ∼ 3) ( ) ( )p q p q∨ ∨ ↔∼ ∼ 4) [ ( )]p p q q∧ → →
  • 38. 38 5) [( ) ]p q q p→ ∧ →∼ ∼ 6) [ ( )]p p q q∧ ∨ →∼ 7) [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ ∨ → ∧ →∼
  • 39. 39 8) [ ( )] [ ( )]p q r q p r→ ∨ ∨ ↔ ∧ 9) [ ( )] [ ( )]p q r q r p→ → ↔ → →
  • 40. 40 10) [ ( )] [( ) ]p q r p q r→ → → → → 11) [( ) ( )] ( )p q q r p r→ ∧ → → → 12) [( ) ( )] ( )p q p r q r r∨ ∧ → ∧ → →
  • 41. 41 13) ( ) ( ) ( )p q p q p q→ ↔ ∧ ∨ ∧∼ ∼ 14) [( ) ( ) ( )]p q p r q r r∨ ∧ → ∧ → →
  • 42. 42 15) [ ( )] [( ) ]p r s r s p→ → ↔ → →∼ ∼ 5.ประโยคเปด ประโยคที่ประกอบไปดวยตัวแปรที่ไมทราบคาอยางนอย 1 ตัว ทําใหไมสามารถบอกคาความจริงของประโยคนั้นไดวาเปน จริง หรือ เท็จ ตัวอยาง เชน 1. x+3 < 5 เปนประโยคเปด เพราะ ไมสามารถบอกไดวา ประโยคดังกลาวเปน จริง หรือ เท็จ ขึ้นกับวา คา x มีคาเปนอะไร เชน ถา x = 2 แลว x+3 < 5 มีคาความจริงเปน เท็จ ถา x = 1 แลว x+3 < 5 มีคาความจริงเปน จริง …………… เปนตน 2. “เขาคนนั้นเปนผูชาย”……ประโยคนี้เปนประโยคเปด เพราะ ไมทราบวา เขาคนนั้น คือ ใคร ทําใหไมสามารถบอกไดวาประโยคดังกลาวมีคาความจริงเปน จริงหรือ เท็จ
  • 43. 43 6.ตัวบงปริมาณ ใชรวมกับประโยคเปด แลวทําใหประโยคเปดดังกลาวสามารถระบุคาความจริงไดแนนอนวา มีคาความจริงเปน จริง หรือ เท็จ ซึ่งก็หมายความวา ประโยคเปดนั้นจะเรียกวาเปน “ประพจน” ได ตัวบงปริมาณประกอบไปดวย 2 ตัว คือ [ ]For All∀ และ [ ]For Some∃ ∀ และ ∃ เปนตัวบงปริมาณที่ใชคูกับตัวแปร เชน ตัวแปร x เราจะเขียนคูกันวา x∀ และ x∃ โดย x∀ ……….มีความหมายวา……. “สําหรับ x ทุกตัว” และ x∃ ……….มีความหมายวา……. “มี x บางตัว” นอกจากตัวบงปริมาณ ∀ และ ∃จะตองใชคูกับตัวแปรเชน x เปนตนแลว เราตองกําหนด ขอบเขตของตัวแปรตองมีคาอยูในเซตที่เรียกวาเอกภพสัมพัทธ เทานั้นดวย ตัวอยาง เชน 1. [ 2 0]x x∀ + = เมื่อ = { 2, 1,0}− − มีความหมายวา “สําหรับ x ทุกตัวที่อยูในเอกภพสัมพัทธ = { 2, 1,0}− − แลวทําให 2 0x + = ” ถามวาประพจนดังกลาวมีคาความจริงเปนอะไร? จะเห็นวา x สามารถมีคาไดดังนี้ ……กรณี 2x = − ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน จริง [( 2) 2 0]− + = 1x = − ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน เท็จ [( 1) 2 0]− + ≠ 0x = ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน เท็จ [0 2 0]+ ≠ ……จะเห็นวา จากคา x ที่เปนไปไดทั้งหมด มีคา x=(-1) และ x=0 ที่ทําใหประโยคเปด 2 0x + = มีคาความจริงเปน เท็จ ซึ่งก็หมายความวาคา x ที่เปนไปไดทั้งหมด ไมไดทําให ประโยคเปด 2 0x + = มีคาความจริงเปน จริง ทั้งหมดทุกกรณีคา x ……..เพราะฉะนั้นจึง สรุปวาประพจน [ 2 0]x x∀ + = เมื่อ = { 2, 1,0}− − นั้นมีคาความจริงเปน เท็จ 2. [ 2 0]x x∃ + = เมื่อ = { 2, 1,0}− − มีความหมายวา “มี x บางตัวที่อยูในเอกภพสัมพัทธ = { 2, 1,0}− − แลวทําให 2 0x + = ” ถามวาประพจนดังกลาวมีคาความจริงเปนอะไร? จะเห็นวา x สามารถมีคาไดดังนี้ ……กรณี 2x = − ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน จริง [( 2) 2 0]− + = 1x = − ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน เท็จ [( 1) 2 0]− + ≠ 0x = ประโยคเปด 2 0x + = จะมีคาความจริงเปน เท็จ [0 2 0]+ ≠ ……จะเห็นวา ถาคา x = (-2) แลวจะทําใหประโยคเปด 2 0x + = มีคาความจริงเปน จริง ซึ่งก็หมายความวา มีคา x ซึ่งอยูในเอกภพสัมพัทธ ที่ทําให 2 0x + = จริง…….. เพราะฉะนั้นจึงสรุปวาประพจน [ 2 0]x x∃ + = เมื่อ = { 2, 1,0}− − นั้นมีคา ความจริงเปน จริง
  • 44. 44 7.คาความจริงของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 7.1 คาความจริงของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 1 ตัว ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 1 ตัว คือ ประพจนที่มีประโยคเปด ประกอบไปดวยตัวแปรแค 1 ตัวแปร เชน ตัวแปร x เปนตน ตัวอยาง เชน [ ( )] [ ( )] x P x x P x ∀ ∃ ……สามารถเขียนแผนภาพกระบวนการหาคาความจริงของประพจน [ ( )]x P x∀ ไดดังนี้ = {.......} …และสามารถเขียนแผนภาพกระบวนการหาคาความจริงของประพจน [ ( )]x P x∃ ไดดังนี้ เมื่อ P(x) แทนประโยคเปดที่มีตัวแปร 1 ตัว คือ x ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( )]x P x∀ มีคา x ในเอกภพสัมพัทธที่ ทําให P(x) [ ( )]x P x∀ มีคาความจริงเปน เท็จ [ ( )]x P x∀ มีคาความจริงเปน จริง พิจารณาคา x ใน เอกภพสัมพัทธ เท็จ จริง ครบ ยังไมครบ
  • 45. 45 = {.....} ตัวอยาง เชน 1. กําหนดให = { | (0,2)}x x∈ จงหาวา 2 [ 2 0]x x x∀ − < มีคา ความจริงเปน จริงหรือเท็จ วิธีทํา 1) หาเซตคําตอบของ…….… 2 2 0 ( 2) 0 x x x x − < − < (0,2)x∴ ∈ 2) พิจารณาคาความจริงของ 2 [ 2 0]x x x∀ − < เมื่อ = { | (0,2)}x x∈ ……..จะเห็นวา เมื่อแทนคา (0,2)x∈ ทุกๆคา ทําใหประโยคเปด 2 2 0x x− < มี คาความจริงเปน จริง เพราะวาเซตคําตอบของอสมการ 2 2 0x x− < ก็คือ (0,2)x∈ นั่นเอง ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( )]x P x∃ มีคา x ในเอกภพสัมพัทธที่ ทําให P(x) [ ( )]x P x∃ มีคาความจริงเปน จริง [ ( )]x P x∃ มีคาความจริงเปน เท็จ พิจารณาคา x ใน เอกภพสัมพัทธ จริง เท็จ ครบ ยังไมครบ 0 2 + − +
  • 46. 46 ∴ประพจน 2 [ 2 0]x x x∀ − < เมื่อ (0,2)= มีคาความจริงเปน จริง 2. กําหนดให = { | 1 2}x R x∈ − ≤ จงหาคาความจริงของ 2 [ 3 6]x x∀ − < วิธีทํา 1) หาเซต แบบแจกแจงสมาชิก ซึ่งก็คือหาเซตคําตอบของ 1 2 2 1 2 2 1 2 1 1 3 x x x x − ≤ − ≤ − ≤ − + ≤ ≤ + − ≤ ≤ …….ซึ่งก็คือไดเซต [ ]1,3= − 2) หาคาความจริงของ 2 [ 3 6]x x∀ − < เมื่อ [ ]1,3= − โดยเริ่มจากการหาเซต คําตอบของอสมการ 2 2 3 6 9 0 ( 3)( 3) 0 x x x x − < − < − + < ( 3,3)x∴ ∈ − พิจารณาคา x ที่อยุในเอกภพสัมพัทธ ซึ่งก็คือที่ [ ]1,3x∈ − สามารถหาคา x ที่ทําใหอสมการ 2 3 6x − < มีคาความจริงเปน เท็จ ได………ซึ่งก็คือที่ x=3 เมื่อแทนคา x ลงในอสมการ 2 3 6x − < แลว ทําใหอสมการเปน เท็จ เพราะ 3 ( 3,3)∉ − หรือสามารถเขียนเปน แผนภาพไดดังนี้ -3 3 + − +
  • 47. 47 เมื่อ [ ]1,3= − 3. กําหนดให U R= จงหาคาความจริงของ 2 [ 3 2 0]x x x∃ − + = วิธีทํา 1) พิจารณาคาความจริงของ 2 [ 3 2 0]x x x∃ − + = เมื่อ U R= โดยหาเซต คําตอบของสมการ ………………. 2 3 2 0x x− + = ( 2)( 1) 0 2,1 x x x − − = = 2) มีคา x ที่ x=1,2 ซึ่ง x U∈ …….ทําใหสมการ 2 3 2 0x x− + = เปน จริง ∴ประพจน 2 [ 3 2 0]x x x∃ − + = เมื่อ U R= มีคาความจริงเปน จริง 7.2 คาความจริงของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 2 ตัว ประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 2 ตัว คือ ประพจนที่มีประโยคเปด ประกอบไปดวยตัวแปรจํานวน 2 ตัวแปร เชน ตัวแปร x และ y เปนตน แยกเปนรูปแบบไดดังนี้ [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] x y P x y x y P x y x y P x y x y P x y ∀ ∀ ∃ ∃ ∀ ∃ ∃ ∀ ตรวจสอบคาความจริงของ 2 [ 3 6]x x∀ − < มีคา x U∈ ที่ทําใหอสมการ 2 3 6x − < เปน เท็จ คาความจริงของ 2 [ 3 6]x x∀ − < เปน เท็จ 3x = เมื่อ P(x,y) แทนประโยคเปดที่มีตัวแปร 2 ตัว คือ x และ y
  • 48. 48 ตัวอยาง เชน 1. 2 2 [ 1]x y x y∀ ∀ + = เมื่อ U R= สามารถตีความหมายของประพจนที่มีตัวบง ปริมาณดังกลาวไดดังนี้ คือมีความหมายวา “สําหรับ x และ y ทุกตัวที่เปนจํานวนจริง แลวจะทําให 2 2 1x y+ = ”……….ซึ่งจะเห็นวา ขอความดังกลาวเปน เท็จ เพราะวา คา x และ y ที่เปนจํานวนจริง ไมจําเปนที่ กําลังสองบวกกันแลวตองเทากับ 1 เชน ถา x=1 และ y=1 เมื่อแทนคาลงในสมการ 2 2 1x y+ = จะใหคาเปน เท็จ 2 2 [1 1 1]+ ≠ สรุปวาประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 2 ตัว สามารถเขียนแผนภาพการหาคาความจริงไดแยกเปนกรณี ดังนี้ กรณี 1 [ ( , )]x y P x y∀ ∀ ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( , )]x y P x y∀ ∀ มีคา x และ y อยางนอย 1 คูในเอก- ภพสัมพัทธที่ทําให P(x,y) เปน เท็จ มี ไมมี [ ( , )]x y P x y∀ ∀ เปน เท็จ [ ( , )]x y P x y∀ ∀ เปน จริง
  • 49. 49 กรณี 2 [ ( , )]x y P x y∃ ∃ กรณี 3 [ ( , )]x y P x y∀ ∃ ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( , )]x y P x y∃ ∃ มีคา x และ y อยางนอย 1 คูในเอก- ภพสัมพัทธที่ทําให P(x,y) เปน จริง มี ไมมี [ ( , )]x y P x y∃ ∃ เปน จริง [ ( , )]x y P x y∃ ∃ เปน เท็จ ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( , )]x y P x y∀ ∃ ทุกๆคา x ใน U จะมีคา y อยางนอย 1 คาใน U ที่ทําให P(x,y) เปน จริง หาได หาไมได [ ( , )]x y P x y∀ ∃ เปน จริง [ ( , )]x y P x y∀ ∃ เปน จริง
  • 50. 50 กรณี 4 [ ( , )]x y P x y∃ ∀ 2. ถา { 1, 2, 3}U = − − − แลวประพจน 2 [( ) ( )]x y x y x y∀ ∃ ≤ ∧ > มีคา ความจริงเปนอะไร วิธีทํา 1) ตีความหมายของประพจน 2 [( ) ( )]x y x y x y∀ ∃ ≤ ∧ > ……ไดคือ “สําหรับคา x ทุกคา จะมีคา y ที่ทําให x y≤ และ 2 x y> ” …..แปลความไดวา 1. ถา x=-1 ก็สามารถหาคา { 1, 2 3}y ∈ − − − ไดอยางนอย 1 คา ที่ทําให 1y ≥ − และ 2 ( 1)y < − 2. ถา x=-2 ก็สามารถหาคา { 1, 2 3}y ∈ − − − ไดอยางนอย 1 คา ที่ทําให 2y ≥ − และ 2 ( 2)y < − 3. ถา x=-3 ก็สามารถหาคา { 1, 2 3}y ∈ − − − ไดอยางนอย 1 คา ที่ทําให 3y ≥ − และ 2 ( 3)y < − 2) จากขอ 1) กรณี x=-1 สามารถหาคา y=-1 ซึ่งจะทําให 1y ≥ − และ 2 ( 1)y < − [ 1 1− ≥ − และ 1 1− < ] กรณี x=-2 สามารถหาคา y=-1 ซึ่งจะทําให 2y ≥ − และ 2 ( 2)y < − [ 1 2− ≥ − และ 1 4− < ] ตรวจสอบคาความจริงของ [ ( , )]x y P x y∃ ∀ มีคา x อยางนอย 1 คา สําหรับคา y ทุก คาใน U ที่ทําให P(x,y) เปน จริง มี ไมมี [ ( , )]x y P x y∃ ∀ เปน จริง [ ( , )]x y P x y∃ ∀ เปน เท็จ
  • 51. 51 กรณี x=-3 สามารถหาคา y=-1 ซึ่งจะทําให 3y ≥ − และ 2 ( 3)y < − [ 1 3− ≥ − และ 1 9− < ] 3) สามารถสรุปไดวา 2 [( ) ( )]x y x y x y∀ ∃ ≤ ∧ > เมื่อ { 1, 2, 3}U = − − − มีคา ความจริงเปน จริง 3. จงหาคาความจริงของ [ 5]x y x y∀ ∃ + > เมื่อ {2,3,4}U = วิธีทํา 1) [ 5]x y x y∀ ∃ + > ……หมายความวา “สําหรับทุกคา x จะมี y ซึ่งทําให 5x y+ > 2) 3) [ 5]x y x y∀ ∃ + > เมื่อ {2,3,4}U = มีคาความจริงเปน จริง 4. จงหาคาความจริงของ [ ]x y x y y∃ ∀ + = เมื่อ {0,1,2}U = วิธีทํา 1) [ ]x y x y y∃ ∀ + = ……หมายความวา “จะมีคา x อยางนอย 1 คา สําหรับทุกๆ คา y ซึ่งทําให 5x y+ > ” 2) 2x = 3x = 4x = 4y = 3y = 2y = 5.......x y T+ > 0x = 0y = 1y = 2y = .......x y y T+ =
  • 52. 52 3) [ ]x y x y y∃ ∀ + = เมื่อ {0,1,2}U = มีคาความจริงเปน จริง 5. จงหาคาความจริงของ 2 2 [ ]x y x x y y∃ ∀ + = + เมื่อ { 1,0,1}U = − วิธีทํา 1) 2 2 [ ]x y x x y y∃ ∀ + = + ……หมายความวา “จะมีคา x อยางนอย 1 คา สําหรับทุกๆคา y ซึ่งทําให 2 2 x x y y+ = + ” 2) 3) 2 2 [ ]x y x x y y∃ ∀ + = + เมื่อ { 1,0,1}U = − มีคาความจริงเปน เท็จ 6. จงหาคาความจริงของ [5 7 1]x y x y∃ ∃ + = เมื่อ U I= วิธีทํา 1) [5 7 1]x y x y∃ ∃ + = ……หมายความวา “จะมีคา x และ y อยางนอย 1 คู ที่ทํา ให 5 7 1x y+ = ” 2) 3) [5 7 1]x y x y∃ ∃ + = เมื่อ U I= มีคาความจริงเปน จริง ?x = 0y = 1y = 2 2 .......x x y y T+ = + 1y = − หาคา x ที่มีคุณสมบัตินี้ ไมได 3x = 2y = − 5 7 1.......x y T+ =
  • 53. 53 8.นิเสธของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 8.1 นิเสธของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ 1 ตัว นิเสธของประพจน [ ( )]x P x∃ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( )]x P x∃∼ [ ( )] [ ( )]x P x x P x∃ ≡ ∀∼ ∼ นิเสธของประพจน [ ( )]x P x∀ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( )]x P x∀∼ [ ( )] [ ( )]x P x x P x∀ ≡ ∃∼ ∼ 8.2 นิเสธของประพจนที่มีตัวบงปริมาณมากกวา 1 ตัว ตัวอยาง เชน นิเสธของประพจน [ ( , )]x y P x y∃ ∃ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( , )]x y P x y∃ ∃∼ นิเสธของประพจน [ ( , )]x y P x y∀ ∀ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( , )]x y P x y∀ ∀∼ นิเสธของประพจน [ ( , )]x y P x y∃ ∀ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( , )]x y P x y∃ ∀∼ นิเสธของประพจน [ ( , )]x y P x y∀ ∃ เขียนแทนดวยสัญลักษณ [ ( , )]x y P x y∀ ∃∼ [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] x y P x y x y P x y x y P x y x y P x y x y P x y x y P x y x y P x y x y P x y ∃ ∃ ≡ ∀ ∀ ∀ ∀ ≡ ∃ ∃ ∃ ∀ ≡ ∀ ∃ ∀ ∃ ≡ ∃ ∀ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ ∼ สรุปคือการเปลี่ยนนิเสธของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ สามารถกระทําไดดังนี้ 1) เปลี่ยนตัวบงปริมาณเปนตรงกันขาม x x∀ → ∃ และ x x∃ → ∀ 2) ใสนิเสธไปที่ประโยคเปดเชน ( ) ( )P x P x→∼ เปนตน
  • 54. 54 ......[ ( , , ,...)]x y z P x y z∀ ∃ ∀∼ ......[ ( , , ,...)]x y z P x y z∃ ∀ ∃ ∼ ตัวอยาง เชน 1. นิเสธของประโยค “คนทุกคนรักพอและแม” มีความหมายตรงกับประโยคใด 1.1) คนบางคนรักพอและแม 1.2) คนบางคนไมรักพอและไมรักแม 1.3) คนบางคนไมรักพอแตรักแม 1.4) คนบางคนไมรักพอหรือไมรักแม วิธีทํา 1) แทนประโยค “คนทุกคนรักพอและแม” ใหเปนภาษาสัญลักษณดังนี้ ให…………….P(x) แทนประโยคเปด………….x รักพอ และ……………Q(x) แทนประโยคเปด…………x รักแม เพราะฉะนั้นประโยค “คนทุกคนรักพอและแม” แทนดวยประพจนที่มีตัวบงปริมาณดังนี้ [ ( ) ( )]x P x Q x∀ ∧ 2) หานิเสธของประพจน [ ( ) ( )]x P x Q x∀ ∧ คือ [ ( ) ( )]x P x Q x∀ ∧∼ ซึ่งก็ คือ [ ( ) ( )] [ ( ( ) ( ))] [ ( ) ( )] x P x Q x x P x Q x x P x Q x ∀ ∧ ≡ ∃ ∧ ≡ ∃ ∨ ∼ ∼ ∼ ∼ ซึ่งประพจน [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∨∼ ∼ ตีความไดวา “คนบางคนไมรักพอหรือไมรักแม” ตอบ ขอ 1.4) 2. จงหานิเสธของขอความ 2 [( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥ วิธีทํา
  • 55. 55 1) นิเสธของ 2 [( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥ คือ 2 [( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥∼ ซึ่งสามารถหาไดดังนี้ 2 2 2 2 [( 2 2) ( sin )] [ (( 2 2) ( sin ))] [( ( 2 2) ( sin )] [( 2 2) ( sin )] x y x x y y x x y x x y y x x y x x y y x x y x x y y x ∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥ ≡ ∃ ∀ − ≥ − ∧ ≥ ≡ ∃ ∀ − ≥ − ∨ ≥ ≡ ∃ ∀ − < − ∨ < ∼ ∼ ∼ ∼ 2) 2 2 [( 2 2) ( sin )] [( ( 2 2) ( sin )]x y x x y y x x y x x y y x∴ ∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥ ≡ ∃ ∀ − ≥ − ∨ ≥∼ ∼ ∼ 3. นิเสธของ 2 [( 5) ( 2 4)]x y z x y z y z x∀ ∃ ∃ = + ∨ + > + คือ? วิธีทํา 1) นิเสธของ 2 [( 5) ( 2 4)]x y z x y z y z x∀ ∃ ∃ = + ∨ + > + คือ 2 [( 5) ( 2 4)]x y z x y z y z x∀ ∃ ∃ = + ∨ + > +∼ ซึ่งสามารถหาไดดังนี้ 2 2 2 2 [( 5) ( 2 4)] [ (( 5) ( 2 4))] [( ( 5) ( 2 4)] [( 5) ( 2 4)] x y z x y z y z x x y z x y z y z x x y z x y z y z x x y z x y z y z x ∀ ∃ ∃ = + ∨ + > + ≡ ∃ ∀ ∀ = + ∨ + > + ≡ ∃ ∀ ∀ = + ∧ + > + ≡ ∃ ∀ ∀ ≠ + ∧ + ≤ + ∼ ∼ ∼ ∼ 2) 2 2 [( 5) ( 2 4)] [( 5) ( 2 4)]x y z x y z y z x x y z x y z y z x∴ ∀ ∃ ∃ = + ∨ + > + ≡ ∃ ∀ ∀ ≠ + ∧ + ≤ +∼ 9.การสมมูลกันของประพจนที่มีตัวบงปริมาณ มีหลักการพิจารณาเหมือนการพิจารณาการสมมูลกันของประพจน ดังนี้ 9.1 การสมมูลกันของประพจนที่มีตัวบงปริมาณชุดเดียว เชน ประพจนดังตอไปนี้ 2 2 [ 5] [( 5) ( 2 4)] x x x y z x y z y z x ∀ = ∀ ∀ ∀ = + ∨ + > + เปนตน มีหลักการใหการพิจารณาการสมมูลดังนี้
  • 56. 56 [ ( )] [ ( )] [ ( )] [ ( )] x P x x Q x x P x x Q x ∀ ≡ ∀ ∃ ≡ ∃ [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] [ ( , )] x y P x y x y Q x y x y P x y x y Q x y x y P x y x y Q x y x y P x y x y Q x y ∀ ∀ ≡ ∀ ∀ ∃ ∃ ≡ ∃ ∃ ∃ ∀ ≡ ∃ ∀ ∀ ∃ ≡ ∀ ∃ ตัวอยาง เชน 1. จงพิจารณาวาประพจน 2 [ 2 4]x x x∀ = → = สมมูลกับประพจน 2 [ 4 2]x x x∀ ≠ → ≠ หรือไม วิธีทํา 1) ประโยค 2 2 [ 2 4] [ 4 2]x x x x x x∀ = → = ≡ ∀ ≠ → ≠ จะเปน จริง เมื่อ ประโยคเปด 2 2 ( 2) ( 4) ( 4) ( 2)x x x x= → = ≡ ≠ → ≠ พิจารณาประโยคเปด 2 2 ( 2) ( 4) ( 4) ( 2)....[ ] x x x x p q q p = → = ≡ ≠ → ≠ → ≡ →∼ ∼ 2) 2 2 [ 2 4] [ 4 2]x x x x x x∴∀ = → = ≡ ∀ ≠ → ≠ ….จริง 2. จงพิจารณาวาประพจน 2 [ 2 4]x x x∃ = ↔ = สมมูลกับประพจน 2 [ 2 4]x x x∃ ≠ ↔ ≠ หรือไม วิธีทํา 1) ประโยค 2 2 [ 2 4] [ 2 4]x x x x x x∃ = ↔ = ≡ ∃ ≠ ↔ ≠ จะเปน จริง เมื่อ ประโยคเปด 2 2 2 4 2 4x x x x= ↔ = ≡ ≠ ↔ ≠ พิจารณาประโยคเปด 2 2 2 4 2 4....[ ] x x x x p q p q = ↔ = ≡ ≠ ↔ ≠ ↔ ≡ ↔∼ ∼ ประพจนทั้งสองจะสมมูลกันเมื่อประโยคเปด ( ) ( )P x Q x≡ ประพจนทั้งสองจะสมมูลกันเมื่อประโยคเปด ( , ) ( , )P x y Q x y≡
  • 57. 57 2) 2 2 [ 2 4] [ 2 4]x x x x x x∃ = ↔ = ≡ ∃ ≠ ↔ ≠ ….จริง 9.2 การสมมูลกันของประพจนที่มีตัวบงปริมาณหลายชุด เชน ประพจนดังตอไปนี้ 2 2 [ 4] [ 1 5] [ 1] [ 4] [ ( , )] [ ( , )] x x x x x x x x x y P x y x y P x y ∀ = → ∃ + = ∃ > ∧ ∃ = ∀ ∃ ↔ ∃ ∀ เปนตน มีหลักในการพิจารณาการสมมูลกันตามตัวอยาง เชน 1) ประพจน 2 [ 4] [ 1 5]x x x x∀ = → ∃ + = สมมูลกับประพจน 2 [ 4] [ 1 5]x x x x∃ ≠ ∨ ∃ + = หรือไม วิธีทํา 1) แทนประพจน 2 [ 4]x x∀ = ……………… ดวย p แทนประพจน [ 1 5]x x∃ + = …………….. ดวย q 2 [ 4] [ 1 5]x x x x∴∀ = → ∃ + = แทนดวย………….. p q→ p q p q→ ≡ ∨∼ 2) ประพจน p q∨∼ คือ 2 [ 4] [ 1 5]x x x x∀ = ∨ ∃ + =∼ 2 2 [ ( 4)] [ 1 5] [ 4] [ 1 5] x x x x x x x x ≡ ∃ = ∨ ∃ + = ≡ ∃ ≠ ∨ ∃ + = ∼ 3) 2 2 [ 4] [ 1 5] [ 4] [ 1 5]x x x x x x x x∴∀ = → ∃ + = ≡ ∃ ≠ ∨ ∃ + = …………จริง 2) ประพจน 2 ( [ 0] [ 2 ])x x x x x∀ ≥ ∧ ∃ =∼ สมมูลกับประพจน 2 [ 0] [ 2 ]x x x x x∃ < ∨ ∀ = หรือไม วิธีทํา 1) แทนประพจน [ 0]x x∀ ≥ ……………… ดวย p แทนประพจน 2 [ 2 ]x x x∃ = …………….. ดวย q
  • 58. 58 2 ( [ 0] [ 2 ])x x x x x∴ ∀ ≥ ∧ ∃ =∼ แทนดวย………….. ( )p q∧∼ ( )p q p q∧ ≡ ∨∼ ∼ ∼ 2) ประพจน p q∨∼ ∼ คือ 2 [ 0] [ 2 ]x x x x x∀ ≥ ∨ ∃ =∼ ∼ 2 2 [ ( 0)] [ 2 ] [ 0] [ 2 ] x x x x x x x x x x ≡ ∃ ≥ ∨ ∀ = ≡ ∃ < ∨ ∀ = ∼ 3) 2 2 ( [ 0] [ 2 ]) [ 0] [ 2 ]x x x x x x x x x x∴ ∀ ≥ ∧ ∃ = ≡ ∃ < ∨ ∀ =∼ …………จริง แบบฝกหัด 1. จงเขียนขอความตอไปนี้ใหอยูในรูปสัญลักษณทางตรรกศาสตรเมี่อเอกภพสัมพัทธคือเซต ของจํานวนจริง 1.1) สําหรับ x ทุกตัว 2 9 ( 3)( 3)x x x− = − + 1.2) สําหรับ x บางตัว 2 x x> 1.3) สําหรับ x บางตัว ถา 0x ≠ แลว 2 0x >
  • 59. 59 1.4) สําหรับ x ทุกตัว x x= − ก็ตอเมื่อ 0x < 1.5) มี x และ y ซึ่ง 2 2 x y= 1.6) สําหรับ x และ y ทุกตัว ถา 0x < และ 0y < แลว 0xy < 1.7) สําหรับ x ทุกตัว จะมี y บางตัว ซึ่ง xy y= 1.8) มี x บางตัว สําหรับ y ทุกตัว ถา x y> แลว 2 2 x y> 1.9) ไมมีจํานวนจริง x ใดๆที่ทําให 2 3x x+ = + 1.10) จํานวนจริงทุกตัวเปนจํานวนจริง 2. จงเขียนขอความแทนประโยคตอไปนี้ 2.1) [ 0 0]x x x∀ ≥ ∨ < 2.2) 1 1 [ 0]x x x x − ∀ = ↔ ≠ 2.3) 2 [ 25 5]x x x∀ = → =
  • 60. 60 2.4) 2 [ 3]x x I x∃ ∈ ∧ = 2.5) 2 2 [ ]x y x y y x∀ ∃ − = − 2.6) [ 0]x y x y x∃ ∀ > → > 2.7) 2 [ 5]x y x y∃ ∃ = + 2.8) [ ]x y x y y x y∀ ∃ < ↔ − < < 3. กําหนดเอกภพสัมพัทธ U ในแตละขอตอไปนี้ จงหาคาความจริงของประพจนที่มีตัวบง ปริมาณตอไปนี้ 3.1) [ 3 ] , {1,2,3}x x x x U∃ + = =
  • 61. 61 3.2) 2 [ ] , {1,2,3}x x x U∀ = = 3.3) 2 [ 1 0] , {0,1,2,3}x x U∃ − = = 3.4) 2 [ 1 0] , {0,1,2,3}x x U∀ − = = 3.5) [ 2 3] , { 3, 2, 1,0,1,2,3}x x x U∃ + = + = − − −
  • 62. 62 3.6) 2 [ 2 1 0] ,x x x U I∀ + − > = 3.7) 2 2 [ 1 1x x x x∀ − = − → เปนจํานวนคี่] , { 1,0,1}U = − 3.8) [ 0] ,x x U N∃ < = 3.9) [ 0] [ 1 0], { 1,0,1}x x x x U∃ < ∧ ∃ − = = −
  • 63. 63 3.10) 2 [ ] [ 1 ], { 2, 1,0} 1 x x x x x x x U x − ∀ = → ∃ − + = = − − − 3.11) [8(4 ) 16 ] , [ 10,10)x x x U∀ ≥ = − 3.12) 2 [2 5 0] , (0,3)x x x U∀ − ≤ =
  • 64. 64 3.13) 6 3 [ 2 1] ,x x x U R∀ − ≥ − = 3.14) 2 4 [log (log ) 1] ,xx x x U R∃ = − = 4. ชวงในขอใดตอไปนี้ที่เปนเอกภพสัมพัทธที่ทําใหขอความ 2 [ 2 8]x x x∃ − ≤ และ 3 [ 9 0]x x x∀ − ≠ มีคาความจริงเปน จริง 4.1) ( 3, 2)− − 4.2) ( 3,0)− 4.3) (0,4) 4.4) ( 2,3)−
  • 65. 65 5. ให R เปนเซตของจํานวนจริง และเอกภพสัมพัทธ { / 0 1}U x R x= ∈ ≤ ≤ ขอใด ตอไปนี้มีคาความจริงเปน เท็จ 4.1) 2 [ ]x x x∃ = 4.2) 2 [ ]x x x∀ ≤ 4.3) 21 1 [( ) ( )] 2 2 x x x∃ > ∧ > 4.4) 2 [ 2 2 0]x x x∀ − + < 6. จงหาคาความจริงของประพจนดังตอไปนี้ 6.1) [ 4] , { 2, 1,0,1,2}x y xy U∀ ∀ < = − −
  • 66. 66 6.2) [ 4] , { 2, 1,0,1,2}x y x y U∀ ∀ + < = − − 6.3) 2 2 [ 4] , { 1,0,1}x y x y U∀ ∀ + ≥ = − 6.4) [ 4] , { 2, 1,0,1,2}x y xy U∀ ∀ < = − −
  • 67. 67 6.5) 2 2 [ 12] , {1,2,3}x y x y U∀ ∃ + < = 6.6) 1 1 1 [ ] , {0,1,2,3, , } 2 3 x y y U x ∀ ∃ = = 6.7) [ 5 2] , {0,1,2}x y x y U∃ ∃ + = + =
  • 68. 68 6.8) 2 2 [( ) ( )] ,x y x y x y U R∀ ∀ < → < = 7. จงหานิเสธของประโยคตอไปนี้ 7.1) [2 0]x x∀ > 7.2) 2 [ 0 0]x x x∀ > → > 7.3) 2 [ 0] [ 0]x x x x∀ > → ∀ > 7.4) 2 [( 1 1) 4]x x x x∃ = ∨ = − → = 7.5) [ 0] [ 0]x x x x∃ ≠ ∨ ∀ ≠
  • 69. 69 7.6) ( [ ( )] [ ( )]) [ ( )]x P x x Q x x P x∀ ∧ ∃ → ∀ 7.7) [ 2 ]x y x y x∀ ∀ + = 7.8) [ ]x y x y xy∀ ∃ + ≠ 7.9) [ ] [ ]x y xy yx x y xy y∀ ∀ = ∧ ∃ ∃ = 7.10) [ 5] [ ]x y x y x y x y∃ ∃ + > → ∀ ∀ > 7.11) ฝนตกหนักยอมทําใหบางจังหวัดน้ําทวม 7.12) คนทุกคนทํางานหนักหรือคนบางคนพูดไมได
  • 70. 70 8. จงตรวจสอบวาประโยคแตละคูตอไปนี้สมมูลกันหรือไม 8.1) 2 [ 0]x x∀ ≥∼ กับ 2 [ 0]x x∀ < 8.2) 2 [ 0]x x x x∀ = → ≥ กับ 2 [ 0]x x x x∃ = ∧ <∼ 8.3) 2 [ 2 8]x x x∃ = ↔ = กับ 3 3 [( 2 8) ( 8 2)]x x x x x∃ = → = ∧ = → = 8.4) [ ( 2 5)]x x I x∀ ∈ ∧ + = กับ [( 2 5) ]x x x I∀ + = ∧ ∈
  • 71. 71 8.5) [ 1 2 3]x x x∃ ≤ → + ≠ กับ [ 2 3 1]x x x∃ + = → > 8.6) 2 [ 0 0]x x x∃ ≥ ∨ ≥ กับ 2 [ 0 0]x x x∀ ≥ → ≥∼ 8.7) 2 2 [( ) ( )]x y x y x y∃ ∃ ≥ → ≥ กับ 2 2 [( ) ( )]x y x y x y∃ ∃ < ∨ ≥
  • 72. 72 8.8) 2 [( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∀ ∃ − ≥ − ∧ ≥∼ กับ 2 [( 2 2) ( sin )]x y x x y y x∃ ∀ − < − ∨ <
  • 73. 73 10.การอางเหตุผล เหตุผล ประกอบไปดวยขอความซึ่งเรียกวา “เหตุ” และ ขอความซึ่งเรียกวา “ผล” ถาการอางเหตุผล เปนไปในกรณีที่เหตุนําไปสูผลที่เปนจริง เราเรียกการอางเหตุผลนั้นวา “สมเหตุสมผล” ถาการอางเหตุผล เปนไปในกรณีที่เหตุนําไปสูผลที่ไมเปนจริง เราเรียกการอางเหตุผลนั้น วา “ไมสมเหตุสมผล” การอางเหตุผล มีรูปแบบดังตัวอยาง เชน เหตุ : 1. A 2. B 3. C ผล : D การอางเหตุผลขางตนจะ สมเหตุสมผล ก็ตอเมื่อ “เหตุ A , B และ C นําไปสูผลที่เปน D จริง” คือ มีความหมายวา “ถาเกิดเหตุการณ A และ B และ C แลว ตองเกิดเหตุการณ D จริง” สามารถเขียนเปนประพจนไดดังนี้ ( )A B C D∧ ∧ → ถาเราสามารถพิสูจนไดวาประพจน ( )A B C D∧ ∧ → มีคาความจริงเปน จริง เสมอ หรือ วาเปน สัจจนิรันดร เราสามารถกลาวอางไดวา การอางเหตุผลนี้ “สมเหตุสมผล” แตถาประพจน ( )A B C D∧ ∧ → ไมเปนสัจจนิรันดร การอางเหตุผลนี้ “ไมสมเหตุสมผล” ตัวอยาง เชน 1. จงพิจารณาวาการกลาวอางเหตุผลตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม
  • 74. 74 เหตุ : 1) p q→ 2) r p∨ 3) q∼ ผล : r p→∼ วิธีทํา 1) จากการกลาวอางเหตุผล แปลงเปน ประพจน [( ) ( ) ( )] ( )p q r p q r p→ ∧ ∨ ∧ → →∼ ∼ 2) พิสูจนประพจนดังกลาววาเปน สัจจนิรันดร หรือไม [( ) ( ) ( )] ( )p q r p q r p→ ∧ ∨ ∧ → →∼ ∼ T F T T F T T F T T T F F พบขอขัดแยง แสดงวา ประพจน [( ) ( ) ( )] ( )p q r p q r p→ ∧ ∨ ∧ → →∼ ∼ เปน สัจจนิรันดร 3) การอางเหตุผลดังกลาว สมเหตุสมผล 2. จงพิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้วาสมเหตุสมผลหรือไม เหตุ : 1) ( )p q s∨ → 2) s r→ 3) ( )r q∨∼ ผล : p s→ วิธีทํา 1) จากการกลาวอางเหตุผล แปลงเปน ประพจน ขอขัดแยง T F T→ =
  • 75. 75 [ ][( ) ] ( ) [ ( )] ( )p q s s r r q p s∨ → ∧ → ∧ ∨ → →∼ 2) พิสูจนประพจนดังกลาววาเปน สัจจนิรันดร หรือไม [ ][( ) ] ( ) [ ( )] ( )p q s s r r q p s∨ → ∧ → ∧ ∨ → →∼ T F F F F F F T F T F T T T F F พบขอขัดแยง แสดงวา ประพจน [ ][( ) ] ( ) [ ( )] ( )p q s s r r q p s∨ → ∧ → ∧ ∨ → →∼ เปน สัจจนิรันดร 3) การอางเหตุผลดังกลาว สมเหตุสมผล 3. จงพิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้วาสมเหตุสมผลหรือไม เหตุ : 1) ( )p q r→ →∼ 2) q 3) r ผล : p วิธีทํา 1) จากการกลาวอางเหตุผล แปลงเปน ประพจน [ ][ ( )]p q r q r p→ → ∧ ∧ →∼ 2) พิสูจนประพจนดังกลาววาเปน สัจจนิรันดร หรือไม ขอขัดแยง T F T→ =
  • 76. 76 [ ][ ( )]p q r q r p→ → ∧ ∧ →∼ F T T T T F F F T F ไมพบขอขัดแยง แสดงวา ประพจน [ ][ ( )]p q r q r p→ → ∧ ∧ →∼ ไมเปน สัจจนิรันดร 3) การอางเหตุผลดังกลาว ไมสมเหตุสมผล 4. จงพิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้วาสมเหตุสมผลหรือไม เหตุ : 1) ( )p q r∧ → 2) ( )r s∨∼ 3) p ผล : q∼ วิธีทํา 1) จากการกลาวอางเหตุผล แปลงเปน ประพจน [ ][( ) ] [ ( )]p q r r s p q∧ → ∧ ∨ ∧ →∼ ∼ 2) พิสูจนประพจนดังกลาววาเปน สัจจนิรันดร หรือไม [ ][( ) ] [ ( )]p q r r s p q∧ → ∧ ∨ ∧ →∼ ∼ T T F F F T T T F T T F F ขอขัดแยง T F T→ =
  • 77. 77 พบขอขัดแยง แสดงวา ประพจน [ ][( ) ] [ ( )]p q r r s p q∧ → ∧ ∨ ∧ →∼ ∼ เปน สัจจนิรันดร 3) การอางเหตุผลดังกลาว สมเหตุสมผล แบบฝกหัด พิจารณาการกลาวอางเหตุผลตอไปนี้วาสมเหตุสมผลหรือไม 1. เหตุ : 1) p q∧ ∼ 2) q r∨ ผล : p r∧
  • 78. 78 2. เหตุ : 1) ( )p q r→ → 2) p s∧ ∼ 3) r s→ ผล : q∼ 3. เหตุ : 1) p q∨ 2) p∼ 3) r q→∼ 4) s r→ ผล : s∼
  • 79. 79 4. เหตุ : 1) p q→ 2) q r→ 3) p ผล : r s∨ 5. เหตุ : 1) p q→ 2) r p→ 3) s r→ 4) q∼ ผล : s∼
  • 80. 80 6. เหตุ : 1) q p→∼ ∼ 2) r∼ 3) q r→ 4) p s∨ ผล : s 7. เหตุ : 1) ถาฝนตกแลวอากาศจะเย็นลง 2) ถาอากาศเย็นลงแลวจะเกิดหมอก 3) ไมเกิดหมอก ผล : ฝนไมตก
  • 81. 81 8. เหตุ : 1) ฉันตั้งใจเรียนและฉันขยัน 2) ถาฉันขยันแลวฉันจะสอบไดที่หนึ่ง 3) ถาฉันไมทองหนังสือแลวจะไมสอบไดที่หนึ่ง ผล : ฉันตองทองหนังสือ 9. เหตุ : 1) ถา ก ไมเรียนหมอแลว ข จะไมเรียนวิศวะ 2) ข เรียนวิศวะ หรือ ค เรียนบัญชี 3) ค ไมเรียนบัญชี ผล : ก ไมเรียนหมอ
  • 82. 82 10. เหตุ : 1) ถาเขาขยันเรียนแลวเขาจะสอบผาน 2) เขาสอบผานหรือเขาเรียนเกง 3) เขาไมขยันเรียน ผล : เขาเรียนไมเกง