SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
สาระการเรียนรู้ท่ี ٣
                 เร่ ือง คล่ ืนแม่เหล็กไฟฟู า
      สมมติฐานของแมกซ์เวลล์ จากการศึกษาเกี่ยวกับ
ไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแสและไฟฟ้า- แม่เหล็ก สรุปหลักการ ที่
สำาคัญได้ดังนี้ คือ
      1. เมื่อมีประจุอิสระจะทำาให้เกิดสนามไฟฟ้ารอบๆประจุอิสระ
โดยความเข้มของสนาม
ไฟฟ้า ณ ตำาแหน่งใดๆจะแปรผกผันกับระยะทางกำาลังสองจาก
ประจุไฟฟ้านั้น (กฎของคูลอมบ์)
      2. เมื่อมีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในตัวนำาไฟฟ้า ย่อมมีสนามแม่
เหล็กเกิดขึ้นรอบๆตัวนำา โดยทิศของสนามแม่เหล็กจะวนรอบ
ตัวนำาและตั้งฉากกับทิศของกระแส ซึงเออร์สเตด เป็นผู้ค้นพบ
                                      ่
      3. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กย่อมมีการเหนี่ยวนำา
ทำาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น แสดงว่าได้มีการเหนี่ยวนำาให้เกิดสนาม
ไฟฟ้าในตัวนำา ซึ่งผู้ค้นพบปรากฎการณ์นี้คือ ฟาราเดย์
      จากหลักการทั้งสาม แมกซ์เวลล์ได้รวบรวมให้อยู่ในรูป
สมการทางคณิตศาสตร์ชั้นสูง และได้เสนอเป็นสมมติฐานออกมา
ว่า
      1. ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กจะทำาให้เกิดสนามไฟ
ฟ้ารอบๆการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กนั้น
      2. ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้าจะทำาให้เกิดสนามแม่
เหล็กรอบๆการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้านั้น
 การเกิดคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า
              ่
      แมกซ์เวลล์ได้เสนอต่อไปว่า ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงทั้งสนาม
แม่เหล็กและสนามไฟฟ้าพร้อมกันและต่อเนื่องแล้ว จะเป็นผล
ให้การเหนี่ยวนำาสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กแผ่ออกไปเป็น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วแสง และแมก
ซ์เวลล์สรุปว่า แสงคือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
      การแผ่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเปรียบเทียบได้กับ
การแผ่กระจายของคลื่นนำ้าที่แผ่ออกจากจุดที่กระทุ่มนำ้า โดย
สมมติให้ ลวดตัวนำา คู่หนึ่งเป็นแหล่งกำาเนิดคลื่น ที่ต่อกับแหล่ง
กำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ สมมติวามีเพียงประจุเดียวอยูที่ลวดตัวนำา
                                 ่                     ่
แต่ละเส้น แหล่งกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับทำาให้ประจุบวกและลบ
เคลื่อนที่ในตัวกลับไปกลับมา เป็นผลให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แผ่ออกมา ดังรูปที่ 1
รูปที่ 1 แสดงการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากการเคลื่อนที่ของ
ประจุในเส้นลวด

      การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตามหลักของแมกซ์เวลล์ อธิบาย
ได้ว่า เกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุที่ถูกเร่ง ทำาให้เกิด
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกจากลวดตัวนำาทุกทิศทาง ยกเว้นทิศที่
อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกับลวดตัวนำานั้น
      เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กและสนาม
ไฟฟ้า จะพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงพร้อมกัน กล่าวคือ สนามทั้ง
สองจะมีค่าสูงสุดพร้อมกันและตำ่าสุดพร้อมกัน นั่นคือ ทั้งสนาม
ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กมีเฟสตรงกัน โดยทิศของสนามไฟฟ้าจะ
ตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็ก และสนามทั้งสองมีทิศตั้งฉากกับ
ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น ดังรูปที่ 2




    รูปที่ 2 การเปลียนแปลงของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
                    ่
       สรุปลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
       1. การเปลี่ยนแปลงค่าของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
เกิดขึ้นพร้อมกัน ดังนั้นสนามทั้งสองจึงมีค่าสูงสุดและตำ่าสุด
พร้อมๆกัน หรือมีเฟสตรงกัน
       2. ทิศของสนามแม่เหล็กและทิศของสนามไฟฟ้าจะตั้งฉาก
ซึ่งกันและกัน และตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นซึ่งมี
ลักษณะเป็นคลื่นตามขวาง
       3. ณ บริเวณใดมีคลื่นไฟฟ้าผ่านบริเวณนั้นจะมีสนามแม่
เหล็กและสนามไฟฟ้าทันที
       4. อนุภาคที่มีประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่คงที่ จะมีการ
ปล่อยคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา
           ่
       การทดลองของเฮิรตซ์
เฮิรตซ์ ได้ทดลองเพื่อพิสูจน์ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ
แมกซ์เวลล์ โดยใช้ขดลวดเหนี่ยวนำาที่ให้ค่าความต่างศักย์สูง
เชื่อมต่อกับโลหะทรงกลม 2 ลูกซึ่งวางใกล้กันมาก จะมีหน้าที่
คล้ายกับตัวเก็บประจุ อุปกรณ์ชิ้นนี้คล้ายกับวงจร LC ของเครื่อง
ส่งคลื่นวิทยุ การออสซิลเลตของคลื่นทำาได้โดย ป้อนความต่าง
ศักย์เป็นช่วงคลื่นสั้นๆ เข้าไปที่ขดลวดตัวนำา จะเกิด
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ความถี่ประมาณ 100 MHz จากนั้นเฮริตซ์
สร้างวงจรขึ้นมาอีกวงหนึ่ง ประกอบด้วยขดลวดเพียงขดเดียว ที่
ปลายขดลวดมีทรงกลมตัวนำาวางไว้ใกล้กัน วงจรชุดนี้ทำาหน้าที่
คล้ายเครื่องรับคลื่น
      เฮิรตซ์พบอีกว่าวงจรรับคลื่น จะสามารถรับคลืนได้ก็ต่อเมื่อ
                                                   ่
ความถี่ที่ส่งมานั้นเป็นความถี่
รีโซแนนซ์ของวงจรรับคลื่นพอดี ถ้าความต่างศักย์บนขดลวดชุด
รับคลื่นมีค่าสูง จะทำาให้เกิดประกายไฟข้ามไปมาระหว่างทรงกลม
ทั้งสอง
      การทดลองนี้แสดงให้เห็นว่า พลังงานสามารถส่งผ่านจากที่
หนึ่งไปยังที่หนึงได้โดยอยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
                 ่
      สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
      คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง กล่าว
คือ มีความถี่ 1 – 1025 เฮิรตซ์ (ความยาวคลืน 108 –10-17 เมตร)
                                            ่
เราเรียกช่วงความถี่เหล่านีว่า "สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า"
                            ้
และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกำาเนิดและ
วิธีการตรวจวัดคลื่น ดังรูปที่ 3

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆในสเปกตรัมมีสมบัติที่สำาคัญเหมือนกัน
คือ เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อม
กับคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
มีชื่อเรียกดังน


                รูปที่ 3 สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
       1. คลื่นวิทยุ มีความถี่ช่วง 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) สามารถ
เลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกล้เคียงกับความยาวคลื่นได้
ใช้ในการสื่อสาร
คลื่นวิทยุที่กระจายออกจากสายอากาศ จะเดินทางไปทุก
ทิศทาง ในทุกระนาบ ถ้าจะพิจารณาในส่วนของพื้นทีแทนหน้า  ่
คลื่นจะเห็นได้ว่าพุ่งออกไปเรื่อย ๆ จากจุดกำาเนิด และสามารถ
เขียนแนวทิศทางเดินของหน้าคลื่นได้ด้วยเส้นตรงหรือเส้นรังสี
เส้นรังสีทลากจากสายอากาศออกไปจะทำามุมกับระนาบแนวนอน
              ี่
มุมนี้เรียกว่า มุมแผ่คลื่น อาจมีค่าเป็นบวก ( มุมเงย ) หรือมีค่าเป็น
ลบ ( มุมกดลง ) ก็ได้ มุมของการแผ่คลื่นนี้อาจนำามาใช้เป็นตัว
กำาหนดประเภทของคลื่นวิทยุได้
         โดยทัวไปคลื่นวิทยุอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
                 ่
คลื่นดิน (GROUND WAVE ) กับคลื่นฟ้า (SKY WAVE ) พลังงาน
คลื่นวิทยุส่วนใหญ่จะเดินทางอยูใกล้ ๆ ผิวโลกหรือเรียกว่าคลื่น
                                   ่
ดิน ซึงคลื่นนี้จะเดินไปตามส่วนโค้งของโลก คลื่นอีกส่วนที่ออก
       ่
จากสายอากาศ ด้วยมุมแผ่คลื่นเป็นค่าบวก จะเดินทางจากพื้น
โลกพุ่งไปยังบรรยากาศจนถึงชั้นเพดานฟ้าและจะสะท้อนกลับลง
มายังโลกนี้เรียกว่า คลืนฟ้า่




รูปที่ 4 คลื่นฟ้าและคลื่นดิน

     การส่งสัญญาณคลื่นวิทยุ มี 2 ระบบ คือ
        1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude
modulation) มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz
สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุทเรียกว่า "คลื่น
                                              ี่
พาหะ" โดย สัญญาณเสียงจะไปบังคับให้แอมพลิจูดของ
คลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง ดังรูปที่ 5




      รูปที่ 5 การส่งและรับสัญญาณคลื่นวิทยุแบบ A.M.
    เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมสัญญาณเสียงแล้วกระจายออกจากสาย
อากาศไปยังเครื่องรับวิทยุ เครื่องรับวิทยุจะทำาหน้าที่แยกเอา
สัญญาณเสียงออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุ แล้วขยายสัญญาณ
เสียงให้มแอมพลิจูดสูงขึ้น เพื่อส่งให้ลำาโพงแปลงสัญญาณเสียง
          ี
ออกมาเป็นเสียงที่หรับฟังได้
                    ู
      ขณะที่มีการส่งสัญญาณในระบบเอเอ็มไปในบรรยากาศ
ปรากฎการณ์ เช่น ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ทำาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้
ด้วย คลื่นนี้สามารถรวมกับคลื่นวิทยุในระบบเอเอ็มได้ ทำาให้เกิด
การรบกวน
      การส่งคลื่นระบบ A.M. จะส่งคลื่นได้ทงคลื่นดิน ที่มีการ
                                           ั้
เคลื่อนที่ไปโดยตรงในระดับสายตา และคลื่นฟ้าที่สะท้อนลงมา
จากบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์
      1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation)
มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะสื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสม
เข้ากับคลื่นพาหะ โดยสัญญาณเสียงจะไปบังคับให้ความถี่
ของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง ดังรูปที่ 6




         รูปที่ 6 การส่งและรับสัญญาณคลื่นวิทยุแบบ F.M.
      ในการส่งคลื่นระบบ F.M. ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่าง
เดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถายทอดและเครื่อง
                                             ่
รับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ หรืออาจใช้ดาวเทียมช่วยสะท้อน
คลื่นในอวกาศ

      2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ
      มีความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz จะไม่สะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอ
โอโนสเฟียร์ แต่จะทะลุผ่าน
ชั้นบรรยากาศไปนอกโลก มีประโยชน์ในการสื่อสาร โดยในการ
ถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จะต้องมีสถานีถายทอดเป็นระยะ ๆ
                                          ่
เพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง และผิวโลกมีความโค้ง ดังนั้น
สัญญาณจึงไปได้ไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตรบนผิวโลก
อาจใช้ไมโครเวฟนำาสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียม แล้วให้
ดาวเทียมนำาสัญญาณส่งต่อไปยังสถานีรับที่อยู่ไกล ๆ
      คลื่นโทรทัศน์มีความยาวคลื่นสั้น จึงไม่สามารถเลียวเบน
                                                      ้
อ้อมผ่านสิ่งกีดขวางใหญ่ๆได้ เมื่อคลื่นโทรทัศน์กระทบกับรถยนต์
หรือเครื่องบิน จะสังเกตเห็นว่าภาพถูกรบกวน เนื่องจากคลื่น
สะท้อนจากรถยนต์หรือเครื่องบินเกิดการแทรกสอดดับคลื่นที่ส่ง
มาจากสถานีแล้วเข้าเครื่องรับพร้อมกัน
       ไมโครเวฟจะสะท้อนกับผิวโลหะได้ดี จึงนำาไปใช้ประโยชน์
ในการตรวจหาตำาแหน่งของอากาศยาน ทีเรียกว่า เรดาร์ โดยเมื่อ
                                         ่
ส่งสัญญาณไมโครเวฟออกไปกระทบอากาศยาน และรับคลื่นที่
สะท้อนกลับจากอากาศยาน ทำาให้ทราบระยะห่างระหว่าง
อากาศยานกับแหล่งส่งสัญญาณไมโครเวฟได้
       3. รังสีอินฟาเรด (infrared rays) มีช่วงความถี่ 1011 -
1014 Hz ซึ่งมีช่วงความถี่คาบเกี่ยวกับไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด
สามารถตรวจรับได้ด้วยประสาทสัมผัสทางผิวหนังหรือฟิลมถ่ายรูป
                                                       ์
บางชนิดได้ โดยปกติสิ่งมีชีวิตจะแผ่รังสีอินฟราเรดออกมาตลอด
เวลา และรังสีอินฟราเรดสามารถทะลุผานเมฆหมอกที่หนาเกิน
                                      ่
กว่าที่แสงธรรมดาจะผ่านได้ จึงอาศัยสมบัตินี้ในการถ่ายภาพพื้น
โลกจากดาวเทียม เพื่อศึกษาการแปรสภาพของป่าไม้ เป็นต้น
       รังสีอินฟราเรดใช้ในระบบควบคุมที่เรียกว่า รีโมทคอนโทรล
หรือการควบคุมระยะไกล ซึ่งเป็นระบบควบคุมการทำางานของ
เครื่องรับโทรทัศน์ ทางการทหารจะใช้ควบคุมจรวดนำาวิถี
       ปัจจุบันมีการส่งสัญญาณด้วยเส้นใยนำาแสง (Optical fiber)
แต่สิ่งที่เป็นพาหะนำาสัญญาณคือ รังสีอินฟราเรด เพราะถ้าใช้แสง
ธรรมดานำาสัญญาณอาจมีการรบกวนจากแสงภายนอกได้ง่าย
       4. แสง (light) มีช่วงความถี่ 1014Hz หรือความยาวคลื่น
4x10-7 - 7x10-7 เมตร เป็นคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าที่ประสาทตาของมนุษย์รับและแยกได้ คือ แสงสี
ม่วง คราม นำ้าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อแสงทั้งเจ็ดสีรวม
กันจะเป็นสีขาว เปลวไฟสีแดงจะมีอุณหภูมิตำ่ากว่าเปลวไฟสีม่วง
       แสงส่วนใหญ่มักเกิดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมากๆและเกิด
พร้อมๆกันหลายความถี่ หรืออาจเกิดขึ้นได้โดยไม่ใช้ความร้อน
เช่น แสงจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ หิงห้อย เห็ดเรืองแสง
       เลเซอร์ เป็นแหล่งกำาเนิดแสงอาพันธ์ที่ให้แสงโดยไม่อาศัย
ความร้อน มีความถี่และเฟสคงที่ จึงสามารถใช้เลเซอร์ในการ
สื่อสารได้ ถ้าใช้เลนซ์รวมแสงให้ความเข้มสูงๆ จะใช้เลเซอร์ใน
การผ่าตัดได้ โดยบริเวณทีแสงเลเซอร์ตก จะเกิดความร้อน
                           ่
       5. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays) หรือ รังสี
เหนือม่วง มีความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz เป็นรังสีตามธรรมชาติ
ส่วนใหญ่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ซึ่งทำาให้เกิดประจุ
อิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ ไม่สามารถ
เคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวางหนาๆได้ ทะลุผ่านแก้วได้บ้างเล็กน้อย
แต่ผ่านควอตซ์ได้ดี แต่สามารถทำาให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้
สร้างขึ้นได้โดยผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดที่บรรจุไอปรอท
เช่นในหลอดฟลูออเรสเซนต์ การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้ายังทำาให้
เกิดรังสีอัลตราไวโอเลตความเข้มสูง ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อ
นัยน์ตา จึงจำาเป็นต้องสวมแว่นสำาหรับป้องกันโดยเฉพาะ
       หากร่างกายได้รบรังสีในขนาดตำ่าจะเป็นประโยชน์ต่อการ
                           ั
สร้าง ไวตามินดี แต่ถาได้รับมากเกินไปเป็นเวลานานจะมีผลใน
                         ้
การทำาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย รวมทั้ง ผิวหนัง ตา และก่อ
ให้เกิดมะเร็ง โดยรังสี UV ทำาให้ผิวหนังร้อนแดงได้อย่าง
เฉียบพลัน และถ้าได้รับรังสีมากก็จะทำาให้เกิดเป็น เม็ดพุพอง และ
ทำาลายเซลล์ผวหนังชั้นบน
                 ิ
       ผลของรังสี UV ต่อตาอย่างเฉียบพลัน คือ กระจกตาอักเสบ
(photokeratitis) และเยื่อตาขาวอักเสบ (photoconjunctivitis)
ซึ่งปัญหานีป้องกันได้ด้วยการสวมแว่นกันแดดที่เหมาะสม แต่ผล
              ้
ต่อเนื่องเรื้อรังที่จะเกิด คือ การเกิดต้อเนื้อ มะเร็งของเยื่อตาขาว
ชนิด squamous cell และต้อกระจก
       ระดับการเพิ่มของรังสี UV บนพื้นผิวโลก อาจจะมีผลต่อ
เนื่องที่สำาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั่ว ๆ ไป จะเกิดผลเสียต่อการเจริญ
เติบโตของพืช การสังเคราะห์แสง และความต้านทานโรค
นอกจากนี้ ยังมีผลต่อนิเวศวิทยาในนำ้า เช่น จำานวนของ
phytoplankton จะลดลงอย่างเห็นได้ชัด
       6. รังสีเอกซ์ (X-rays) หรือ รังสีเรินเกนต์ มีความถี่ช่วง
10 - 1022 Hz สามารถทะลุสิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ แต่ถูกกั้นได้
    16

ด้วยอะตอมของธาตุหนัก จึงใช้ตรวจสอบรอยร้าวในชิ้นโลหะขนาด
ใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนในกระเป๋าเดินทาง ในทางการแพทย์ใน
การตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย รวมถึงเมื่อให้
รังสีเอ็กซ์ที่มีความยาวคลื่นประมาณ 10-10 เมตรซึ่งมีขนาดใกล้
เคียงกับขนาดอะตอมและช่องว่างระหว่างอะตอมของผลึก ผ่าน
ก้อนผลึกอะตอมที่จัดเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบทำาให้รังสีเอ็กซ์
เลี้ยวเบนอย่างมีระเบียบ เช่นเดียวกับเมื่อแสงผ่านเกรตติง จึงใช้
วิเคราะห์โครงสร้างของผลึกได้
       การผลิตรังสีเอ็กซ์ วีธีหนึ่งใช้หลักการเปลี่ยนความเร็วของ
อิเล็กตรอน
       7. รังสีแกมมา (γ-rays) มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามี
ความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ มีอำานาจทะลุทะลวงสูง ที่พบในธรรมชาติ
เช่น รังสีที่เกิดจากการแผ่สลายของสารกัมมันตภาพรังสี รังสีคอส
มิคที่มาจากอวกาศก็มีรังสีแกมมาได้ และสามารถทำาให้เกิดขึ้นได้
เช่น การแผ่รงสีของอนุภาคไฟฟ้าทีถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ไฟ
               ั                 ่
ฟ้าสูงๆ ในเครื่องเร่งอนุภาค
***********************************************
                               *

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยสิปป์แสง สุขผล
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนCoverslide Bio
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงSunanthaIamprasert
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1tewin2553
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกายสำเร็จ นางสีคุณ
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 3 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 

Viewers also liked

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 

Viewers also liked (6)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนาประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

Similar to คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าjuneniezstk
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)Salin Satheinmars
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMDechatorn Devaphalin
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401Apinya Singsopa
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405Peammavit Supavivat
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402Petch Tongthummachat
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าMaliwan303fkk
 

Similar to คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (20)

สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้าเรื่อง ไฟฟ้า
เรื่อง ไฟฟ้า
 

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

  • 1. สาระการเรียนรู้ท่ี ٣ เร่ ือง คล่ ืนแม่เหล็กไฟฟู า สมมติฐานของแมกซ์เวลล์ จากการศึกษาเกี่ยวกับ ไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแสและไฟฟ้า- แม่เหล็ก สรุปหลักการ ที่ สำาคัญได้ดังนี้ คือ 1. เมื่อมีประจุอิสระจะทำาให้เกิดสนามไฟฟ้ารอบๆประจุอิสระ โดยความเข้มของสนาม ไฟฟ้า ณ ตำาแหน่งใดๆจะแปรผกผันกับระยะทางกำาลังสองจาก ประจุไฟฟ้านั้น (กฎของคูลอมบ์) 2. เมื่อมีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในตัวนำาไฟฟ้า ย่อมมีสนามแม่ เหล็กเกิดขึ้นรอบๆตัวนำา โดยทิศของสนามแม่เหล็กจะวนรอบ ตัวนำาและตั้งฉากกับทิศของกระแส ซึงเออร์สเตด เป็นผู้ค้นพบ ่ 3. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กย่อมมีการเหนี่ยวนำา ทำาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น แสดงว่าได้มีการเหนี่ยวนำาให้เกิดสนาม ไฟฟ้าในตัวนำา ซึ่งผู้ค้นพบปรากฎการณ์นี้คือ ฟาราเดย์ จากหลักการทั้งสาม แมกซ์เวลล์ได้รวบรวมให้อยู่ในรูป สมการทางคณิตศาสตร์ชั้นสูง และได้เสนอเป็นสมมติฐานออกมา ว่า 1. ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กจะทำาให้เกิดสนามไฟ ฟ้ารอบๆการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กนั้น 2. ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้าจะทำาให้เกิดสนามแม่ เหล็กรอบๆการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้านั้น การเกิดคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า ่ แมกซ์เวลล์ได้เสนอต่อไปว่า ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงทั้งสนาม แม่เหล็กและสนามไฟฟ้าพร้อมกันและต่อเนื่องแล้ว จะเป็นผล ให้การเหนี่ยวนำาสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กแผ่ออกไปเป็น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วแสง และแมก ซ์เวลล์สรุปว่า แสงคือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การแผ่กระจายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเปรียบเทียบได้กับ การแผ่กระจายของคลื่นนำ้าที่แผ่ออกจากจุดที่กระทุ่มนำ้า โดย สมมติให้ ลวดตัวนำา คู่หนึ่งเป็นแหล่งกำาเนิดคลื่น ที่ต่อกับแหล่ง กำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ สมมติวามีเพียงประจุเดียวอยูที่ลวดตัวนำา ่ ่ แต่ละเส้น แหล่งกำาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับทำาให้ประจุบวกและลบ เคลื่อนที่ในตัวกลับไปกลับมา เป็นผลให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แผ่ออกมา ดังรูปที่ 1
  • 2. รูปที่ 1 แสดงการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากการเคลื่อนที่ของ ประจุในเส้นลวด การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตามหลักของแมกซ์เวลล์ อธิบาย ได้ว่า เกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุที่ถูกเร่ง ทำาให้เกิด คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกจากลวดตัวนำาทุกทิศทาง ยกเว้นทิศที่ อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกับลวดตัวนำานั้น เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กและสนาม ไฟฟ้า จะพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงพร้อมกัน กล่าวคือ สนามทั้ง สองจะมีค่าสูงสุดพร้อมกันและตำ่าสุดพร้อมกัน นั่นคือ ทั้งสนาม ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กมีเฟสตรงกัน โดยทิศของสนามไฟฟ้าจะ ตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็ก และสนามทั้งสองมีทิศตั้งฉากกับ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น ดังรูปที่ 2 รูปที่ 2 การเปลียนแปลงของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า ่ สรุปลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 1. การเปลี่ยนแปลงค่าของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า เกิดขึ้นพร้อมกัน ดังนั้นสนามทั้งสองจึงมีค่าสูงสุดและตำ่าสุด พร้อมๆกัน หรือมีเฟสตรงกัน 2. ทิศของสนามแม่เหล็กและทิศของสนามไฟฟ้าจะตั้งฉาก ซึ่งกันและกัน และตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นซึ่งมี ลักษณะเป็นคลื่นตามขวาง 3. ณ บริเวณใดมีคลื่นไฟฟ้าผ่านบริเวณนั้นจะมีสนามแม่ เหล็กและสนามไฟฟ้าทันที 4. อนุภาคที่มีประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่คงที่ จะมีการ ปล่อยคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา ่ การทดลองของเฮิรตซ์
  • 3. เฮิรตซ์ ได้ทดลองเพื่อพิสูจน์ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ แมกซ์เวลล์ โดยใช้ขดลวดเหนี่ยวนำาที่ให้ค่าความต่างศักย์สูง เชื่อมต่อกับโลหะทรงกลม 2 ลูกซึ่งวางใกล้กันมาก จะมีหน้าที่ คล้ายกับตัวเก็บประจุ อุปกรณ์ชิ้นนี้คล้ายกับวงจร LC ของเครื่อง ส่งคลื่นวิทยุ การออสซิลเลตของคลื่นทำาได้โดย ป้อนความต่าง ศักย์เป็นช่วงคลื่นสั้นๆ เข้าไปที่ขดลวดตัวนำา จะเกิด คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ความถี่ประมาณ 100 MHz จากนั้นเฮริตซ์ สร้างวงจรขึ้นมาอีกวงหนึ่ง ประกอบด้วยขดลวดเพียงขดเดียว ที่ ปลายขดลวดมีทรงกลมตัวนำาวางไว้ใกล้กัน วงจรชุดนี้ทำาหน้าที่ คล้ายเครื่องรับคลื่น เฮิรตซ์พบอีกว่าวงจรรับคลื่น จะสามารถรับคลืนได้ก็ต่อเมื่อ ่ ความถี่ที่ส่งมานั้นเป็นความถี่ รีโซแนนซ์ของวงจรรับคลื่นพอดี ถ้าความต่างศักย์บนขดลวดชุด รับคลื่นมีค่าสูง จะทำาให้เกิดประกายไฟข้ามไปมาระหว่างทรงกลม ทั้งสอง การทดลองนี้แสดงให้เห็นว่า พลังงานสามารถส่งผ่านจากที่ หนึ่งไปยังที่หนึงได้โดยอยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ่ สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง กล่าว คือ มีความถี่ 1 – 1025 เฮิรตซ์ (ความยาวคลืน 108 –10-17 เมตร) ่ เราเรียกช่วงความถี่เหล่านีว่า "สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า" ้ และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกำาเนิดและ วิธีการตรวจวัดคลื่น ดังรูปที่ 3 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆในสเปกตรัมมีสมบัติที่สำาคัญเหมือนกัน คือ เคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อม กับคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น มีชื่อเรียกดังน รูปที่ 3 สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 1. คลื่นวิทยุ มีความถี่ช่วง 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) สามารถ เลี้ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกล้เคียงกับความยาวคลื่นได้ ใช้ในการสื่อสาร
  • 4. คลื่นวิทยุที่กระจายออกจากสายอากาศ จะเดินทางไปทุก ทิศทาง ในทุกระนาบ ถ้าจะพิจารณาในส่วนของพื้นทีแทนหน้า ่ คลื่นจะเห็นได้ว่าพุ่งออกไปเรื่อย ๆ จากจุดกำาเนิด และสามารถ เขียนแนวทิศทางเดินของหน้าคลื่นได้ด้วยเส้นตรงหรือเส้นรังสี เส้นรังสีทลากจากสายอากาศออกไปจะทำามุมกับระนาบแนวนอน ี่ มุมนี้เรียกว่า มุมแผ่คลื่น อาจมีค่าเป็นบวก ( มุมเงย ) หรือมีค่าเป็น ลบ ( มุมกดลง ) ก็ได้ มุมของการแผ่คลื่นนี้อาจนำามาใช้เป็นตัว กำาหนดประเภทของคลื่นวิทยุได้ โดยทัวไปคลื่นวิทยุอาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ่ คลื่นดิน (GROUND WAVE ) กับคลื่นฟ้า (SKY WAVE ) พลังงาน คลื่นวิทยุส่วนใหญ่จะเดินทางอยูใกล้ ๆ ผิวโลกหรือเรียกว่าคลื่น ่ ดิน ซึงคลื่นนี้จะเดินไปตามส่วนโค้งของโลก คลื่นอีกส่วนที่ออก ่ จากสายอากาศ ด้วยมุมแผ่คลื่นเป็นค่าบวก จะเดินทางจากพื้น โลกพุ่งไปยังบรรยากาศจนถึงชั้นเพดานฟ้าและจะสะท้อนกลับลง มายังโลกนี้เรียกว่า คลืนฟ้า่ รูปที่ 4 คลื่นฟ้าและคลื่นดิน การส่งสัญญาณคลื่นวิทยุ มี 2 ระบบ คือ 1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation) มีช่วงความถี่ 530 - 1600 kHz สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุทเรียกว่า "คลื่น ี่ พาหะ" โดย สัญญาณเสียงจะไปบังคับให้แอมพลิจูดของ คลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง ดังรูปที่ 5 รูปที่ 5 การส่งและรับสัญญาณคลื่นวิทยุแบบ A.M. เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมสัญญาณเสียงแล้วกระจายออกจากสาย อากาศไปยังเครื่องรับวิทยุ เครื่องรับวิทยุจะทำาหน้าที่แยกเอา สัญญาณเสียงออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุ แล้วขยายสัญญาณ
  • 5. เสียงให้มแอมพลิจูดสูงขึ้น เพื่อส่งให้ลำาโพงแปลงสัญญาณเสียง ี ออกมาเป็นเสียงที่หรับฟังได้ ู ขณะที่มีการส่งสัญญาณในระบบเอเอ็มไปในบรรยากาศ ปรากฎการณ์ เช่น ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ทำาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ ด้วย คลื่นนี้สามารถรวมกับคลื่นวิทยุในระบบเอเอ็มได้ ทำาให้เกิด การรบกวน การส่งคลื่นระบบ A.M. จะส่งคลื่นได้ทงคลื่นดิน ที่มีการ ั้ เคลื่อนที่ไปโดยตรงในระดับสายตา และคลื่นฟ้าที่สะท้อนลงมา จากบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ 1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation) มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะสื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสม เข้ากับคลื่นพาหะ โดยสัญญาณเสียงจะไปบังคับให้ความถี่ ของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลง ดังรูปที่ 6 รูปที่ 6 การส่งและรับสัญญาณคลื่นวิทยุแบบ F.M. ในการส่งคลื่นระบบ F.M. ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่าง เดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้นที่ต้องมีสถานีถายทอดและเครื่อง ่ รับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ หรืออาจใช้ดาวเทียมช่วยสะท้อน คลื่นในอวกาศ 2. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ มีความถี่ช่วง 108 - 1012 Hz จะไม่สะท้อนที่ชั้นบรรยากาศไอ โอโนสเฟียร์ แต่จะทะลุผ่าน ชั้นบรรยากาศไปนอกโลก มีประโยชน์ในการสื่อสาร โดยในการ ถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์จะต้องมีสถานีถายทอดเป็นระยะ ๆ ่ เพราะสัญญาณเดินทางเป็นเส้นตรง และผิวโลกมีความโค้ง ดังนั้น สัญญาณจึงไปได้ไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตรบนผิวโลก อาจใช้ไมโครเวฟนำาสัญญาณจากสถานีส่งไปยังดาวเทียม แล้วให้ ดาวเทียมนำาสัญญาณส่งต่อไปยังสถานีรับที่อยู่ไกล ๆ คลื่นโทรทัศน์มีความยาวคลื่นสั้น จึงไม่สามารถเลียวเบน ้ อ้อมผ่านสิ่งกีดขวางใหญ่ๆได้ เมื่อคลื่นโทรทัศน์กระทบกับรถยนต์ หรือเครื่องบิน จะสังเกตเห็นว่าภาพถูกรบกวน เนื่องจากคลื่น
  • 6. สะท้อนจากรถยนต์หรือเครื่องบินเกิดการแทรกสอดดับคลื่นที่ส่ง มาจากสถานีแล้วเข้าเครื่องรับพร้อมกัน ไมโครเวฟจะสะท้อนกับผิวโลหะได้ดี จึงนำาไปใช้ประโยชน์ ในการตรวจหาตำาแหน่งของอากาศยาน ทีเรียกว่า เรดาร์ โดยเมื่อ ่ ส่งสัญญาณไมโครเวฟออกไปกระทบอากาศยาน และรับคลื่นที่ สะท้อนกลับจากอากาศยาน ทำาให้ทราบระยะห่างระหว่าง อากาศยานกับแหล่งส่งสัญญาณไมโครเวฟได้ 3. รังสีอินฟาเรด (infrared rays) มีช่วงความถี่ 1011 - 1014 Hz ซึ่งมีช่วงความถี่คาบเกี่ยวกับไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด สามารถตรวจรับได้ด้วยประสาทสัมผัสทางผิวหนังหรือฟิลมถ่ายรูป ์ บางชนิดได้ โดยปกติสิ่งมีชีวิตจะแผ่รังสีอินฟราเรดออกมาตลอด เวลา และรังสีอินฟราเรดสามารถทะลุผานเมฆหมอกที่หนาเกิน ่ กว่าที่แสงธรรมดาจะผ่านได้ จึงอาศัยสมบัตินี้ในการถ่ายภาพพื้น โลกจากดาวเทียม เพื่อศึกษาการแปรสภาพของป่าไม้ เป็นต้น รังสีอินฟราเรดใช้ในระบบควบคุมที่เรียกว่า รีโมทคอนโทรล หรือการควบคุมระยะไกล ซึ่งเป็นระบบควบคุมการทำางานของ เครื่องรับโทรทัศน์ ทางการทหารจะใช้ควบคุมจรวดนำาวิถี ปัจจุบันมีการส่งสัญญาณด้วยเส้นใยนำาแสง (Optical fiber) แต่สิ่งที่เป็นพาหะนำาสัญญาณคือ รังสีอินฟราเรด เพราะถ้าใช้แสง ธรรมดานำาสัญญาณอาจมีการรบกวนจากแสงภายนอกได้ง่าย 4. แสง (light) มีช่วงความถี่ 1014Hz หรือความยาวคลื่น 4x10-7 - 7x10-7 เมตร เป็นคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าที่ประสาทตาของมนุษย์รับและแยกได้ คือ แสงสี ม่วง คราม นำ้าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อแสงทั้งเจ็ดสีรวม กันจะเป็นสีขาว เปลวไฟสีแดงจะมีอุณหภูมิตำ่ากว่าเปลวไฟสีม่วง แสงส่วนใหญ่มักเกิดจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมากๆและเกิด พร้อมๆกันหลายความถี่ หรืออาจเกิดขึ้นได้โดยไม่ใช้ความร้อน เช่น แสงจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ หิงห้อย เห็ดเรืองแสง เลเซอร์ เป็นแหล่งกำาเนิดแสงอาพันธ์ที่ให้แสงโดยไม่อาศัย ความร้อน มีความถี่และเฟสคงที่ จึงสามารถใช้เลเซอร์ในการ สื่อสารได้ ถ้าใช้เลนซ์รวมแสงให้ความเข้มสูงๆ จะใช้เลเซอร์ใน การผ่าตัดได้ โดยบริเวณทีแสงเลเซอร์ตก จะเกิดความร้อน ่ 5. รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays) หรือ รังสี เหนือม่วง มีความถี่ช่วง 1015 - 1018 Hz เป็นรังสีตามธรรมชาติ ส่วนใหญ่มาจากการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ซึ่งทำาให้เกิดประจุ อิสระและไอออนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ ไม่สามารถ
  • 7. เคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวางหนาๆได้ ทะลุผ่านแก้วได้บ้างเล็กน้อย แต่ผ่านควอตซ์ได้ดี แต่สามารถทำาให้เชื้อโรคบางชนิดตายได้ สร้างขึ้นได้โดยผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดที่บรรจุไอปรอท เช่นในหลอดฟลูออเรสเซนต์ การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้ายังทำาให้ เกิดรังสีอัลตราไวโอเลตความเข้มสูง ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อ นัยน์ตา จึงจำาเป็นต้องสวมแว่นสำาหรับป้องกันโดยเฉพาะ หากร่างกายได้รบรังสีในขนาดตำ่าจะเป็นประโยชน์ต่อการ ั สร้าง ไวตามินดี แต่ถาได้รับมากเกินไปเป็นเวลานานจะมีผลใน ้ การทำาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย รวมทั้ง ผิวหนัง ตา และก่อ ให้เกิดมะเร็ง โดยรังสี UV ทำาให้ผิวหนังร้อนแดงได้อย่าง เฉียบพลัน และถ้าได้รับรังสีมากก็จะทำาให้เกิดเป็น เม็ดพุพอง และ ทำาลายเซลล์ผวหนังชั้นบน ิ ผลของรังสี UV ต่อตาอย่างเฉียบพลัน คือ กระจกตาอักเสบ (photokeratitis) และเยื่อตาขาวอักเสบ (photoconjunctivitis) ซึ่งปัญหานีป้องกันได้ด้วยการสวมแว่นกันแดดที่เหมาะสม แต่ผล ้ ต่อเนื่องเรื้อรังที่จะเกิด คือ การเกิดต้อเนื้อ มะเร็งของเยื่อตาขาว ชนิด squamous cell และต้อกระจก ระดับการเพิ่มของรังสี UV บนพื้นผิวโลก อาจจะมีผลต่อ เนื่องที่สำาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั่ว ๆ ไป จะเกิดผลเสียต่อการเจริญ เติบโตของพืช การสังเคราะห์แสง และความต้านทานโรค นอกจากนี้ ยังมีผลต่อนิเวศวิทยาในนำ้า เช่น จำานวนของ phytoplankton จะลดลงอย่างเห็นได้ชัด 6. รังสีเอกซ์ (X-rays) หรือ รังสีเรินเกนต์ มีความถี่ช่วง 10 - 1022 Hz สามารถทะลุสิ่งกีดขวางหนา ๆ ได้ แต่ถูกกั้นได้ 16 ด้วยอะตอมของธาตุหนัก จึงใช้ตรวจสอบรอยร้าวในชิ้นโลหะขนาด ใหญ่ ใช้ตรวจหาอาวุธปืนในกระเป๋าเดินทาง ในทางการแพทย์ใน การตรวจดูความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย รวมถึงเมื่อให้ รังสีเอ็กซ์ที่มีความยาวคลื่นประมาณ 10-10 เมตรซึ่งมีขนาดใกล้ เคียงกับขนาดอะตอมและช่องว่างระหว่างอะตอมของผลึก ผ่าน ก้อนผลึกอะตอมที่จัดเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบทำาให้รังสีเอ็กซ์ เลี้ยวเบนอย่างมีระเบียบ เช่นเดียวกับเมื่อแสงผ่านเกรตติง จึงใช้ วิเคราะห์โครงสร้างของผลึกได้ การผลิตรังสีเอ็กซ์ วีธีหนึ่งใช้หลักการเปลี่ยนความเร็วของ อิเล็กตรอน 7. รังสีแกมมา (γ-rays) มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามี ความถี่สูงกว่ารังสีเอกซ์ มีอำานาจทะลุทะลวงสูง ที่พบในธรรมชาติ
  • 8. เช่น รังสีที่เกิดจากการแผ่สลายของสารกัมมันตภาพรังสี รังสีคอส มิคที่มาจากอวกาศก็มีรังสีแกมมาได้ และสามารถทำาให้เกิดขึ้นได้ เช่น การแผ่รงสีของอนุภาคไฟฟ้าทีถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ไฟ ั ่ ฟ้าสูงๆ ในเครื่องเร่งอนุภาค *********************************************** *