SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 31
ภารกิจที่ 1

    ให้ทานวิเคราะห์วิธีการจัดการ
         ่
เรียนรู้ของครูแต่ละคนว่าอยู่ใน
กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน
ใดและมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการ
เรียนรู้ใดบ้าง พร้อมอธิบายเหตุผล
 กระบวนทัศน์การออกแบบการ
สอนของครูบุญมี คือ
การเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เพราะครูบุญมี
เน้นการถ่ายทอด เนือหาไปยังผู้เรียน
                     ้
โดยตรง นักเรียนมีหน้าที่ในการรับความ
รู้จากครูเพียงฝ่ายเดียว ให้นกเรียนจดจำา
                            ั
เนือหาจากสิ่งที่ครูสอน
    ้
 การจัดการเรียนรูของครูบุญมีมีพื้นฐานมา
                    ้
จาก
“ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม” เพราะมุ่งเน้นการ
ออกแบบ
เพื่อให้ผเรียนสามารถจดจำาความรู้ให้ได้ใน
         ู้
ปริมาณมากที่สุด
       บทบาทของผูเรียน เป็นผูรอรับข้อมูล
                      ้           ้
สารสนเทศ
       บทบาทของครู จะเป็นผูนำาเสนอข้อมูล
                                ้
สารสนเทศ
       เช่น การที่ครูให้นักเรียนจดบันทึกใน
 กระบวนทัศน์การออกแบบการ
สอนของครูบุญช่วย คือ
     การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เพราะครูบุญช่วยจะสร้างสือต่างๆ และมี
                            ่
กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ดวย
                                        ้
ตนเองจากสือการเรียนรู้ที่ครูบญช่วยจัด
            ่                  ุ
ทำาให้
 การจัดการเรียนรู้ของครูบุญช่วยมีมี
พื้นฐานมาจาก
“ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์”

      ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ คือ การ
สร้างความรู้ซึ่งมาจากพื้นฐานที่ว่าการ
เรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่ง
แทนความรู้ในความจำาในระยะทำางาน
อย่างตื่นตัว และอาศัยการเชือมโยงกับ
                                 ่
ประสบการณ์เดิมของนักเรียน
บทบาทของผูเรียน เป็นผูลงมือกระทำา
                  ้         ้
อย่างตื่นตัว
      บทบาทของครู เป็นผู้แนะแนวทาง
พุทธิปัญญา ซึงจะจัดแนะแนวและเป็นโมเดล
              ่
ในภารกิจการเรียนตามสภาพจริง

        เช่น การแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มแล้ว
มอบสถานการณ์ปัญหาหรือภารกิจการเรียนรู้
ให้ผเรียนทุก ๆ กลุม และครูเป็นผู้ให้คำา
     ู้            ่
แนะนำา หากพบว่ามีผเรียนคนใดหรือกลุมใด
                      ู้                ่
เข้าคลาดเคลื่อนครูก็จะเข้าไปอธิบาย กระตุน ้
 กระบวนทัศน์การออกแบบการ
สอนของ
ครูบญชู คือ
    ุ
      การเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เพราะ
ครูเป็นผู้ถ่ายทอดและสร้างความรู้
เทคนิคต่างๆไปสูผู้เรียน โดยนักเรียน
                  ่
ไม่ได้สร้างขึ้นมาเอง
 การจัดการเรียนรู้ของครูบุญชูมีพื้นฐาน
มาจาก
“ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม” เพราะผู้
เรียนมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้น สามารถจัด
รวบรวมสิ่งที่เรียนรู้เหล่านันให้เป็น
                                ้
ระเบียบ เพื่อสามารถเรียกกลับมาใช้ได้
ตามที่ต้องการ ผู้เรียนสามารถวาง
สารสนเทศใหม่ในความจำาระยะยาว
บทบาทของผู้เรียน เป็นผู้รอรับ
สารสนเทศ
    บทบาทของครู จะเป็นผู้นำาเสนอข้อมูล
สารสนเทศ

      เช่น การที่ครูบญชูมีเทคนิคที่นาสนใจ
                     ุ              ่
ให้นักเรียนจดจำาได้ง่าย ได้แก่ การแต่งเป็น
บทเพลง การใช้คำาคล้องจองการใช้แผนภูมิ
รูปภาพประกอบเนือหาที่ต้องการให้ผู้เรียน
                  ้
เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
ภารกิจที่ 2
  วิธีการเรียนรู้ของครูแต่ละ
คนมีข้อดีและข้อเด่นอย่างไร
ข้อดี                    ข้อเด่น
• การมีสื่อประกอบการสอน   • ครูจะมีการใช้การบรรยาย
 เช่น บทเรียนโปรแกรม      ในการสอน
และชุดการสอน              • หากมีเนื้อหาที่สำาคัญจะ
• มีการสอบเก็บคะแนน       เน้นยำ้าให้นกเรียนจดบันทึก
                                      ั
ถ้านักเรียนสอบตกก็จะให้   และท่องซำ้า
สอบใหม่จนกว่าจะผ่าน       • ครูจะให้นักเรียนท่องคำา
ตามเกณฑ์                  ศัพท์วันละ 5 คำา
ข้อดี                       ข้อเด่น
• ให้ผเรียนค้นหาคำาตอบ
        ู้                    • ครูมีการเชื่อมโยงเนื้อหา
และร่วมมือกันเรียนรู้มีการ    ที่เรียนกับประสบการณ์เดิม
แลกเปลียนประสบการณ์
           ่                  ของผูเรียน เช่น การใช้
                                     ้
การลงมือทดลองเพื่อ            คำาถาม การยกตัวอย่าง
ทดสอบแนวคิดของกลุ่ม           เหตุการณ์ในชีวิตประจำาวัน
โดยมีครู                      ข่าวสารต่าง ๆ
เป็นผูให้คำาแนะนำา
      ้                       เป็นต้น
• ครูมีการเตรียมแหล่งการ      • หลังจากได้คำาตอบแล้ว
เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ   ทุกกลุ่มก็จะนำาเสนอ
วีดทัศน์ เว็บไซต์ที่
    ิ                         แนวคิดความ และร่วมกับ
เกี่ยวข้อง ฯลฯ ให้กับ         สรุปบทเรียนเป็นความ
นักเรียนในการเรียนรู้         เข้าใจของตนเอง เกิดการ
ข้อดี                     ข้อเด่น
• ครูสอนให้นักเรียนจำาคำา   • ครูมีเทคนิคต่างๆ เช่น การ
ศัพท์ภาษาอังกฤษได้โดย       แต่งเป็นบทเพลง การใช้คำา
ไม่ลม ื                     คล้องจอง การใช้แผนภูมิ
• ครูมีการเชื่อมโยง         รูปภาพประกอบเนื้อหาที่
ประสบการณ์เดิมทีผเรียน
                   ่ ู้     ต้องการให้ผเรียนเข้าใจถึง
                                           ู้
รู้จักมาช่วยในการจดจำาคำา   ความสัมพันธ์ระหว่างองค์
ศัพท์                       ประกอบ ในการจดจำา
                            • การให้ผเรียนจำาคำาศัพท์
                                        ู้
                            โดยใช้การออกเสียงภาษา
                            อังกฤษทีเหมือนกับภาษา
                                      ่
                            ไทย เช่น pic กับ พริก และ
                            bear กับ แบมือ
ภารกิจที่ 3
  วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มากที่สุด เพราะเหตุใด
วิธีการจัดการเรียนรู้ของ “ครูบุญช่วย”
สอดคล้องกับพระราชบัญญัตการศึกษาแห่ง
                              ิ
ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สุด
       เพราะ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มงเน้น
                                      ุ่
การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนเป็นสำาคัญ
โดยเฉพาะอย่างยิง การสร้างความรู้และ
                  ่
พัฒนากระบวนการคิดที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้
สร้างความรู้ขนมาด้วยตนเอง โดยอาศัยแหล่ง
               ึ้
การเรียนรู้ต่างๆ
เช่น การที่ครูบุญช่วยเตรียมแหล่งการเรียนรู้
  ต่างๆให้กับ
นักเรียน ไม่ว่าจะเป็น หนังสือ วีดิทัศน์ เว็บไซต์
  ที่เกียวข้อง ฯลฯ
        ่
เพือให้ผู้เรียนค้นหาคำาตอบและร่วมมือกันเรียน
   ่
  รู้มีการ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลงมือทดลองเพื่อ
  ทดสอบแนวคิด
ของกลุ่ม โดยมีครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา หลังจาก
  ได้คำาตอบแล้วทุก
ห้องเรียนที่ 2
ภารกิจที่ 1
   ให้ทานวิเคราะห์
       ่
ปัญหาทีเกิดขึ้นว่าน่าจะมี
         ่
สาเหตุมาจากอะไรบ้าง
จากตัวครู

  ครูผสอนไม่สามารถสร้างปัญหาทาง
       ู้
   คณิตศาสตร์ให้นักเรียนรับรู้ได้วาเป็นปัญหา
                                   ่
   ของตนเอง จึงทำาให้นักเรียนรู้สึกว่าเป็นวิชาที่
   ไม่มีความจำาเป็นต้องเรียน
  ครูมุ้งเน้นการสอนให้นักเรียนอย่างเดียวแล้ว
   นักเรียนเป็นผู้รับข้อมูล โดยครูไม่จด
                                      ั
   กระบวนการแก้ปัญหาเป็นกลุ่มหรือจัดการเรียน
   รู้ที่นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นมาได้
   ด้วยตนเอง
 ครูไม่มีเทคนิคการสอนโดยไม่มีการเชื่อม
  โยงเนื้อหาให้เข้ากับชีวตประจำาวันทำาให้
                           ิ
  คณิตศาสตร์ดูเป็นวิชาที่ยากและห่างไกล
  จากชีวตจริง
          ิ
 การที่ครูยึดติดต่อคำาถามที่ต้องการคำาตอบ
  ที่ถูกผิด โดยไม่มีการตั้งคำาถามปลายเปิดที่
  ทำาให้นักเรียนรู้สึกว่าตนเองควรมีส่วนร่วม
  กับการตอบคำาถาม
จากตัว
  นักเรียน

 นักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดีตอวิชาคณิตศาสตร์
                            ่
  เช่น การที่นักเรียนบ่นว่าวิชาคณิตศาสตร์
  "เรียนก็ยาก สูตรก็เยอะ "
 นักเรียนไม่เห็นความสำาคัญของวิชา
  คณิตศาสตร์ เช่น นักเรียนพูดว่า “ไม่รู้จะ
  เรียนไปทำาไม ไม่เห็นได้นำาไปใช้เลย”
 นักเรียนไม่มีแรงจูงใจที่จะมีความ
  กระตือรือร้นในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ จึง
  ทำาให้คิดว่ายากและทำาไม่ได้
ภารกิจที่ 2
     วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรียน
รู้ และการออกแบบการสอนที่
สามารถแก้ปัญหาได้
ทฤษฎีการเรียนรูที่สามารถนำามาใช้แก้
                            ้
  ปัญหา คือ “ทฤษฎีของคอนสตรัคติวิสต์”
  เพราะ
 เป็นการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จึงทำาให้
  นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ และเข้าถึงปัญหาทาง
  คณิตศาสตร์ได้ดี ได้แก้ปัญหาด้วยตนเอง จะ
  ทำาให้ได้เห็นความสำาคัญและเข้าใจในเนื้อหา
  ได้
 เป็นการที่เชื่อมโยงกับความรู้และประสบการณ์
  เดิม ทำาให้นักเรียนได้รู้ว่ามีความเกียวเนื่องกัน
                                       ่
  และเห็นความสำาคัญยิ่งขึ้น
การออกแบบการสอนที่สามารถแก้
  ปัญหาได้ คือ
 ครูเป็นผูผลิตสื่อต่างๆที่ใช้ในการประกอบการ
           ้
  สอน ไม่ว่าจะเป็น วีดิทัศน์ สไลด์ คอมพิวเตอร์
  ช่วยสอน และสื่อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น
 ในห้องเรียนครูจะเป็นผูชี้แนะปัญหาให้นักเรียน
                          ้
  และการสอนจะไม่ใช่การบรรยายเพียงอย่าง
  เดียว มีสื่อประกอบและสิ่งที่น่าสนใจด้วย
 ครูผสอนจะต้องมีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ มี
      ู้
  การเตรียมการสอนที่ดพร้อมสำาหรับการสอน
                        ี
ภารกิจที่ 3
    ออกแบบการจัดการเรียนรู้
ทีสามารถแก้ปัญหาดังกล่าว
  ่
ได้
ออกแบบการจัดการเรียนรูที่    ้
 สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้
 การสร้างสถานการณ์ปัญหาขึ้นมาเพื่อให้
 นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการเรียน
 รู้และแสวงหาคำาตอบด้วยตนเอง
 จัดกลุ่มการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนได้ร่วม
 กันแก้ปัญหาเป็นกลุ่มจะได้เห็นถึงปัญหา
 ที่แท้จริงร่วมกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหา
 นั้นๆได้
 การเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง การหา
 แหล่งข้อมูลมาให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วย
 ตนเอง
 ผลิตสื่อที่มาประกอบการเรียนรู้ของนักเรียน
 เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ดียงขึ้น และรู้สึกว่า
                              ิ่
 คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่น่าเรียนมากยิ่งขึ้น

 การตั้งคำาถามแบบปลายเปิดเพื่อให้นักเรียน
 ได้แสดงแนวคิดของตนเองที่ไม่มีวาถูกผิด
                                   ่
 เด็กจะได้รู้สึกว่าคณิตศาสตร์อยู่ใกล้ตัว และ
 ค้นหาได้
บรรณานุกร
        ม
    เอกสารประกอบการ
เรียนรู้ รายวิชา นวัตกรรม
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการเรียนรู้ 241 203
รายชื่อ
            สมาชิก
1. นางสาวณัฐธิดา     นามบุดดี
   543050018-1
2. นางสาวสุรีรตน์
              ั       สุมาลัย
   543050074-1
3. นางสาวพรชนก        เทียมทัด
   543050358-7
       คณิตศาสตรศึกษา ชันปีที่ 2
                         ้
    241 203 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
         สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมPom Pom Insri
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 

Was ist angesagt? (15)

ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 

Andere mochten auch

Andere mochten auch (20)

บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e bookบทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
บทที่ 4 เรื่องทำงานกับไฟล์ e book
 
2011 08-15 - a menina feia
2011 08-15 - a menina feia2011 08-15 - a menina feia
2011 08-15 - a menina feia
 
Afstuderen kirsten
Afstuderen kirstenAfstuderen kirsten
Afstuderen kirsten
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
第九章 查找[3]
第九章 查找[3]第九章 查找[3]
第九章 查找[3]
 
193 596-1-pb
193 596-1-pb193 596-1-pb
193 596-1-pb
 
Paradojas
ParadojasParadojas
Paradojas
 
Государи
ГосудариГосудари
Государи
 
Dia da Arte 09/10
Dia da Arte 09/10Dia da Arte 09/10
Dia da Arte 09/10
 
2014 05-08 - 9 b - ci crus vermelha - aifn
2014 05-08 - 9 b - ci crus vermelha - aifn2014 05-08 - 9 b - ci crus vermelha - aifn
2014 05-08 - 9 b - ci crus vermelha - aifn
 
Metro style ハッカソンに参加してきた
Metro style ハッカソンに参加してきたMetro style ハッカソンに参加してきた
Metro style ハッカソンに参加してきた
 
מקבילית המוחות המאוהבים
מקבילית המוחות המאוהביםמקבילית המוחות המאוהבים
מקבילית המוחות המאוהבים
 
Dotmagz#2
Dotmagz#2Dotmagz#2
Dotmagz#2
 
Memeliharaalat
MemeliharaalatMemeliharaalat
Memeliharaalat
 
Ep2162757 B1
Ep2162757 B1Ep2162757 B1
Ep2162757 B1
 
10052012 dries pruis casus de lift
10052012 dries pruis casus de lift10052012 dries pruis casus de lift
10052012 dries pruis casus de lift
 
第七章 图[3]
第七章 图[3]第七章 图[3]
第七章 图[3]
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Ugur KayserilioğLu Tr Rev5
Ugur KayserilioğLu Tr Rev5Ugur KayserilioğLu Tr Rev5
Ugur KayserilioğLu Tr Rev5
 
16.07
16.0716.07
16.07
 

Ähnlich wie ระดับครผู้ช่วย

งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 

Ähnlich wie ระดับครผู้ช่วย (20)

ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 

ระดับครผู้ช่วย

  • 1.
  • 2.
  • 3. ภารกิจที่ 1 ให้ทานวิเคราะห์วิธีการจัดการ ่ เรียนรู้ของครูแต่ละคนว่าอยู่ใน กระบวนทัศน์การออกแบบการสอน ใดและมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการ เรียนรู้ใดบ้าง พร้อมอธิบายเหตุผล
  • 4.  กระบวนทัศน์การออกแบบการ สอนของครูบุญมี คือ การเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เพราะครูบุญมี เน้นการถ่ายทอด เนือหาไปยังผู้เรียน ้ โดยตรง นักเรียนมีหน้าที่ในการรับความ รู้จากครูเพียงฝ่ายเดียว ให้นกเรียนจดจำา ั เนือหาจากสิ่งที่ครูสอน ้
  • 5.  การจัดการเรียนรูของครูบุญมีมีพื้นฐานมา ้ จาก “ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม” เพราะมุ่งเน้นการ ออกแบบ เพื่อให้ผเรียนสามารถจดจำาความรู้ให้ได้ใน ู้ ปริมาณมากที่สุด บทบาทของผูเรียน เป็นผูรอรับข้อมูล ้ ้ สารสนเทศ บทบาทของครู จะเป็นผูนำาเสนอข้อมูล ้ สารสนเทศ เช่น การที่ครูให้นักเรียนจดบันทึกใน
  • 6.  กระบวนทัศน์การออกแบบการ สอนของครูบุญช่วย คือ การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพราะครูบุญช่วยจะสร้างสือต่างๆ และมี ่ กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ดวย ้ ตนเองจากสือการเรียนรู้ที่ครูบญช่วยจัด ่ ุ ทำาให้
  • 7.  การจัดการเรียนรู้ของครูบุญช่วยมีมี พื้นฐานมาจาก “ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์” ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ คือ การ สร้างความรู้ซึ่งมาจากพื้นฐานที่ว่าการ เรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่ง แทนความรู้ในความจำาในระยะทำางาน อย่างตื่นตัว และอาศัยการเชือมโยงกับ ่ ประสบการณ์เดิมของนักเรียน
  • 8. บทบาทของผูเรียน เป็นผูลงมือกระทำา ้ ้ อย่างตื่นตัว บทบาทของครู เป็นผู้แนะแนวทาง พุทธิปัญญา ซึงจะจัดแนะแนวและเป็นโมเดล ่ ในภารกิจการเรียนตามสภาพจริง เช่น การแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มแล้ว มอบสถานการณ์ปัญหาหรือภารกิจการเรียนรู้ ให้ผเรียนทุก ๆ กลุม และครูเป็นผู้ให้คำา ู้ ่ แนะนำา หากพบว่ามีผเรียนคนใดหรือกลุมใด ู้ ่ เข้าคลาดเคลื่อนครูก็จะเข้าไปอธิบาย กระตุน ้
  • 9.  กระบวนทัศน์การออกแบบการ สอนของ ครูบญชู คือ ุ การเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เพราะ ครูเป็นผู้ถ่ายทอดและสร้างความรู้ เทคนิคต่างๆไปสูผู้เรียน โดยนักเรียน ่ ไม่ได้สร้างขึ้นมาเอง
  • 10.  การจัดการเรียนรู้ของครูบุญชูมีพื้นฐาน มาจาก “ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม” เพราะผู้ เรียนมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้น สามารถจัด รวบรวมสิ่งที่เรียนรู้เหล่านันให้เป็น ้ ระเบียบ เพื่อสามารถเรียกกลับมาใช้ได้ ตามที่ต้องการ ผู้เรียนสามารถวาง สารสนเทศใหม่ในความจำาระยะยาว
  • 11. บทบาทของผู้เรียน เป็นผู้รอรับ สารสนเทศ บทบาทของครู จะเป็นผู้นำาเสนอข้อมูล สารสนเทศ เช่น การที่ครูบญชูมีเทคนิคที่นาสนใจ ุ ่ ให้นักเรียนจดจำาได้ง่าย ได้แก่ การแต่งเป็น บทเพลง การใช้คำาคล้องจองการใช้แผนภูมิ รูปภาพประกอบเนือหาที่ต้องการให้ผู้เรียน ้ เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
  • 12. ภารกิจที่ 2 วิธีการเรียนรู้ของครูแต่ละ คนมีข้อดีและข้อเด่นอย่างไร
  • 13. ข้อดี ข้อเด่น • การมีสื่อประกอบการสอน • ครูจะมีการใช้การบรรยาย เช่น บทเรียนโปรแกรม ในการสอน และชุดการสอน • หากมีเนื้อหาที่สำาคัญจะ • มีการสอบเก็บคะแนน เน้นยำ้าให้นกเรียนจดบันทึก ั ถ้านักเรียนสอบตกก็จะให้ และท่องซำ้า สอบใหม่จนกว่าจะผ่าน • ครูจะให้นักเรียนท่องคำา ตามเกณฑ์ ศัพท์วันละ 5 คำา
  • 14. ข้อดี ข้อเด่น • ให้ผเรียนค้นหาคำาตอบ ู้ • ครูมีการเชื่อมโยงเนื้อหา และร่วมมือกันเรียนรู้มีการ ที่เรียนกับประสบการณ์เดิม แลกเปลียนประสบการณ์ ่ ของผูเรียน เช่น การใช้ ้ การลงมือทดลองเพื่อ คำาถาม การยกตัวอย่าง ทดสอบแนวคิดของกลุ่ม เหตุการณ์ในชีวิตประจำาวัน โดยมีครู ข่าวสารต่าง ๆ เป็นผูให้คำาแนะนำา ้ เป็นต้น • ครูมีการเตรียมแหล่งการ • หลังจากได้คำาตอบแล้ว เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ ทุกกลุ่มก็จะนำาเสนอ วีดทัศน์ เว็บไซต์ที่ ิ แนวคิดความ และร่วมกับ เกี่ยวข้อง ฯลฯ ให้กับ สรุปบทเรียนเป็นความ นักเรียนในการเรียนรู้ เข้าใจของตนเอง เกิดการ
  • 15. ข้อดี ข้อเด่น • ครูสอนให้นักเรียนจำาคำา • ครูมีเทคนิคต่างๆ เช่น การ ศัพท์ภาษาอังกฤษได้โดย แต่งเป็นบทเพลง การใช้คำา ไม่ลม ื คล้องจอง การใช้แผนภูมิ • ครูมีการเชื่อมโยง รูปภาพประกอบเนื้อหาที่ ประสบการณ์เดิมทีผเรียน ่ ู้ ต้องการให้ผเรียนเข้าใจถึง ู้ รู้จักมาช่วยในการจดจำาคำา ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ ศัพท์ ประกอบ ในการจดจำา • การให้ผเรียนจำาคำาศัพท์ ู้ โดยใช้การออกเสียงภาษา อังกฤษทีเหมือนกับภาษา ่ ไทย เช่น pic กับ พริก และ bear กับ แบมือ
  • 16. ภารกิจที่ 3 วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สุด เพราะเหตุใด
  • 17. วิธีการจัดการเรียนรู้ของ “ครูบุญช่วย” สอดคล้องกับพระราชบัญญัตการศึกษาแห่ง ิ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สุด เพราะ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มงเน้น ุ่ การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนเป็นสำาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิง การสร้างความรู้และ ่ พัฒนากระบวนการคิดที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ สร้างความรู้ขนมาด้วยตนเอง โดยอาศัยแหล่ง ึ้ การเรียนรู้ต่างๆ
  • 18. เช่น การที่ครูบุญช่วยเตรียมแหล่งการเรียนรู้ ต่างๆให้กับ นักเรียน ไม่ว่าจะเป็น หนังสือ วีดิทัศน์ เว็บไซต์ ที่เกียวข้อง ฯลฯ ่ เพือให้ผู้เรียนค้นหาคำาตอบและร่วมมือกันเรียน ่ รู้มีการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลงมือทดลองเพื่อ ทดสอบแนวคิด ของกลุ่ม โดยมีครูเป็นผู้ให้คำาแนะนำา หลังจาก ได้คำาตอบแล้วทุก
  • 20. ภารกิจที่ 1 ให้ทานวิเคราะห์ ่ ปัญหาทีเกิดขึ้นว่าน่าจะมี ่ สาเหตุมาจากอะไรบ้าง
  • 21. จากตัวครู  ครูผสอนไม่สามารถสร้างปัญหาทาง ู้ คณิตศาสตร์ให้นักเรียนรับรู้ได้วาเป็นปัญหา ่ ของตนเอง จึงทำาให้นักเรียนรู้สึกว่าเป็นวิชาที่ ไม่มีความจำาเป็นต้องเรียน  ครูมุ้งเน้นการสอนให้นักเรียนอย่างเดียวแล้ว นักเรียนเป็นผู้รับข้อมูล โดยครูไม่จด ั กระบวนการแก้ปัญหาเป็นกลุ่มหรือจัดการเรียน รู้ที่นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นมาได้ ด้วยตนเอง
  • 22.  ครูไม่มีเทคนิคการสอนโดยไม่มีการเชื่อม โยงเนื้อหาให้เข้ากับชีวตประจำาวันทำาให้ ิ คณิตศาสตร์ดูเป็นวิชาที่ยากและห่างไกล จากชีวตจริง ิ  การที่ครูยึดติดต่อคำาถามที่ต้องการคำาตอบ ที่ถูกผิด โดยไม่มีการตั้งคำาถามปลายเปิดที่ ทำาให้นักเรียนรู้สึกว่าตนเองควรมีส่วนร่วม กับการตอบคำาถาม
  • 23. จากตัว นักเรียน  นักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดีตอวิชาคณิตศาสตร์ ่ เช่น การที่นักเรียนบ่นว่าวิชาคณิตศาสตร์ "เรียนก็ยาก สูตรก็เยอะ "  นักเรียนไม่เห็นความสำาคัญของวิชา คณิตศาสตร์ เช่น นักเรียนพูดว่า “ไม่รู้จะ เรียนไปทำาไม ไม่เห็นได้นำาไปใช้เลย”  นักเรียนไม่มีแรงจูงใจที่จะมีความ กระตือรือร้นในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ จึง ทำาให้คิดว่ายากและทำาไม่ได้
  • 24. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรียน รู้ และการออกแบบการสอนที่ สามารถแก้ปัญหาได้
  • 25. ทฤษฎีการเรียนรูที่สามารถนำามาใช้แก้ ้ ปัญหา คือ “ทฤษฎีของคอนสตรัคติวิสต์” เพราะ  เป็นการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จึงทำาให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ และเข้าถึงปัญหาทาง คณิตศาสตร์ได้ดี ได้แก้ปัญหาด้วยตนเอง จะ ทำาให้ได้เห็นความสำาคัญและเข้าใจในเนื้อหา ได้  เป็นการที่เชื่อมโยงกับความรู้และประสบการณ์ เดิม ทำาให้นักเรียนได้รู้ว่ามีความเกียวเนื่องกัน ่ และเห็นความสำาคัญยิ่งขึ้น
  • 26. การออกแบบการสอนที่สามารถแก้ ปัญหาได้ คือ  ครูเป็นผูผลิตสื่อต่างๆที่ใช้ในการประกอบการ ้ สอน ไม่ว่าจะเป็น วีดิทัศน์ สไลด์ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน และสื่อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น  ในห้องเรียนครูจะเป็นผูชี้แนะปัญหาให้นักเรียน ้ และการสอนจะไม่ใช่การบรรยายเพียงอย่าง เดียว มีสื่อประกอบและสิ่งที่น่าสนใจด้วย  ครูผสอนจะต้องมีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ มี ู้ การเตรียมการสอนที่ดพร้อมสำาหรับการสอน ี
  • 27. ภารกิจที่ 3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ทีสามารถแก้ปัญหาดังกล่าว ่ ได้
  • 28. ออกแบบการจัดการเรียนรูที่ ้ สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้  การสร้างสถานการณ์ปัญหาขึ้นมาเพื่อให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการเรียน รู้และแสวงหาคำาตอบด้วยตนเอง  จัดกลุ่มการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนได้ร่วม กันแก้ปัญหาเป็นกลุ่มจะได้เห็นถึงปัญหา ที่แท้จริงร่วมกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหา นั้นๆได้  การเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง การหา แหล่งข้อมูลมาให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วย ตนเอง
  • 29.  ผลิตสื่อที่มาประกอบการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ดียงขึ้น และรู้สึกว่า ิ่ คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่น่าเรียนมากยิ่งขึ้น  การตั้งคำาถามแบบปลายเปิดเพื่อให้นักเรียน ได้แสดงแนวคิดของตนเองที่ไม่มีวาถูกผิด ่ เด็กจะได้รู้สึกว่าคณิตศาสตร์อยู่ใกล้ตัว และ ค้นหาได้
  • 30. บรรณานุกร ม เอกสารประกอบการ เรียนรู้ รายวิชา นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้ 241 203
  • 31. รายชื่อ สมาชิก 1. นางสาวณัฐธิดา นามบุดดี 543050018-1 2. นางสาวสุรีรตน์ ั สุมาลัย 543050074-1 3. นางสาวพรชนก เทียมทัด 543050358-7 คณิตศาสตรศึกษา ชันปีที่ 2 ้ 241 203 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้