SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
LOGO
อ. ศกุนตลา สายใจ
LOGO
อาหารที่มีการปนเปื้อนมลสารต่างๆ โดยบังเอิญ หรือเจือปน
โดยความจงใจ ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายมนุษย์
1. มลสารที่ปนเปื้อน
2. มลสารที่เจือปน
มลพิษอาหาร
LOGO
1. มลสารที่ปนเปื้อน
คือสารที่ปะปนมาในอาหารโดยธรรมชาติหรือการกระทาของมนุษย์โดย
ไม่ได้เจตนาได้แก่
-สารพิษจากเชื้อราและแบคทีเรีย
-สารพิษจากโลหะหนัก
-สารพิษในพืช และ ในสัตว์
-ภาชนะบรรจุอาหาร
LOGO
2. มลสารที่เจือปน
คือสารที่ถูกใส่ในอาหารโดยความตั้งใจของมนุษย์เป็นสารเคมีที่
ไม่ใช่สารอาหาร ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ ใส่เพื่อเปลี่ยนแปลงรส
กลิ่น สี หรือเพื่อป้องกันการบูดเน่า
ได้แก่ สารปรุงแต่งสี สารชูรส สารกันบูด สารกันหืน บอแรกซ์ ดิน
ปะสิว สารฟอกสี สารให้รสหวาน สารที่ทาให้เนื้อเปื่อยนุ่ม หรือ
สารคลอรีนในน้าประปา
LOGO
 จุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค ได้แก่ แบคทีเรีย ยีสต์ รา และไวรัส ที่ทาให้เกิดโรค
พยาธิ
อันตรายทางชีวภาพ
Salmonella
Aspergillus flavus
Taenia solium
Clostridium botulinum
LOGO
สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์
สารพิษจากเชื้อรา = ไมโคทอกซิน (Mycotoxin)
1.1 อะฟลาทอกซิน
1.2 สเตอริมาโตซิสติน
1.3 โอคราทอกซิน
1.4 ซิทรินิน
1.5 พาทูลิน
Aspergillus sp.
Penicillum sp.
LOGO
ชื่อไมโครทอกซิน
ผลต่อสัตว์ทดลอง
อาหารที่ปนเปื้อนชนิดของสัตว์ ความผิดปกติที่พบ
อะฟลาทอกซินชนิดB1 B2
G1 G2 M1 และ M1
สัตว์ปีก เช่น ลูกเป็ด ไก่งวง
ไก่ ลูกไก่ นกกระทา สัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนมเช่น ลูกสุกร ลูกวัว
สุนัข แพะ ลิง แมว ปลา และ
คน
- มีพิษต่อตับทาลายตับ
- มีเลือดออกที่ลาไส้เล็ก
และไต
- ท่อน้าดีโต
- เนื้องอกที่ตับ
- สารก่อมะเร็ง
ถั่วลิสง หัวหอม พริกแห้ง
ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวเจ้า
เมล็ดฝ้าย มะพร้าวแห้ง นัท
ต่างๆ น้านม ไข่ และเนยแข็ง
สเตอริกมาโตซิสติน หนู ห่าน สุนัข ลูกเป็ด - เป็นพิษต่อไตกรวยไต กาแฟ ข้าวสาลีขึ้นรา เนยแข็ง
โอคราทอกซิน เอ ไก่ และหนู - ทาลายตับ
- ทาให้ตัวอ่อนพิการ
- เป็นพิษต่อไต
ธัญพืช ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ข้าว
บาร์เลย์ข้าวโพด ถั่วเมล็ดแห้ง
ซิทรินิน ห่าน สุนัข - ทาให้ไตพิการเฉียบพลัน ธัญพืช ข้าวสาลี ข้าวเจ้า ข้าว
บาร์เลย์และข้าวโพด
พาทูลิน สัตว์ปีกเช่น ลูกไก่ นกกระทา
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น แมว
โค หนูและกระต่าย
- ไต ปอดและสมองบวม
- มีเลือดออกที่ปอด
- เส้นเลือดฝอยถูกทาลาย
ที่ตับ ม้าม ไต
- เป็นอัมพาต
- สารก่อมะเร็ง
อาหารสัตว์ที่ขึ้นรา แอปเปิลที่
ขึ้นรา น้าแอปเปิล ฟางข้าวสาลี
LOGO
อะฟลาทอกซิน (Aflatoxin)
Aspergillus flavus สายพันธุ์ B1 B2 G1 G2 M1 M2
พิษของอะฟลาทอกซิน
* เป็นสารก่อมะเร็งตับ ปอด ไต และลาไส้ใหญ่
* อาการเฉียบพลัน ในเด็กอายุไม่เกิน 10 ขวบ จะมีอาการไข้
สูง อาเจียน ทรุดตัวอย่างรวดเร็ว และอาจตายภายใน 47-
72 ชั่วโมง
* ถั่วลิสงป่น เนยถั่ว กากถั่วลิสง น้ามันถั่วลิสง พริกป่น ข้าว
และข้าวโพด
LOGO
สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์ (ต่อ)
สารพิษจากแบคทีเรีย (Bacterial toxins)
• Exotoxin
• Endotoxin
Escherichia coliStaphylococcus aureus
Bacillus cereus
Clostridium botulinum
LOGO
ระยะฟักตัว : 24 ชม.โดยเฉลี่ย (ตั้งแต่ 5-72 ชม.)
อาการของโรค : คลื่นไส้,อาเจียน,ปวดท้อง,หนาวสั่น,ท้องร่วง,ไข้
ระยะเวลาป่ วย : ประมาณ 3 วัน (ตั้งแต่ 1-14 วัน)
อาหารที่เป็ นพาหะ : ไข่,สัตว์ปีก,เนื้อสัตว์,ผลิตภัณฑ์จากนม,ผัก,ผลไม้
Salmonella sp.
LOGO
Staphylococcus aureus
ระยะเวลาฟักตัว : 3 ชม. โดยเฉลี่ย ( ตั้งแต่ 1-6 ชม. )
อาการของโรค : คลื่นไส้,อาเจียน,ปวดท้องรุนแรง,ท้องร่วง,
ลาไส้เกร็งหด, ปวดศีรษะ, มีโรคแทรกซ้อน
ระยะเวลาป่ วย : 1-2 วัน
อาหารที่เป็นพาหะที่เคยพบ : แฮม, หมู, สัตว์ปีก, ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่
ผลิตสารพิษที่ทนความร้อนได้สูงมาก (ประมาณ 110๐ C 30 นาที)
LOGO
Vibrio cholerae (อหิวาต์)
ระยะฟักตัว : 22 ชม.โดยเฉลี่ย
(ตั้งแต่ ½ ชม. – 5 วัน)
อาการของโรค : ท้องร่วงรุนแรง, ปวดท้อง,
คลื่นไส้,อาเจียน,เวียนศีรษะ,ช็อค
ระยะเวลาป่ วย : 1-5 วัน
อาหารที่เป็ นพาหะ : ปู, กุ้ง, หอย, กั้ง
LOGO
Clostridium botulinum
ระยะฟักตัว : ตั้งแต่ 12-72 ชม.
อาการของโรค : คลื่นไส้,อาเจียน,อ่อนเพลีย,วิงเวียน,ปวดศีรษะ,ปากและคอแห้ง,
ท้องผูก, กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต, การหายใจล้มเหลวและตายในที่สุด
ระยะเวลาป่ วย : ตั้งแต่ 1-10 วัน หรือมากกว่า
อาหารที่เป็นพาหะ : อาหารกระป๋ อง, อาหารพวกผัก, ผลไม้, ปลา, เครื่องเทศ, เนื้อ,
สัตว์ปีกที่ถนอมรักษาไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท
LOGO
Escherichia coli ( E.coli )
ระยะฟักตัว : 3-4 วัน
อาการของโรค : ปวดท้องรุนแรง, ถ่ายเป็นเลือด, คลื่นไส้,
อาเจียน, เป็นไข้, ไตวาย
ระยะเวลาป่ วย : 4-10 วัน หรือมากกว่าถ้าไตวาย
อาหารที่เป็นพาหะ : อาหาร,นม, เครื่องดื่ม, น้า ที่มีเชื้อนี้ปนเปื้อน
• กรรมวิธีการปรุงประกอบอาหาร ไม่ถูกต้อง ทาลายเชื้อไม่หมด
• มีการปนเปื้อนเชื้อโรคจากอาหารดิบลงสู่อาหารที่ปรุงสุกแล้ว
• พนักงานเป็นพาหะของเชื้อและมีสุขลักษณะส่วนบุคคลที่ไม่ดี
LOGO
Bacillus cereus
ระยะฟักตัว : 8-16 ช.ม.
อาการ : ถ่ายเหลวเป็นน้า, ปวดท้อง
รุนแรง, คลื่นไส้, ปวดเบ่ง
ระยะเวลาป่วย: 6-12 ช.ม.
อาหารที่เป็นพาหะ: อาหารพวกแป้ ง, ข้าว,
ข้าวโพด, มันฝรั่ง, ผัก, ซุบ,เนื้อสัตว์
สารพิษที่ไม่ทนความร้อน
ระยะฟักตัว: 1-6 ช.ม.
อาการ : อาเจียน, ปวดท้องรุนแรง
อาจท้องร่วง
ระยะเวลาป่วย: 8-10 ช.ม.
อาหารที่เป็นพาหะ: ข้าวผัด, ข้าวต้ม,
ข้าวสวย
สารพิษทนความร้อน
สร้างสปอร์ได้ Fried Rice
Syndrome
LOGO
• ตัวตืดวัว (Taenia saginata) และตัวตืดหมู (Taenia solium)
• วัว ควายหรือหมูกินไข่พยาธิเข้าไปแล้ว ไข่จะโตเป็นระยะตัวอ่อนเรียก “เม็ดสาคู”
• เมื่อคนกินอาหารที่มีตัวอ่อนพยาธิอยู่ โดยกินดิบหรือสุกๆ ดิบๆ ตัวอ่อนก็จะโต
เป็นพยาธิตัวแก่ในลาไส้เล็กของคน
• ถ้าคนกินไข่พยาธิที่ปะปนกับอาหารหรือน้าดื่ม ไข่พยาธิก็จะโตเป็นระยะตัวอ่อน
เม็ดสาคูในร่างกายคน โดยไปอยู่ตามอวัยวะต่างๆ เช่น สมอง ตา หัวใจ ปอด และ
กล้ามเนื้อ ทาให้เกิดอาการรุนแรง เมื่ออยู่ในอวัยวะที่สาคัญๆ เช่น ในสมองและไข
สันหลัง บางทีรุนแรงอาจถึงตายได้ หรือ ตาบอดเมื่ออยู่ในตา
พยาธิตัวตืด
LOGO
อาการหิวบ่อย รับประทานอาหารมาก แต่ร่างกายผอมลง รู้สึก
อ่อนเพลีย มีอาการท้องอืดท้องเฟ้ อ ไม่สบายท้อง และอาจมีอาการ
ท้องเสียร่วมด้วย อาการเหล่านี้เป็นอาการแสดงว่า อาจมีพยาธิตัวตืด
(Taenia spp.) อยู่ในร่างกาย เนื่องจากคนถูกตัวตืดแย่งอาหาร หรืออาจ
มีอาการทางประสาท นอนไม่หลับ หรือเวียนศีรษะได้
LOGO
 ในเขตชนบทหรือในหมู่บ้านชาวเขาทางภาคเหนือมักจะ
พบเห็นเด็กเล็กที่มีภาวะขาดสารอาหาร มีอาการซีด
น้าหนักลด ผอม พุงโล เนื่องจากพยาธิไส้เดือนแย่งอาหาร
 บางรายมีอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ทานอาหาร
ไม่ได้ เมื่อนามาส่ง โรงพยาบาลพบพยาธิไส้เดือนอุดตันใน
ลาไส้เป็นจานวนมาก บางรายที่มีพยาธิจานวนมากอาจ
พบพยาธิหลุดออกมาทางจมูก ขณะที่จามหรือไอแรง ๆ
ได้
 คนที่เป็นโรคพยาธิไส้เดือนถ่ายอุจจาระลงดิน ทาให้มีไข่
พยาธิปนอยู่ในดิน เด็กเล็กที่ชอบเล่นคลุกคลีกับดิน จะมี
ไข่พยาธิติดมากับขี้เล็บหรือมือ เมื่อเด็กอมมือหรือกิน
อาหารโดยไม่ล้างมือให้สะอาดจะทาให้ไข่พยาธิเข้าไปใน
ปากได้ หรือไข่พยาธิปนเปื้อนมากับอาหารหรือน้าดื่ม
เนื่องจากคนนาอุจจาระมาทาปุ๋ ยรดผัก
พยาธิไส ้เดือน
LOGO
พยาธิตัวจี๊ด
 มีสาเหตุมาจากพยาธิตัวกลมที่มีชื่อทาง
วิทยาศาสตร์ว่า แนธโธสโตมา สไปนิจิรัม
(Gnathostoma spinigerum)
 สัตว์ที่ตรวจพบว่ามีตัวอ่อนระยะติดต่อของพยาธิ
ตัวจี๊ดอยู่ ได้แก่ ปลาน้าจืด เช่น ปลาช่อน ปลาไหล
ปลาดุก
 อาหารที่ปรุงสุกๆ ดิบๆ หรืออาหารหมักที่ทาจาก
ปลาน้าจืด เช่น ส้มฟัก ปลาร้า ปลาเจ่า หรือเนื้อสัตว์
อื่นๆ อาจพบว่ามีตัวอ่อนระยะติดต่อของพยาธิตัวจี๊ด
อยู่
 อาการ มีอาการบวมที่ผิวหนังบริเวณที่พยาธิ
เคลื่อนที่ไป
LOGO
สารพิษในอาหารตามธรรมชาติ
ลักษณะการออกฤทธิ์ของสารพิษในเห็ด
1. พิษที่ค่อนข ้างเฉียบพลัน คือ จะเกิดอาการภายใน 3 ชั่วโมง มีอาการที่
ระบบประสาท
2. พิษที่ค่อนข ้างช ้า คือ จะเกิดอาการหลังจากรับพิษไป 6-15 ชั่วโมง มี
พิษต่อตับ ตัวเหลือง และเสียชีวิตภายใน 6-8 วัน
LOGO
สารพิษในอาหารตามธรรมชาติ
มันฝรั่ง
• สารโซลานีน และคาโคนีน สะสม
อยู่ที่เปลือกมันฝรั่ง
• มีพิษต่อระบบประสาท
• สารพิษถูกทาลายได ้ด ้วยความร ้อน
ถั่วดิบ
• มีพิษยับยั้งการย่อยสลายโปรตีน
ร่างกายจึงไม่สามารถนาโปรตีนไป
ใช ้ได ้
• สารพิษถูกทาลายได ้ด ้วยความร ้อน
LOGO
• มีอาการชาตามริมฝีปากปลายนิ้ว
มือนิ้วเท ้า
• เวียนศีรษะ อาเจียน
• กล ้ามเนื้ออ่อนแรงจนเป็นอัมพาต
• หายใ จไม่ออก และเสียชีวิต
ภายใน 2-4 ชั่วโมง
• มีอ า ก า ร ริม ฝี ป า ก สั่น ก ร ะ ตุก
อ่อนเพลีย และชาปลายนิ้วมือ
นิ้วเท ้า เสียแหบลง รวมทั้งคลื่นไส ้
อาเจียน แขนขาไม่มีแรง กล ้ามเนื้อ
เป็นอัมพาตทั้งตัว
• หายใจไม่ออก ไม่รู้สึกตัว และถึง
แก่ความตาย ภายใน 6-24 ชั่วโมง
ปลาปักเป้ า แมงดาถ้วย
สารพิษในอาหารตามธรรมชาติ
LOGO
พิษจากสารปรุงแต่งอาหาร
LOGO
พิษของโลหะหนักในสีผสมอาหาร
• โครเมียม
เวียนศีรษะ กระหายน้าอย่างรุนแรง อาเจียน หมดสติ และเสียชีวิต
เนื่องจากไตไม่ทางาน
• ตะกั่ว
ร่างกายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ โลหิตจาง ถ ้ามีสะสมมาก
ขึ้นจะทาให ้มีอาการอัมพาตที่แขนขา สมองไม่ปกติ ชักกระตุก และหมดสติใน
เวลาต่อมา
• ปรอท
กรณีเฉียบพลันจะมีอาการคลื่นไส ้ ท ้องเดิน ปวดมวนท ้องรุนแรง ถ ้า
สะสมเรื้อรังเหงือกจะบวมแดง คล้า ฟันตาย หลุดง่าย เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
• สารหนู
อันตรายต่อระบบทางเดินอาหาร ตับอักเสบ เกิดอันตราย ต่อระบบ
โลหิต และหัวใจวายได ้
LOGO
 น้าประสานทอง ผงกรอบ ผงเนื้อนุ่ม
 Sodium tetraborate
 ผงละเอียดสีขาว ละลายน้าได ้ดี
 พบในอาหารจาพวก ทับทิมกรอบ ครองแครง สาคู รวมมิตร
ลอดช่อง ลูกชิ้นปลา และหมูยอ
 ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง คัน ผมร่วง อาเจียน ท ้องร่วง เป็นไข ้
 เกิดสะสมในสมอง ตับ ไตพิการ ทาลายเนื้อเยื่อ เซลล์ตาย
ทาลายเม็ดเลือดแดง
บอแรกซ์
LOGOwww.themegallery.com
 นิยมบริโภคเพราะมีฤทธิ์กระตุ้นประสาทรับรส ทาให ้อาหารมีรสชาติดี
บดบังกลิ่นบางอย่างที่ไม่ต ้องการ และเน้นรสชาติอาหาร ห ้ามทานเกิน
วันละ 6 กรัม (1 ช ้อนชา)
 ผงชูรสจริง หรือ โมโนโซเดียมกลูตาเมต
 ผงชูรสปลอม คือ โซเดียมเมตาฟอสเฟต
 อาการชาที่ปากและลิ้น กระหายน้า ร ้อนวูบวาบบนใบหน้า มีผื่นแดงขึ้น
ตามตัว แน่นหน้าอก
ผงชูรส = monosodium glutamate: MSG
LOGOwww.themegallery.com
ผงชูรส
ผงชูรสจริง ผงชูรสปลอม
ผลึก
แท่งยาว คอดตรงกลาง
ไม่มัน ไม่มีสี
แท่งยาวเรียบเสมอกัน
ใส มันวาว
การทดสอบ
- เผาไฟ
เกิดผงสีดา เกิดเถ ้าผงสีขาว
- ปูนขาว+
กรดน้าส ้ม
สารละลายใส เกิดตะกอนขุ่นขาว
LOGO
 Potassium nitrate ห้ามใช้เกิน 500 mg ต่อเนื้อสัตว์ 1 kg
 เบคอน ไส ้กรอก แหนม หมูยอ กุนเชียง
 ทาให ้อาหารมีกลิ่นและรสเฉพาะ เพื่อให ้มีสีสวยเก็บได ้นานเพราะ
สามารถยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ได ้
 อันตราย  อาเจียน ปวดท ้อง ท ้องเสียอย่างรุนแรง สะสมเป็น
ประจา จะทาให ้เกิดโรคโลหิตจาง อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่า
ดินปะสิว
LOGO
สารแต่งรสหวาน (น้าตาลเทียม)
แซคคาริน หรือ ขัณฑสกร (saccharin) = หวานกว่าน้าตาล 300-500 เท่า
ใช้ผสมอาหาร เครื่องดื่ม ไอศกรีม ของดอง สามารถทาให้เกิดโรคมะเร็ง
ในกระเพาะปัสสาวะ เป็นพิษต่อเด็กในครรภ์ จึงถูกประกาศห้ามใช้
(พ.ศ.2507)
ดัลซิน (dulcin) = หวานกว่าน้าตาล 200 เท่า ให้เกิดโรคมะเร็งตับ จึงถูก
ประกาศห้ามใช้ (พ.ศ.2507)
ไซคลาเมต (cyclamate) = หวานกว่าน้าตาล 30 เท่า ละลายน้าได้ดี ทาให้
เกิดมะเร็งในกระเพาะปัสสาวะ ทาให้เลือดออกในระบบทางเดินอาหาร
ประกาศห้ามใช้
แอสปาร์เทม (aspartame) = หวานกว่าน้าตาล 180-200 เท่า ยังไม่พบ
รายงานถึงการเกิดพิษ จึงสามารถใช้ในอาหาร และกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
และโรคไต
LOGO
สารฟอกขาว
-โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ (sodium hydrosulfite) หรือผงซักมุ้ง เป็นสารเคมีที่ใช้ฟอกแหอวน
แต่มีแม่ค้าบางรายนามาใช้ฟอกขาวในอาหาร เพื่อให้อาหารมีสีขาว
- อันตรายต่อสุขภาพ หากสัมผัสจะทาให้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง และถ้าบริโภคเข้าไป
จะทาให้เกิดการอักเสบในอวัยวะที่สัมผัสอาหารเช่น ปาก ลาคอ กระเพาะอาหาร เกิดอาการ
ปวดหลัง ปวดศีรษะ อาเจียน แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตต่า หาก
บริโภคเกิน 30 กรัม อาจทาให้เสียชีวิตได้
- อาหารที่พบว่ามีการใช้สารฟอกขาวคือ หน่อไม้ดอง น้าตาลมะพร้าว เส้นก๋วยเตี๋ยว น้า
แช่ผลไม้(ถั่วงอก ขิงฝอย)
LOGO
ตะเกียบฉีก
ขาวผิดปกติ สารฟอกขาว (sulphur dioxide)
Hydrochloric acid (HCl)
เป็ นโรคหอบหืด ภูมิต้านทานต่า
หอบ เหนื่อย อาเจียน
คนปรกติ
สะสมเป็ น carcinogen
แก้ไข : เอาตะเกียบแช่น้าร ้อน 3-5 นาที แล ้วเทน้าทิ้ง
LOGO
สีผสมอาหาร
การปนเปื้อนของโลหะหนักในสีผสมอาหารตามมาตรฐานอนามัยโลก มีดังนี้
สารหนู มีการปนเปื้อนในสีไม่เกิน 3 มก.ต่อสี 1 กก.
ตะกั่ว มีการปนเปื้อนในสีไม่เกิน 10 มก.ต่อสี 1 กก.
โครเมียม มีการปนเปื้อนในสีไม่เกิน 20 มก.ต่อสี 1 กก.
แต่เมื่อกินอาหารที่ผสมสีเหล่านี้บ่อยครั้ง โลหะหนักก็จะมีการสะสมเพิ่มปริมาณมาก
ขึ้นในร่างกาย และก่อให้เกิดโรคได้ในที่สุด
LOGO
โค้กและเป๊ปซี่ ประกาศปรับสูตรใหม่ในสหรัฐ หลังถูกร้องเรียนผสมสารก่อมะเร็ง
LOGO
เช่น แก้ว, เศษไม้, โลหะ, พลาสติก, หิน, กรวด,เครื่องประดับ,
กระดูก ฯลฯ
เกิดการปนเปื้อนมาในวัตถุดิบ
การใช้เครื่องมือ, เครื่องจักร อย่างไม่ถูกวิธี
การบารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักรไม่เพียงพอ
ผู้ปฏิบัติงาน
อันตรายทางกายภาพ
LOGO
1. ควบคุมสุขลักษณะส่วนบุคลากร
2. ควบคุมวัตถุดิบ
3. ควบคุมอุปกรณ์
4. ควบคุมวิธีปฏิบัติงาน
5. ควบคุมสภาพแวดล้อม
LOGOwww.themegallery.com
37
ซื้อสินค้าที่ผลิตได้ตามมาตรฐาน
LOGO
หลีกเลี่ยงสินค้าที่ใช้ยาฆ่าแมลง
LOGO
ล้างผักและผลไม้ให้สะอาด
LOGO
ใช้สีธรรมชาติผสมอาหาร
LOGO
ไม่รับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ
LOGOwww.themegallery.com
รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ
LOGO
หลีกเลี่ยงอาหารปิ้งย่างด้วยความร้อนสูง
จะก่อให้เกิด
“HCAs และ PAHs
หรือ สารไดออกซิน”
สามารถสะสมในร่างกาย
ก่อมะเร็ง
LOGO
ควรหลีกเลี่ยงไม่ซื้ออาหารทอดจากร้านค้าที่ใช้น้ามันมีกลิ่นเหม็นหืน เหนียวสีดาคล้า
ฟองมาก เหม็นไหม้
 เวลาทอดมีควันขึ้นมากแสดงว่าน้ามันใช้มานานทาให้น้ามันเกิดควันที่อุณหภูมิต่าลง
อาหารอมน้ามันและหลังการบริโภคเกิดการระคายคอ
 สารโพลาร์ คือปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดมะเร็ง กระทรวงสาธารณสุขจึงกาหนดให้น้ามัน
ทอดซ้าต้องมีค่าสารโพลาร์ ไม่เกิน 25% ผู้ประกอบการอาหารที่ฝ่าฝืน จะมีโทษปรับไม่เกิน 5
หมื่นบาท
หลีกเลี่ยงอาหารใช้น้ามันทอดซ้า
LOGO
• หมายถึง อาหารที่ได้จาก ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่ไม่ใช้วัตถุอันตรายทาง
การเกษตร (pesticides) เช่น ปุ๋ ยเคมี ยาปราบศัตรูพืช การฉายรังสี (food
irradiation) และไม่ใช้สายพันธุ์ที่ตัดต่อพันธุกรรม ทั้งผัก ผลไม้และ
เนื้อสัตว์
• การปศุสัตว์แบบออร์แกนิกก็ต้องเลี้ยงด้วยอาหารสัตว์ชนิดออร์แกนิกด้วย
เช่นกัน ห้ามเจือปนอาหารจากแหล่งอื่นและห้ามใช้ยาปฏิชีวนะ
• Lemom Farm, Urban tree organics, ผักและผลไม้จากโครงการหลวง
อาหารออร์แกนิก (Organic food) หรืออาหารเกษตรอินทรีย์
LOGO
LOGO
ไข่เยี่ยวม้า ผู้ผลิตมีการเติมออกไซด์ของตะกั่วหรือ สารประกอบของตะกั่วลงในส่วนผสมที่ ใช้ทา
ไข่เยี่ยวม้า เพื่อเป็นตัวควบคุมความเป็นกรดด่างให้คงที่ซึ่งจะทาให้ไข่ขาวแข็งตัวได้สม่าเสมอ
จากการศึกษาการปนเปื้อนโลหะหนักในยาสมุนไพร และผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่วางจาหน่ายใน
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า 42 ตัวอย่าง จาก 86 ตัวอย่าง (ร้อยละ 48.8) มีการ
ปนเปื้อนตะกั่วสูงเกินค่ามาตรฐานที่กาหนดไว้คิดเป็นร้อยละ 48.8 โดย ตัวอย่างยาขมมีการ
ปนเปื้อนมากที่สุด คือ 5 จาก 6 ตัวอย่าง (ร้อยละ83.3) รองลงมาคือ ยาหอม และขมิ้นใช้
รับประทาน ตรวจพบ ร้อยละ 56 และ 50 ตามลาดับ
ค่าตะกั่วสูงสุดที่ตรวจพบ คือ 50 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งเป็น 5 เท่าของค่ามาตรฐาน
พบว่า ตัวอย่างจานวน 54 ตัวอย่าง (ร้อยละ 62.8) มีการปนเปื้อนตะกั่วหรือแคดเมียมอย่างน้อย
1 ธาตุ และ 8 ตัวอย่าง (ร้อยละ 9.3 ) มีการปนเปื้อนทั้งตะกั่วและแคดเมียมสูงเกินมาตรฐาน
ตัวอย่างส่วนใหญ่มีค่าคอปเปอร์ไม่เกินค่ามาตรฐาน การปนเปื้อนของ ตะกั่ว แคดเมียมและคอปเปอร์
ในยาดองเหล้า อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้
LOGO
การป้ องกันการเกิดมลพิษอาหาร
1. งดอาหารที่มีมลสาร สารพิษและสารปนเปื้อนต่างๆ
2. รัฐบาลมีการออกกฎหมายควบคุม ลงโทษผู้กระทาผิดและ
คุ้มครอง ความปลอดภัยของผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่
ถูกวิธี
4. ประชาชนควรรู้กรรมวิธีในการประกอบอาหารหรือการปรุง
อาหารให้ปราศจากมลสาร สารพิษ หรือสารปนเปื้อน เช่น การล้าง การ
ทาให้สุกโดยผ่านความร้อนเพื่อฆ่าเชื้อโรค

More Related Content

What's hot

6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)Coco Tan
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tJaturapad Pratoom
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 

Viewers also liked

ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ
ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ
ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพJirasap Kijakarnsangworn
 
Good Manufacturing Practices(GMP)
Good Manufacturing Practices(GMP)Good Manufacturing Practices(GMP)
Good Manufacturing Practices(GMP)Virendra Singh
 
KITCHEN SAFETY AND SANITATION
KITCHEN SAFETY AND SANITATIONKITCHEN SAFETY AND SANITATION
KITCHEN SAFETY AND SANITATIONGina Bal
 

Viewers also liked (8)

ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ
ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ
ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ
 
Presentation haccp
Presentation haccpPresentation haccp
Presentation haccp
 
Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)
 
GMP Introduction
GMP IntroductionGMP Introduction
GMP Introduction
 
Back To Basic Gmp
Back To Basic GmpBack To Basic Gmp
Back To Basic Gmp
 
Introduction to GMP Training by
Introduction to GMP Training byIntroduction to GMP Training by
Introduction to GMP Training by
 
Good Manufacturing Practices(GMP)
Good Manufacturing Practices(GMP)Good Manufacturing Practices(GMP)
Good Manufacturing Practices(GMP)
 
KITCHEN SAFETY AND SANITATION
KITCHEN SAFETY AND SANITATIONKITCHEN SAFETY AND SANITATION
KITCHEN SAFETY AND SANITATION
 

Similar to หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร

ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfVorawut Wongumpornpinit
 

Similar to หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร (7)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 

More from tumetr

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pagetumetr
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015tumetr
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebooktumetr
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_ptumetr
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)tumetr
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)tumetr
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectstumetr
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introductiontumetr
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffmantumetr
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพtumetr
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-treetumetr
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)tumetr
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)tumetr
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)tumetr
 

More from tumetr (20)

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebook
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_p
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projects
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introduction
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffman
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-tree
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
 
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
 

หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร

  • 2. LOGO อาหารที่มีการปนเปื้อนมลสารต่างๆ โดยบังเอิญ หรือเจือปน โดยความจงใจ ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายมนุษย์ 1. มลสารที่ปนเปื้อน 2. มลสารที่เจือปน มลพิษอาหาร
  • 4. LOGO 2. มลสารที่เจือปน คือสารที่ถูกใส่ในอาหารโดยความตั้งใจของมนุษย์เป็นสารเคมีที่ ไม่ใช่สารอาหาร ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ ใส่เพื่อเปลี่ยนแปลงรส กลิ่น สี หรือเพื่อป้องกันการบูดเน่า ได้แก่ สารปรุงแต่งสี สารชูรส สารกันบูด สารกันหืน บอแรกซ์ ดิน ปะสิว สารฟอกสี สารให้รสหวาน สารที่ทาให้เนื้อเปื่อยนุ่ม หรือ สารคลอรีนในน้าประปา
  • 5. LOGO  จุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค ได้แก่ แบคทีเรีย ยีสต์ รา และไวรัส ที่ทาให้เกิดโรค พยาธิ อันตรายทางชีวภาพ Salmonella Aspergillus flavus Taenia solium Clostridium botulinum
  • 6. LOGO สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์ สารพิษจากเชื้อรา = ไมโคทอกซิน (Mycotoxin) 1.1 อะฟลาทอกซิน 1.2 สเตอริมาโตซิสติน 1.3 โอคราทอกซิน 1.4 ซิทรินิน 1.5 พาทูลิน Aspergillus sp. Penicillum sp.
  • 7. LOGO ชื่อไมโครทอกซิน ผลต่อสัตว์ทดลอง อาหารที่ปนเปื้อนชนิดของสัตว์ ความผิดปกติที่พบ อะฟลาทอกซินชนิดB1 B2 G1 G2 M1 และ M1 สัตว์ปีก เช่น ลูกเป็ด ไก่งวง ไก่ ลูกไก่ นกกระทา สัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนมเช่น ลูกสุกร ลูกวัว สุนัข แพะ ลิง แมว ปลา และ คน - มีพิษต่อตับทาลายตับ - มีเลือดออกที่ลาไส้เล็ก และไต - ท่อน้าดีโต - เนื้องอกที่ตับ - สารก่อมะเร็ง ถั่วลิสง หัวหอม พริกแห้ง ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวเจ้า เมล็ดฝ้าย มะพร้าวแห้ง นัท ต่างๆ น้านม ไข่ และเนยแข็ง สเตอริกมาโตซิสติน หนู ห่าน สุนัข ลูกเป็ด - เป็นพิษต่อไตกรวยไต กาแฟ ข้าวสาลีขึ้นรา เนยแข็ง โอคราทอกซิน เอ ไก่ และหนู - ทาลายตับ - ทาให้ตัวอ่อนพิการ - เป็นพิษต่อไต ธัญพืช ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ข้าว บาร์เลย์ข้าวโพด ถั่วเมล็ดแห้ง ซิทรินิน ห่าน สุนัข - ทาให้ไตพิการเฉียบพลัน ธัญพืช ข้าวสาลี ข้าวเจ้า ข้าว บาร์เลย์และข้าวโพด พาทูลิน สัตว์ปีกเช่น ลูกไก่ นกกระทา สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น แมว โค หนูและกระต่าย - ไต ปอดและสมองบวม - มีเลือดออกที่ปอด - เส้นเลือดฝอยถูกทาลาย ที่ตับ ม้าม ไต - เป็นอัมพาต - สารก่อมะเร็ง อาหารสัตว์ที่ขึ้นรา แอปเปิลที่ ขึ้นรา น้าแอปเปิล ฟางข้าวสาลี
  • 8. LOGO อะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) Aspergillus flavus สายพันธุ์ B1 B2 G1 G2 M1 M2 พิษของอะฟลาทอกซิน * เป็นสารก่อมะเร็งตับ ปอด ไต และลาไส้ใหญ่ * อาการเฉียบพลัน ในเด็กอายุไม่เกิน 10 ขวบ จะมีอาการไข้ สูง อาเจียน ทรุดตัวอย่างรวดเร็ว และอาจตายภายใน 47- 72 ชั่วโมง * ถั่วลิสงป่น เนยถั่ว กากถั่วลิสง น้ามันถั่วลิสง พริกป่น ข้าว และข้าวโพด
  • 9. LOGO สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์ (ต่อ) สารพิษจากแบคทีเรีย (Bacterial toxins) • Exotoxin • Endotoxin Escherichia coliStaphylococcus aureus Bacillus cereus Clostridium botulinum
  • 10. LOGO ระยะฟักตัว : 24 ชม.โดยเฉลี่ย (ตั้งแต่ 5-72 ชม.) อาการของโรค : คลื่นไส้,อาเจียน,ปวดท้อง,หนาวสั่น,ท้องร่วง,ไข้ ระยะเวลาป่ วย : ประมาณ 3 วัน (ตั้งแต่ 1-14 วัน) อาหารที่เป็ นพาหะ : ไข่,สัตว์ปีก,เนื้อสัตว์,ผลิตภัณฑ์จากนม,ผัก,ผลไม้ Salmonella sp.
  • 11. LOGO Staphylococcus aureus ระยะเวลาฟักตัว : 3 ชม. โดยเฉลี่ย ( ตั้งแต่ 1-6 ชม. ) อาการของโรค : คลื่นไส้,อาเจียน,ปวดท้องรุนแรง,ท้องร่วง, ลาไส้เกร็งหด, ปวดศีรษะ, มีโรคแทรกซ้อน ระยะเวลาป่ วย : 1-2 วัน อาหารที่เป็นพาหะที่เคยพบ : แฮม, หมู, สัตว์ปีก, ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ผลิตสารพิษที่ทนความร้อนได้สูงมาก (ประมาณ 110๐ C 30 นาที)
  • 12. LOGO Vibrio cholerae (อหิวาต์) ระยะฟักตัว : 22 ชม.โดยเฉลี่ย (ตั้งแต่ ½ ชม. – 5 วัน) อาการของโรค : ท้องร่วงรุนแรง, ปวดท้อง, คลื่นไส้,อาเจียน,เวียนศีรษะ,ช็อค ระยะเวลาป่ วย : 1-5 วัน อาหารที่เป็ นพาหะ : ปู, กุ้ง, หอย, กั้ง
  • 13. LOGO Clostridium botulinum ระยะฟักตัว : ตั้งแต่ 12-72 ชม. อาการของโรค : คลื่นไส้,อาเจียน,อ่อนเพลีย,วิงเวียน,ปวดศีรษะ,ปากและคอแห้ง, ท้องผูก, กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต, การหายใจล้มเหลวและตายในที่สุด ระยะเวลาป่ วย : ตั้งแต่ 1-10 วัน หรือมากกว่า อาหารที่เป็นพาหะ : อาหารกระป๋ อง, อาหารพวกผัก, ผลไม้, ปลา, เครื่องเทศ, เนื้อ, สัตว์ปีกที่ถนอมรักษาไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท
  • 14. LOGO Escherichia coli ( E.coli ) ระยะฟักตัว : 3-4 วัน อาการของโรค : ปวดท้องรุนแรง, ถ่ายเป็นเลือด, คลื่นไส้, อาเจียน, เป็นไข้, ไตวาย ระยะเวลาป่ วย : 4-10 วัน หรือมากกว่าถ้าไตวาย อาหารที่เป็นพาหะ : อาหาร,นม, เครื่องดื่ม, น้า ที่มีเชื้อนี้ปนเปื้อน • กรรมวิธีการปรุงประกอบอาหาร ไม่ถูกต้อง ทาลายเชื้อไม่หมด • มีการปนเปื้อนเชื้อโรคจากอาหารดิบลงสู่อาหารที่ปรุงสุกแล้ว • พนักงานเป็นพาหะของเชื้อและมีสุขลักษณะส่วนบุคคลที่ไม่ดี
  • 15. LOGO Bacillus cereus ระยะฟักตัว : 8-16 ช.ม. อาการ : ถ่ายเหลวเป็นน้า, ปวดท้อง รุนแรง, คลื่นไส้, ปวดเบ่ง ระยะเวลาป่วย: 6-12 ช.ม. อาหารที่เป็นพาหะ: อาหารพวกแป้ ง, ข้าว, ข้าวโพด, มันฝรั่ง, ผัก, ซุบ,เนื้อสัตว์ สารพิษที่ไม่ทนความร้อน ระยะฟักตัว: 1-6 ช.ม. อาการ : อาเจียน, ปวดท้องรุนแรง อาจท้องร่วง ระยะเวลาป่วย: 8-10 ช.ม. อาหารที่เป็นพาหะ: ข้าวผัด, ข้าวต้ม, ข้าวสวย สารพิษทนความร้อน สร้างสปอร์ได้ Fried Rice Syndrome
  • 16. LOGO • ตัวตืดวัว (Taenia saginata) และตัวตืดหมู (Taenia solium) • วัว ควายหรือหมูกินไข่พยาธิเข้าไปแล้ว ไข่จะโตเป็นระยะตัวอ่อนเรียก “เม็ดสาคู” • เมื่อคนกินอาหารที่มีตัวอ่อนพยาธิอยู่ โดยกินดิบหรือสุกๆ ดิบๆ ตัวอ่อนก็จะโต เป็นพยาธิตัวแก่ในลาไส้เล็กของคน • ถ้าคนกินไข่พยาธิที่ปะปนกับอาหารหรือน้าดื่ม ไข่พยาธิก็จะโตเป็นระยะตัวอ่อน เม็ดสาคูในร่างกายคน โดยไปอยู่ตามอวัยวะต่างๆ เช่น สมอง ตา หัวใจ ปอด และ กล้ามเนื้อ ทาให้เกิดอาการรุนแรง เมื่ออยู่ในอวัยวะที่สาคัญๆ เช่น ในสมองและไข สันหลัง บางทีรุนแรงอาจถึงตายได้ หรือ ตาบอดเมื่ออยู่ในตา พยาธิตัวตืด
  • 17. LOGO อาการหิวบ่อย รับประทานอาหารมาก แต่ร่างกายผอมลง รู้สึก อ่อนเพลีย มีอาการท้องอืดท้องเฟ้ อ ไม่สบายท้อง และอาจมีอาการ ท้องเสียร่วมด้วย อาการเหล่านี้เป็นอาการแสดงว่า อาจมีพยาธิตัวตืด (Taenia spp.) อยู่ในร่างกาย เนื่องจากคนถูกตัวตืดแย่งอาหาร หรืออาจ มีอาการทางประสาท นอนไม่หลับ หรือเวียนศีรษะได้
  • 18. LOGO  ในเขตชนบทหรือในหมู่บ้านชาวเขาทางภาคเหนือมักจะ พบเห็นเด็กเล็กที่มีภาวะขาดสารอาหาร มีอาการซีด น้าหนักลด ผอม พุงโล เนื่องจากพยาธิไส้เดือนแย่งอาหาร  บางรายมีอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ทานอาหาร ไม่ได้ เมื่อนามาส่ง โรงพยาบาลพบพยาธิไส้เดือนอุดตันใน ลาไส้เป็นจานวนมาก บางรายที่มีพยาธิจานวนมากอาจ พบพยาธิหลุดออกมาทางจมูก ขณะที่จามหรือไอแรง ๆ ได้  คนที่เป็นโรคพยาธิไส้เดือนถ่ายอุจจาระลงดิน ทาให้มีไข่ พยาธิปนอยู่ในดิน เด็กเล็กที่ชอบเล่นคลุกคลีกับดิน จะมี ไข่พยาธิติดมากับขี้เล็บหรือมือ เมื่อเด็กอมมือหรือกิน อาหารโดยไม่ล้างมือให้สะอาดจะทาให้ไข่พยาธิเข้าไปใน ปากได้ หรือไข่พยาธิปนเปื้อนมากับอาหารหรือน้าดื่ม เนื่องจากคนนาอุจจาระมาทาปุ๋ ยรดผัก พยาธิไส ้เดือน
  • 19. LOGO พยาธิตัวจี๊ด  มีสาเหตุมาจากพยาธิตัวกลมที่มีชื่อทาง วิทยาศาสตร์ว่า แนธโธสโตมา สไปนิจิรัม (Gnathostoma spinigerum)  สัตว์ที่ตรวจพบว่ามีตัวอ่อนระยะติดต่อของพยาธิ ตัวจี๊ดอยู่ ได้แก่ ปลาน้าจืด เช่น ปลาช่อน ปลาไหล ปลาดุก  อาหารที่ปรุงสุกๆ ดิบๆ หรืออาหารหมักที่ทาจาก ปลาน้าจืด เช่น ส้มฟัก ปลาร้า ปลาเจ่า หรือเนื้อสัตว์ อื่นๆ อาจพบว่ามีตัวอ่อนระยะติดต่อของพยาธิตัวจี๊ด อยู่  อาการ มีอาการบวมที่ผิวหนังบริเวณที่พยาธิ เคลื่อนที่ไป
  • 20. LOGO สารพิษในอาหารตามธรรมชาติ ลักษณะการออกฤทธิ์ของสารพิษในเห็ด 1. พิษที่ค่อนข ้างเฉียบพลัน คือ จะเกิดอาการภายใน 3 ชั่วโมง มีอาการที่ ระบบประสาท 2. พิษที่ค่อนข ้างช ้า คือ จะเกิดอาการหลังจากรับพิษไป 6-15 ชั่วโมง มี พิษต่อตับ ตัวเหลือง และเสียชีวิตภายใน 6-8 วัน
  • 21. LOGO สารพิษในอาหารตามธรรมชาติ มันฝรั่ง • สารโซลานีน และคาโคนีน สะสม อยู่ที่เปลือกมันฝรั่ง • มีพิษต่อระบบประสาท • สารพิษถูกทาลายได ้ด ้วยความร ้อน ถั่วดิบ • มีพิษยับยั้งการย่อยสลายโปรตีน ร่างกายจึงไม่สามารถนาโปรตีนไป ใช ้ได ้ • สารพิษถูกทาลายได ้ด ้วยความร ้อน
  • 22. LOGO • มีอาการชาตามริมฝีปากปลายนิ้ว มือนิ้วเท ้า • เวียนศีรษะ อาเจียน • กล ้ามเนื้ออ่อนแรงจนเป็นอัมพาต • หายใ จไม่ออก และเสียชีวิต ภายใน 2-4 ชั่วโมง • มีอ า ก า ร ริม ฝี ป า ก สั่น ก ร ะ ตุก อ่อนเพลีย และชาปลายนิ้วมือ นิ้วเท ้า เสียแหบลง รวมทั้งคลื่นไส ้ อาเจียน แขนขาไม่มีแรง กล ้ามเนื้อ เป็นอัมพาตทั้งตัว • หายใจไม่ออก ไม่รู้สึกตัว และถึง แก่ความตาย ภายใน 6-24 ชั่วโมง ปลาปักเป้ า แมงดาถ้วย สารพิษในอาหารตามธรรมชาติ
  • 24. LOGO พิษของโลหะหนักในสีผสมอาหาร • โครเมียม เวียนศีรษะ กระหายน้าอย่างรุนแรง อาเจียน หมดสติ และเสียชีวิต เนื่องจากไตไม่ทางาน • ตะกั่ว ร่างกายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ โลหิตจาง ถ ้ามีสะสมมาก ขึ้นจะทาให ้มีอาการอัมพาตที่แขนขา สมองไม่ปกติ ชักกระตุก และหมดสติใน เวลาต่อมา • ปรอท กรณีเฉียบพลันจะมีอาการคลื่นไส ้ ท ้องเดิน ปวดมวนท ้องรุนแรง ถ ้า สะสมเรื้อรังเหงือกจะบวมแดง คล้า ฟันตาย หลุดง่าย เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย • สารหนู อันตรายต่อระบบทางเดินอาหาร ตับอักเสบ เกิดอันตราย ต่อระบบ โลหิต และหัวใจวายได ้
  • 25. LOGO  น้าประสานทอง ผงกรอบ ผงเนื้อนุ่ม  Sodium tetraborate  ผงละเอียดสีขาว ละลายน้าได ้ดี  พบในอาหารจาพวก ทับทิมกรอบ ครองแครง สาคู รวมมิตร ลอดช่อง ลูกชิ้นปลา และหมูยอ  ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง คัน ผมร่วง อาเจียน ท ้องร่วง เป็นไข ้  เกิดสะสมในสมอง ตับ ไตพิการ ทาลายเนื้อเยื่อ เซลล์ตาย ทาลายเม็ดเลือดแดง บอแรกซ์
  • 26. LOGOwww.themegallery.com  นิยมบริโภคเพราะมีฤทธิ์กระตุ้นประสาทรับรส ทาให ้อาหารมีรสชาติดี บดบังกลิ่นบางอย่างที่ไม่ต ้องการ และเน้นรสชาติอาหาร ห ้ามทานเกิน วันละ 6 กรัม (1 ช ้อนชา)  ผงชูรสจริง หรือ โมโนโซเดียมกลูตาเมต  ผงชูรสปลอม คือ โซเดียมเมตาฟอสเฟต  อาการชาที่ปากและลิ้น กระหายน้า ร ้อนวูบวาบบนใบหน้า มีผื่นแดงขึ้น ตามตัว แน่นหน้าอก ผงชูรส = monosodium glutamate: MSG
  • 27. LOGOwww.themegallery.com ผงชูรส ผงชูรสจริง ผงชูรสปลอม ผลึก แท่งยาว คอดตรงกลาง ไม่มัน ไม่มีสี แท่งยาวเรียบเสมอกัน ใส มันวาว การทดสอบ - เผาไฟ เกิดผงสีดา เกิดเถ ้าผงสีขาว - ปูนขาว+ กรดน้าส ้ม สารละลายใส เกิดตะกอนขุ่นขาว
  • 28. LOGO  Potassium nitrate ห้ามใช้เกิน 500 mg ต่อเนื้อสัตว์ 1 kg  เบคอน ไส ้กรอก แหนม หมูยอ กุนเชียง  ทาให ้อาหารมีกลิ่นและรสเฉพาะ เพื่อให ้มีสีสวยเก็บได ้นานเพราะ สามารถยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ได ้  อันตราย  อาเจียน ปวดท ้อง ท ้องเสียอย่างรุนแรง สะสมเป็น ประจา จะทาให ้เกิดโรคโลหิตจาง อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่า ดินปะสิว
  • 29. LOGO สารแต่งรสหวาน (น้าตาลเทียม) แซคคาริน หรือ ขัณฑสกร (saccharin) = หวานกว่าน้าตาล 300-500 เท่า ใช้ผสมอาหาร เครื่องดื่ม ไอศกรีม ของดอง สามารถทาให้เกิดโรคมะเร็ง ในกระเพาะปัสสาวะ เป็นพิษต่อเด็กในครรภ์ จึงถูกประกาศห้ามใช้ (พ.ศ.2507) ดัลซิน (dulcin) = หวานกว่าน้าตาล 200 เท่า ให้เกิดโรคมะเร็งตับ จึงถูก ประกาศห้ามใช้ (พ.ศ.2507) ไซคลาเมต (cyclamate) = หวานกว่าน้าตาล 30 เท่า ละลายน้าได้ดี ทาให้ เกิดมะเร็งในกระเพาะปัสสาวะ ทาให้เลือดออกในระบบทางเดินอาหาร ประกาศห้ามใช้ แอสปาร์เทม (aspartame) = หวานกว่าน้าตาล 180-200 เท่า ยังไม่พบ รายงานถึงการเกิดพิษ จึงสามารถใช้ในอาหาร และกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคไต
  • 30. LOGO สารฟอกขาว -โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ (sodium hydrosulfite) หรือผงซักมุ้ง เป็นสารเคมีที่ใช้ฟอกแหอวน แต่มีแม่ค้าบางรายนามาใช้ฟอกขาวในอาหาร เพื่อให้อาหารมีสีขาว - อันตรายต่อสุขภาพ หากสัมผัสจะทาให้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง และถ้าบริโภคเข้าไป จะทาให้เกิดการอักเสบในอวัยวะที่สัมผัสอาหารเช่น ปาก ลาคอ กระเพาะอาหาร เกิดอาการ ปวดหลัง ปวดศีรษะ อาเจียน แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตต่า หาก บริโภคเกิน 30 กรัม อาจทาให้เสียชีวิตได้ - อาหารที่พบว่ามีการใช้สารฟอกขาวคือ หน่อไม้ดอง น้าตาลมะพร้าว เส้นก๋วยเตี๋ยว น้า แช่ผลไม้(ถั่วงอก ขิงฝอย)
  • 31. LOGO ตะเกียบฉีก ขาวผิดปกติ สารฟอกขาว (sulphur dioxide) Hydrochloric acid (HCl) เป็ นโรคหอบหืด ภูมิต้านทานต่า หอบ เหนื่อย อาเจียน คนปรกติ สะสมเป็ น carcinogen แก้ไข : เอาตะเกียบแช่น้าร ้อน 3-5 นาที แล ้วเทน้าทิ้ง
  • 32. LOGO สีผสมอาหาร การปนเปื้อนของโลหะหนักในสีผสมอาหารตามมาตรฐานอนามัยโลก มีดังนี้ สารหนู มีการปนเปื้อนในสีไม่เกิน 3 มก.ต่อสี 1 กก. ตะกั่ว มีการปนเปื้อนในสีไม่เกิน 10 มก.ต่อสี 1 กก. โครเมียม มีการปนเปื้อนในสีไม่เกิน 20 มก.ต่อสี 1 กก. แต่เมื่อกินอาหารที่ผสมสีเหล่านี้บ่อยครั้ง โลหะหนักก็จะมีการสะสมเพิ่มปริมาณมาก ขึ้นในร่างกาย และก่อให้เกิดโรคได้ในที่สุด
  • 34. LOGO เช่น แก้ว, เศษไม้, โลหะ, พลาสติก, หิน, กรวด,เครื่องประดับ, กระดูก ฯลฯ เกิดการปนเปื้อนมาในวัตถุดิบ การใช้เครื่องมือ, เครื่องจักร อย่างไม่ถูกวิธี การบารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักรไม่เพียงพอ ผู้ปฏิบัติงาน อันตรายทางกายภาพ
  • 35. LOGO 1. ควบคุมสุขลักษณะส่วนบุคลากร 2. ควบคุมวัตถุดิบ 3. ควบคุมอุปกรณ์ 4. ควบคุมวิธีปฏิบัติงาน 5. ควบคุมสภาพแวดล้อม
  • 43. LOGO ควรหลีกเลี่ยงไม่ซื้ออาหารทอดจากร้านค้าที่ใช้น้ามันมีกลิ่นเหม็นหืน เหนียวสีดาคล้า ฟองมาก เหม็นไหม้  เวลาทอดมีควันขึ้นมากแสดงว่าน้ามันใช้มานานทาให้น้ามันเกิดควันที่อุณหภูมิต่าลง อาหารอมน้ามันและหลังการบริโภคเกิดการระคายคอ  สารโพลาร์ คือปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดมะเร็ง กระทรวงสาธารณสุขจึงกาหนดให้น้ามัน ทอดซ้าต้องมีค่าสารโพลาร์ ไม่เกิน 25% ผู้ประกอบการอาหารที่ฝ่าฝืน จะมีโทษปรับไม่เกิน 5 หมื่นบาท หลีกเลี่ยงอาหารใช้น้ามันทอดซ้า
  • 44. LOGO • หมายถึง อาหารที่ได้จาก ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่ไม่ใช้วัตถุอันตรายทาง การเกษตร (pesticides) เช่น ปุ๋ ยเคมี ยาปราบศัตรูพืช การฉายรังสี (food irradiation) และไม่ใช้สายพันธุ์ที่ตัดต่อพันธุกรรม ทั้งผัก ผลไม้และ เนื้อสัตว์ • การปศุสัตว์แบบออร์แกนิกก็ต้องเลี้ยงด้วยอาหารสัตว์ชนิดออร์แกนิกด้วย เช่นกัน ห้ามเจือปนอาหารจากแหล่งอื่นและห้ามใช้ยาปฏิชีวนะ • Lemom Farm, Urban tree organics, ผักและผลไม้จากโครงการหลวง อาหารออร์แกนิก (Organic food) หรืออาหารเกษตรอินทรีย์
  • 45. LOGO
  • 46. LOGO ไข่เยี่ยวม้า ผู้ผลิตมีการเติมออกไซด์ของตะกั่วหรือ สารประกอบของตะกั่วลงในส่วนผสมที่ ใช้ทา ไข่เยี่ยวม้า เพื่อเป็นตัวควบคุมความเป็นกรดด่างให้คงที่ซึ่งจะทาให้ไข่ขาวแข็งตัวได้สม่าเสมอ จากการศึกษาการปนเปื้อนโลหะหนักในยาสมุนไพร และผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่วางจาหน่ายใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า 42 ตัวอย่าง จาก 86 ตัวอย่าง (ร้อยละ 48.8) มีการ ปนเปื้อนตะกั่วสูงเกินค่ามาตรฐานที่กาหนดไว้คิดเป็นร้อยละ 48.8 โดย ตัวอย่างยาขมมีการ ปนเปื้อนมากที่สุด คือ 5 จาก 6 ตัวอย่าง (ร้อยละ83.3) รองลงมาคือ ยาหอม และขมิ้นใช้ รับประทาน ตรวจพบ ร้อยละ 56 และ 50 ตามลาดับ ค่าตะกั่วสูงสุดที่ตรวจพบ คือ 50 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งเป็น 5 เท่าของค่ามาตรฐาน พบว่า ตัวอย่างจานวน 54 ตัวอย่าง (ร้อยละ 62.8) มีการปนเปื้อนตะกั่วหรือแคดเมียมอย่างน้อย 1 ธาตุ และ 8 ตัวอย่าง (ร้อยละ 9.3 ) มีการปนเปื้อนทั้งตะกั่วและแคดเมียมสูงเกินมาตรฐาน ตัวอย่างส่วนใหญ่มีค่าคอปเปอร์ไม่เกินค่ามาตรฐาน การปนเปื้อนของ ตะกั่ว แคดเมียมและคอปเปอร์ ในยาดองเหล้า อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้
  • 47. LOGO การป้ องกันการเกิดมลพิษอาหาร 1. งดอาหารที่มีมลสาร สารพิษและสารปนเปื้อนต่างๆ 2. รัฐบาลมีการออกกฎหมายควบคุม ลงโทษผู้กระทาผิดและ คุ้มครอง ความปลอดภัยของผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ ถูกวิธี 4. ประชาชนควรรู้กรรมวิธีในการประกอบอาหารหรือการปรุง อาหารให้ปราศจากมลสาร สารพิษ หรือสารปนเปื้อน เช่น การล้าง การ ทาให้สุกโดยผ่านความร้อนเพื่อฆ่าเชื้อโรค