SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 56
Downloaden Sie, um offline zu lesen
BM624
Derivatives and Corporate Risk
Management
Part 3


 ดร.กิตติพันธ คงสวัสดิ์เกียรติ
ตลาดตราสารอนุพันธที่มีในประเทศไทย

  การซือขายสัญญาซื้อขายลวงหนาอัตราแลกเปลี่ยน
         ้
  เงินตราตางประเทศกับธนาคาร
  การซือขายสินคาเกษตรลวงหนาที่ ตลาดสินคาเกษตร
           ้
  ลวงหนาแหงประเทศไทย
  การซือขายดัชนี SET50 Index
             ้
  Futures กับ ตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย)
  จํากัด
ปจจัยที่ทําใหเกิดตลาดอนุพันธในประเทศไทย

  การเชือมโยงระหวางตลาดการเงินไทยกับตลาดการเงิน
         ่
  โลก ซึ่งตองเผชิญกับความผันผวนของอัตรา
  แลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ยและ ราคาหุน
  เพื่อใหมีเครื่องมือที่มประสิทธิภาพในการบริหารความ
                          ี
  เสี่ยง
  เพิ่มทางเลือกในการลงทุน
ประเภทของอนุพันธที่ซื้อขายในตลาดโลก

  อนุพันธที่อางอิงกับดัชนีราคาหลักทรัพย (Index)
  อนุพันธที่อางอิงกับหลักทรัพย (Stock)
  อนุพันธที่อางอิงกับอัตราดอกเบี้ย (Interest
  Rate)
  อนุพันธที่อางอิงกับสินคาโภคภัณฑ
  (Commodities)
  อนุพันธที่อางอิงกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ
  (Currency)
ตลาดอนุพันธในประเทศไทย

  บมจ.ตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย)
    Thailand Futures Excahange
    PLC (TFEX)
    เปนบริษัทยอยของตลาดหลักทรัพยฯ ตั้งขั้น
    เพื่อเปนศูนยกลางการซื้อขายตราสารอนุพันธ
    เมื่อ 17 พ.ค. 2547 กํากับดูแลโดย
    สํานักงาน กลต.
ตลาดอนุพันธในประเทศไทย

  บริษัทสํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัด
     Thailand Clearing House Co., Ltd.
     TCH
     เปนบริษัทยอยของ ศูนยรับฝากหลักทรัพยฯ ตั้งขึ้นเพื่อ
     เปนสํานักหักบัญชีใหกับตลาดอนุพันธ เมื่อ 9 ส.ค.
     2547 เพื่อทําการประกันการชําระราคาใหผูซอผูขาย โดย
                                                ื้
     เรียกหลักประกันจากผูซื้อและผูขาย เพื่อใหมั่นใจวาทั้ง 2
                                   
     ฝายจะกระทําตามสัญญา
ตลาด OTC และตลาดอนุพันธ

  OTC                                Derivatives
  มีความเสี่ยงวา คูสัญญาจะสามารถ   ขจัดความเสี่ยงในสวนนี้ได
                                     เนื่องจากมีสํานักหักบัญชีเปน
  ปฏิบัตตามสัญญานั้นไดหรือไม
         ิ
                                     คูสัญญา
  สัญญาจะขึ้นอยูกับการเจรจาของ
                                     ลักษณะของสัญญาเปนมาตรฐาน
  คูสัญญา ไมเปนมาตรฐาน
                                     เดียวกัน
  สภาพคลองต่ํา
                                     สภาพคลองสูง
                                     ลางฐานะสัญญากอนหมดอายุได
ลักษณะสําคัญของตราสารอนุพันธ

  มีมลคาขึนอยูกับสิงที่อนุพันธนั้นอางอิงอยู
      ู้             ่
  มีอายุจํากัด
  ใชเงินลงทุนนอย ทําใหการลงทุนใหอัตรา
  ผลตอบแทนที่สง ทังดานบวกและดานลบ
                   ู้
อนุพันธทางการเงินที่มีซื้อขายแลวในปจจุบัน

  ตาม พรบ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 2535
  อนุพันธทางการเงินบางประเภทถูกนิยามโดยกฎหมาย
  ใหเปนหลักทรัพยและสามารถซื้อขายไดในตลาด
  หลักทรัพย คือ Warrant และ
  Derivatives Warrant ที่เปนตราสาร
  ที่ใหสิทธิแกผูถือตราสารในการทีจะซื้อสินทรัพยทตรา
                                   ่               ี่
  สารนันอางอิงอยู ตามราคาและสัดสวนที่ไดกาหนดไว
         ้                                    ํ
Warrant

 ผูออก (Issuer) คือ บริษัทที่เปน
   
 เจาของกิจการ จึงสามารถออกหุนใหม
                               
 ใหกบผูลงทุนที่ใชสทธิไดโดยตรง
      ั            ิ
Derivative Warrant

 ผูออก (Issuer) ไมใชบริษัทที่เปน
 เจาของกิจการ จึงตองหาหุนมาสงมอบ เมื่อ
 ผูลงทุนขอใชสิทธิ เชน SCIB-C1
 ซึ่งออกโดยกองทุนฟนฟูฯ เปนตน
สินคาที่ซื้อขายในตลาดอนุพันธ

  ตาม พรบ. สัญญาซื้อขายลวงหนา 2546 สินคาที่
  สามารถซื้อขายไดในตลาดตราสารอนุพนธ คือั
  Futures, Options และ Futures บน Option ทีมีสินคา
                                            ่
  อางอิงไดแก หุนสามัญ ดัชนีกลุมหลักทรัพย อัตรา
                                  
  ดอกเบี้ย (พันธบัตร และหุนกู) อัตราแลกเปลี่ยน
                             
  ทองคํา น้ามันดิบ หรือดัชนีทางการเงินอื่น ๆ
              ํ
  ทั้งนี้ไมรวมถึงสินคาเกษตร ซึ่งระบุใน พรบ. ตาง
  ฉบับ
สินคาที่ซื้อขายในตลาดอนุพันธ

  SET 50 Index Futures
  และในอนาคตจะมีสัญญา Interest Rate
  Futures และสัญญาอื่น ๆ เพิ่มเติม
ขั้นตอนการซื้อขายในตลาดอนุพันธ

                                                        ผูซื้อ
            ผูขาย



                                                       บริษัทสมาชิก
           บริษัทสมาชิก        TFEX




                          สํานักหักบัญชี (TCH)

                          คํานวณ และ เรียกเงินประกัน
ใครคือสมาชิกของตลาดอนุพันธ

  ไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจเปนนายหนาอนุพันธ จาก
  สํานักงาน กลต. ซึ่งกําหนดใหผูขอรับใบอนุญาตจะตองเปน
  บริษัทหลักทรัพย หรือ บริษัทที่จัดตั้งใหม ซึ่งถือหุนโดย
                                                      
  บริษัทหลักทรัพยหรือธนาคารพาณิชยไมต่ํากวา 75%
  มีคุณสมบัติตามที่ตลาดตราสารอนุพันธกําหนด (รายงาน
  ฐานะทางการเงิน ความพรอมในการประกอบธุรกิจ และการ
  บริหารงาน)
ประเภทของผูลงทุนในตลาดอนุพันธ

  Hedgers ผูลงทุนสถาบัน (ในและตางประเทศ)
  กองทุนรวม บริษัทประกันภัย กบข. เปนตน
  Speculators ผูลงทุนและผูสนใจทัวไป   ่
  Arbitrageurs ผูลงทุนสถาบัน (ในและ
  ตางประเทศ)
ผูลงทุนไดประโยชนจากอนุพันธ ไดอยางไร

  ผูลงทุนที่ถือหุนสามัญอยู และมีความเสี่ยงในการลงทุน จะ
                   
  ใชอนุพันธเปนเครืองมือในการบริหารความเสี่ยงดวยตนทุน
                       ่
  ต่ํา และปรับสัดสวนการลงทุนไดสะดวก
  ผูที่ตองการเพิ่มอัตราผลตอบแทน เชน คาดวาตลาดจะมี
  แนวโนมสูงขึ้น ก็จะซื้อ Futures และถาคาดวาตลาด
  จะมีแนวโนมลดลง ก็จะขาย Futures แตหาก
  พยากรณผิด ก็จะขาดทุน
SET 50 Index Futures

 คือ สัญญา ที่ผูซอกับผูขายตกลงกันในวันนี้ วาจะซือ
                  ื้                               ้
 ขาย SET 50 Index ณ ราคาหนึงใน             ่
 อนาคต เชน 3 เดือน หรือ 6 เดือน เปนตน
 SET 50 Index เปนดัชนี ผูซื้อผูขายจึงไม
 สามารถสงมอบกันได จึงมีการจายชําระเงินกําไร
 ขาดทุนแทนกัน
SET 50 Index Futures

 SET 50 Index + Futures
 = SET 50 Index Futures
 SET 50 Index เปนดัชนี ดังนันผูซื้อผูขาย
                                      ้
 จึงไมสามารถสงมอบหลักทรัพย(สินทรัพย)ที่อางอิงได
 การคํานวณกําไรขาดทุนจึงใชจํานวนเงินแทน
 (Cash Settlement)
หลักเกณฑการคัดเลือก SET 50 Index

 เลือกหุนสามัญที่มี Mkt. Cap. เฉลี่ยตอวันยอนหลัง 12
 เดือน สูง 200 ลําดับแรก และไมอยูระหวางการสั่งพักการซื้อขาย
 (SP) นานเกิน 7 วัน
 จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยไมนอยกวา 6 เดือน
 มีสัดสวนผูถือหุนรายยอยไมนอยกวา 20%
 เปนหุนสามัญทีมมูลคาซื้อขายสม่ําเสมอ
                 ่ี
 พิจารณาคัดเลือกหลักทรัพยทุก 6 เดือน (พ.ค. และ พ.ย.)
SET 50 Index Futures
 เชน ณ วันที่ 1 ต.ค. 48 ผูลงทุนซื้อ SET 50 Index
 Futures จํานวน 1 สัญญา ที่ 45 จุด โดยสัญญามีอายุ 3
 เดือน
 หมายความวา ณ วันที่ 1 ต.ค. 48 ผูลงทุนไดทําสัญญาตกลงที่จะซื้อ
 SET 50 Index Futures จากผูขายในราคา 45 จุด
 โดยกําหนดสงมอบกันในอีก 3 เดือนขางหนา
SET 50 Index Futures
 หากวันที่ 30 ธ.ค. 48 ซึ่งเปนวันสงมอบ และ SET 50
 Index Futures ปดที่ ระดับ 48 จุด ก็จะมีกําไรจากการ
 ซื้อสัญญา SET 50 Index Futures เทากับ 3 จุด
 (48 – 45 จุด)
 ถากําหนดให 1 จุดดัชนี เทากับ 1,000 ก็จะมีกําไรเปนเงินเทากับ
 3,000 บาท
ตัวคูณดัชนี (Multiplier)

  ดัชนี SET 50 หนึ่งจุด = 1,000 บาท
  เชน ผูลงทุนขาย SET 50 Index Futures ที่ราคา
  530.00 จุด แสดงวามูลคาของสัญญาดังกลาวมีคา = 530.00
                                             
  x 1,000 = 530,000 บาท
Tick Size
 การกําหนดราคาชวงหางของราคาขันต่ํา (Tick Size) ในการ
                                  ้
 เสนอราคาแตละครั้ง หนวยของราคาที่ละเอียดที่สุดที่เสนอไดคือ
 ดัชนีที่มหนวยทศนิยมหนึ่งตําแหนง
          ี
 เชน 500.10           500.20
      500.30         500.40
      แตไมสามารถเสนอที่ 500.24 ได เปนตน
ซื้อขาย SET 50 Index Futures ทําอยางไร

 สงคําสั่งผานบริษัทสมาชิกของตลาดตราสารอนุพันธ
 สมาชิกสงคําสั่งผานไปยังระบบซื้อขายของตลาดอนุพันธ
 คําสั่งซื้อขายจับคูกัน
 สมาชิกยืนยันไปยังลูกคา
ขั้นตอนการซื้อขาย

  สั่งคําสั่งซื้อขายผาน Broker โดยลูกคาจะตองวางเงินประกัน
  ขั้นตนกอนคําสั่งซื้อขาย
  สรุปกําไรขาดทุนทุกวัน (Daily Mark-to-Market)
  วางเงินเพิ่ม หรือถอนออก เงินประกัน
  หมั่นตรวจสอบสถานะ เพื่อประเมินและตัดสินใจปรับเปลี่ยนสถานะ
  ของตนเอง
ซื้อ SET 50 Index Futures ตางจากการซื้อ
หุนอยางไร

  ผูลงทุนไมตองจายเงินเต็มจํานวนในวันที่ซื้อขาย
  แตเปนการวางหลักประกัน 5 – 10% ของมูลคาสัญญา
  ทุกสิ้นวันจะมีการทํา Mark to Market ถาหากเงินไมพอ
  ก็เรียกหลักประกันเพิ่ม หากเงินพอก็สามารถขอคืนได
Price Limit
 ชวงการเปลี่ยนแปลงสูงสุดในแตละวัน (Price Limit) ราคา
 ของ Futures ที่เสนอซื้อขายกันจะ เพิ่มขึ้นหรือลดลงไดไมเกิน
 กวา 30% ของราคาที่สํานักหักบัญชีประกาศในวันกอนหนา

 เชน ราคาที่ใชชําระราคาเมือวานเทากับ 500 ดังนั้นในวันนี้ราคา
                            ่
 สามารถเปลี่ยนแปลงไดไมนอยกวา 350 หรือไมมากกวา 650 เปน
 ตน
Circuit Breaker
 Trigger Point 1 เมื่อราคาลดลงไมต่ํากวา 10% ยังมีการ
 ซื้อขาย แตจะทําการหยุดการซื้อขายเมื่อ SET หยุดการซื้อขาย
 เนื่องจาก Circuit Breaker (CB) ครั้งที่ 1 ทํางาน
 จะเริ่มการซื้อขายเมื่อ SET เปด
 Trigger Point 2 เมื่อราคาลดลงไมต่ํากวา 20% ยังมีการ
 ซื้อขาย แตจะหยุดการซื้อขายเมื่อ SET หยุดการซื้อขาย CB
 ครั้งที่ 2 ทํางาน จะเริ่มการซือขายใหมเมื่อ SET เปด
                               ้
Circuit Breaker
 Final Price ยังเปดใหซื้อขายแตราคาตองไมต่ํากวา 30%
 เมื่อใดก็ตามที่ตลาดหลักทรัพยหยุดเมื่อขัดของทางเทคนิค TFEX
 ก็จะหยุดทันทีเชนกัน
เดือนที่สัญญาสิ้นอายุ

  ตรงกับ เดือนมีนาคม มิถนายน กันยายน และ
                           ุ
  ธันวาคม โดยนับไมเกินกวา 4 ไตรมาส
  สัญญาจะสินสุด 1 วันกอนวันทําการสุดทายของเดือน
              ้
  ซึ่งนับเปนวันสุดทายของการซื้อขาย
เดือนที่สัญญาสิ้นอายุ

  ณ วันที่ 29 มีนาคม 2550
  สัญญาที่มีในระบบ คือ
   SET50MAR07
   SET50JUN07
   SET50SEP07
   SET50DEC07
เดือนที่สัญญาสิ้นอายุ

  ณ วันที่ 30 มีนาคม 2550
  สัญญาที่มีในระบบ คือ
   SET50MAR07
   SET50JUN07
   SET50SEP07
   SET50DEC07
   SET50MAR08
   สาเหตุทมีสัญญาเพิ่ม เพราะวันสุดทายของการซื้อขาย จึงมีรายการทับกัน 1
          ี่
      วัน
เดือนที่สัญญาสิ้นอายุ

  ณ วันที่ 31 มีนาคม 2550
  สัญญาที่มีในระบบ คือ
   SET50JUN07
   SET50SEP07
   SET50DEC07
   SET50MAR08
ชื่อยอของ SET 50 Index Futures

Jan = F       Jul = N
Feb = G       Aug = Q
Mar = H       Sep = U
Apr = J       Oct = V
May = K       Nov = X
Jun = M       Dec = Z
ชื่อยอของ SET 50 Index Futures

 เชน Series Name
 S50H06 = SET50MAR06
 S50Z06 = SET50DEC06
 S50H07 = SET50 MAR07
Position Limit
 จํานวนสัญญาที่ผูลงทุนสามารถมีสถานะได (Position
 Limit)
 สัญญาที่ครบกําหนดในแตละเดือนไมเกิน 10,000 สัญญา
 สถานะสุทธิของทุกเดือนรวมกันตองไมเกิน 10,000 สัญญา
 (Long & Short)
Settlement Price
 ราคาที่ใชชําระราคาประจําวัน (Daily Settlement
 Price) เปนราคาที่เผยแพรทุกสิ้นวัน เพื่อคํานวณกําไรขาดทุน
 ราคาที่ใชชําระราคาวันสุดทาย (Final Settlement
 Price) เปนราคาที่ใชคํานวณกําไรขาดทุนในวันสุดทายของ
 สัญญา ใชคาเฉลี่ยถึงทศนิยมตําแหนงที่สอง รายนาที 30 นาที นํามา
 เฉลี่ย
ขั้นตอนการทํา Marked-to-Market

 1 ก.ย. 48 ผูลงทุนซื้อ Futures เดือน ธ.ค. 49 จํานวน 1
 สัญญา ที่ราคา 520 จุด ถากําหนดใหวางเงินประกันขั้นตน 50,000
 บาท และมีอัตราเงินประกันขั้นต่ํา 35,000 บาท
 วันที่ 1 ถาดัชนีเปน 522 จุด ผูลงทุนจะมีสถานะทางบัญชี คือ
 กําไร (522-520) x 1,000 = 2,000 และเงินประกันขั้นตน 50,000
 บาท รวมเปน 52,000 บาท
ขั้นตอนการทํา Marked-to-Market

 วันที่ 2 ถาดัชนีเปน 515 จุด จะขาดทุน (515-522) x 1,000 = -
 7,000 บาท ทําใหยอดเงินลดลงเหลือ 52,000 – 7,000 = 45,000
 บาท
 วันที่ 3 ถาดัชนีเปน 504 จุด จะขาดทุนอีก (504-515)x 1,000 = -
 11,000 บาท ทําใหยอดเงินคงเหลือ 45,000 – 11,000 = 34,000
 บาท ซึ่งต่ํากวาเงินประกันขั้นต่ํา ผูลงทุนจึงตองนําเงินมาชําระเพิ่มจน
 เทากับหลักประกันขั้นตน คือ 16,000 บาท
ประโยชนของ SET50 Index Futures

 ใชบริหารความเสี่ยง คือบางครั้งอาจเกิดการขาดทุนในหุน แตกําไร
 จาก Futures
 หากคาดการณวา SET 50 Index จะมีแนวโนมดีขึ้น ให
 ทําการซื้อ SET50 Index Futures
 หากคาดการณวา SET 50 Index จะมีแนวโนมแยลง ให
 ทําการขาย SET50 Index Futures
ตลาดสินคาเกษตรลวงหนา (ตสล)

  ต.ส.ล.หรือตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหง
  ประเทศไทยเปนนิติบุคคลที่จัดตังขึ้นตาม
                                ้
  พระราชบัญญัตการซือขายสินคาเกษตรลวงหนา
                ิ้
  พ.ศ.2542 เปนตลาดซือขายสินคาเกษตรลวงหนา
                     ้
  แหงเดียวในประเทศไทย การซือขายลวงหนาใน
                              ้
  ตลาด (Futures Exchange)
สินคาที่สามารถซื้อขายในตลาดลวงหนาทางการเกษตรได
คือ

  1.สินคาประเภทธัญพืช และอุตสาหกรรมที่
  เกี่ยวของ เชน ขาว ขาวสาลี ขาวโอต ขาวบารเลย
  ขาวฟาง ถั่วเหลือง ฝาย น้ํามันถัวเหลือง น้ํามัน
                                    ่
  ปาลม ฯลฯ
  2.ปศุสัตวตางๆ เชน วัว ควาย สุกร ไกงวง ไข ฯลฯ
  3.สินคาประเภทเสนใย เชน ฝาย ขนแกะ
  4.อาหารอืนๆ เชน น้ําตาล มันฝรั่ง กาแฟ โกโก
              ่
  เปนตน
สินคาที่สามารถซื้อขายในตลาดลวงหนาทางการเกษตรได
คือ

  5.โลหะตางๆ เชน ทอง เงิน ทองคําขาว ทองแดง
  เปนตน
  6.ผลิตภัณฑปโตรเลียม เชน น้ํามันดิบ น้ํามัน
  เชื้อเพลิง ฯลฯ
  7.เงินตราตางประเทศ เชน เงินปอนดสเตอริง เงิน
  ดอลลารแคนาดา เงินดอยซมารค เงินเยน ฯลฯ ตรา
  สารทางการเงินอื่นๆ เชน พันธบัตรรัฐบาล ดัชนี
  ราคาหุน และอัตราดอกเบี้ย เปนตน
         
สินคาที่มีการซื้อขายใน ตสล.
       คณะกรรมการกํากับการซื้อขายสินคาเกษตร
       ลวงหนา (ก.ส.ล.) ไดอนุมัติใหตลาดสินคา
       เกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย นําขาวขาว
       5% และยางแผนรมควันชั้น 3 เขาซื้อขายใน
       ตลาดฯเปนลําดับแรกๆของป 2547
       ในป 2548 ไดมการนํา มันสําปะหลังประเภท
                      ี
       สตารช ชั้นพิเศษ เขามาจําหนายใน ตสล.
สินคาที่มีการซื้อขายใน ตสล.

  ในปจจุบนสินคาที่มการซือขายใน ตสล.
          ั          ี้
  คือ ยางแผนรมควันชั้น 3 ขาวขาว 5%
  ขอตกลงขนาดเล็ก ยางแทงเอสทีอาร20
  แปงมันสําปะหลังชั้นพิเศษ และ น้ํายาง
  ขน
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 %
วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 26 สิงหาคม 2547

  สินคา                           ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต
  คุณภาพสินคาที่สงมอบ ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต
                 ตามมาตรฐาน
  หนวยการซื้อขาย                  15,000 กิโลกรัม หรือ
        15 เมตริกตัน /หนึ่งหนวยการซื้อขาย
  หนวยการสงมอบ                   15,000 กิโลกรัม หรือ
        15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 %

  วิธีการซื้อขาย        ระบบอิเล็คทรอนิกส
  ราคาซื้อขาย           บาท / กิโลกรัม
  อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา)
     0.02 บาท / กิโลกรัม
  อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน
     0.32 บาท / กิโลกรัม
     (ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึนลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง
                                  ้
     ราคาอางอิงตามทฤษฎี)
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 %

  อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ)
      สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 4,200 บาท ตอขอตกลง
      สําหรับบัญชีอน ๆ 5,600 บาท ตอขอตกลง
                    ื่
  อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ)
      สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 41,300 บาท ตอขอตกลง
      สําหรับบัญชีอน ๆ 55,000 บาท ตอขอตกลง
                       ื่
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควันชั้น 3
วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 28 พฤษภาคม 2547

   สินคา                            ยางแผนรมควันชั้น 3
   คุณภาพสินคาที่สงมอบ ตามมาตรฐาน Green
         Book และผลิตหรือสงมอบจาก
         โรงงานที่ตลาดรับรอง
   หนวยการซื้อขาย                   5,000 กิโลกรัม หรือ 5
         เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการซื้อขาย
   หนวยการสงมอบ                    20,000 กิโลกรัม หรือ
         20 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควันชั้น 3

   วิธีการซื้อขาย        ระบบอิเล็คทรอนิกส
   ราคาซื้อขาย           บาท / กิโลกรัม
   อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา)
       0.10 บาท / กิโลกรัม
   อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน
       2.1 บาท / กิโลกรัม
       (ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึนลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง
                                    ้
       ราคาอางอิงตามทฤษฎี)
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควันชั้น 3

   อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ)
       สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 9,500 บาท ตอขอตกลง
       สําหรับบัญชีอน ๆ 12,700 บาท ตอขอตกลง
                     ื่
   อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ)
       สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 65,700 บาท ตอขอตกลง
       สําหรับบัญชีอน ๆ 87,400 บาท ตอขอตกลง
                        ื่
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช
ชั้นพิเศษ วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 25 มีนาคม 2548

   สินคา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ
   คุณภาพสินคาที่สงมอบ ตามประกาศกระทรวง
                                    พาณิชย
   หนวยการซื้อขาย                  15,000 กิโลกรัม หรือ
         15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการซื้อขาย
   หนวยการสงมอบ                   15,000 กิโลกรัม หรือ
         15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช
ชั้นพิเศษ

   วิธีการซื้อขาย        ระบบอิเล็คทรอนิกส
   ราคาซื้อขาย           บาท / กิโลกรัม
   อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา)
       0.01 บาท / กิโลกรัม
   อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน
       0.43 บาท / กิโลกรัม
       (ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึนลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง
                                    ้
       ราคาอางอิงตามทฤษฎี)
ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช
ชั้นพิเศษ
             อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ)
                 สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 6,500 บาท ตอขอตกลง
                 สําหรับบัญชีอน ๆ 8,700 บาท ตอขอตกลง
                               ื่
             อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ)
                 สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 45,000 บาท ตอขอตกลง
                 สําหรับบัญชีอน ๆ 59,900 บาท ตอขอตกลง
                                  ื่
ขอมูลเพิ่มเติมศึกษาไดที่:
บริษัท ตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
Thailand Futures Exchange PCL
www.tfex.co.th


ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย
The Agricultural Futures Exchange
of Thailand
www.afet.or.th

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interesttltutortutor
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1guest48146f
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawSarinee Achavanuntakul
 
New HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessNew HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessDrDanai Thienphut
 
Strategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseStrategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseWorawisut Pinyoyang
 
Thailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemThailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemNarinporn Malasri
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟglenferry
 
เกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคเกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคTechno Polis
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONPiyaratt R
 
WHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTWHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTphaisack
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.DrDanai Thienphut
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismSarinee Achavanuntakul
 
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสTouch Thanaboramat
 

Was ist angesagt? (17)

Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 
Household Energy Saving
Household Energy SavingHousehold Energy Saving
Household Energy Saving
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
 
MBA- Entrepreneurship
MBA- EntrepreneurshipMBA- Entrepreneurship
MBA- Entrepreneurship
 
New HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessNew HRD Concept for Business
New HRD Concept for Business
 
Strategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseStrategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks Case
 
Thailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemThailand Energy Management System
Thailand Energy Management System
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟ
 
เกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคเกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มค
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ON
 
WHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTWHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUT
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on TourismRevolutionary Wealth and Implications on Tourism
Revolutionary Wealth and Implications on Tourism
 
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
 

Andere mochten auch

Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plustltutortutor
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602tltutortutor
 
Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Reporttltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updatedtltutortutor
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summarytltutortutor
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updatedtltutortutor
 

Andere mochten auch (19)

Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602
 
Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Report
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updated
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updated
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summary
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updated
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
 

Mehr von tltutortutor

Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดtltutortutor
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwesttltutortutor
 

Mehr von tltutortutor (6)

Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwest
 

Ru Derivativesand Risk Management Part3

  • 1. BM624 Derivatives and Corporate Risk Management Part 3 ดร.กิตติพันธ คงสวัสดิ์เกียรติ
  • 2. ตลาดตราสารอนุพันธที่มีในประเทศไทย การซือขายสัญญาซื้อขายลวงหนาอัตราแลกเปลี่ยน ้ เงินตราตางประเทศกับธนาคาร การซือขายสินคาเกษตรลวงหนาที่ ตลาดสินคาเกษตร ้ ลวงหนาแหงประเทศไทย การซือขายดัชนี SET50 Index ้ Futures กับ ตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย) จํากัด
  • 3. ปจจัยที่ทําใหเกิดตลาดอนุพันธในประเทศไทย การเชือมโยงระหวางตลาดการเงินไทยกับตลาดการเงิน ่ โลก ซึ่งตองเผชิญกับความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ยและ ราคาหุน เพื่อใหมีเครื่องมือที่มประสิทธิภาพในการบริหารความ ี เสี่ยง เพิ่มทางเลือกในการลงทุน
  • 4. ประเภทของอนุพันธที่ซื้อขายในตลาดโลก อนุพันธที่อางอิงกับดัชนีราคาหลักทรัพย (Index) อนุพันธที่อางอิงกับหลักทรัพย (Stock) อนุพันธที่อางอิงกับอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate) อนุพันธที่อางอิงกับสินคาโภคภัณฑ (Commodities) อนุพันธที่อางอิงกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ (Currency)
  • 5. ตลาดอนุพันธในประเทศไทย บมจ.ตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย) Thailand Futures Excahange PLC (TFEX) เปนบริษัทยอยของตลาดหลักทรัพยฯ ตั้งขั้น เพื่อเปนศูนยกลางการซื้อขายตราสารอนุพันธ เมื่อ 17 พ.ค. 2547 กํากับดูแลโดย สํานักงาน กลต.
  • 6. ตลาดอนุพันธในประเทศไทย บริษัทสํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัด Thailand Clearing House Co., Ltd. TCH เปนบริษัทยอยของ ศูนยรับฝากหลักทรัพยฯ ตั้งขึ้นเพื่อ เปนสํานักหักบัญชีใหกับตลาดอนุพันธ เมื่อ 9 ส.ค. 2547 เพื่อทําการประกันการชําระราคาใหผูซอผูขาย โดย ื้ เรียกหลักประกันจากผูซื้อและผูขาย เพื่อใหมั่นใจวาทั้ง 2  ฝายจะกระทําตามสัญญา
  • 7. ตลาด OTC และตลาดอนุพันธ OTC Derivatives มีความเสี่ยงวา คูสัญญาจะสามารถ ขจัดความเสี่ยงในสวนนี้ได เนื่องจากมีสํานักหักบัญชีเปน ปฏิบัตตามสัญญานั้นไดหรือไม ิ คูสัญญา สัญญาจะขึ้นอยูกับการเจรจาของ ลักษณะของสัญญาเปนมาตรฐาน คูสัญญา ไมเปนมาตรฐาน เดียวกัน สภาพคลองต่ํา สภาพคลองสูง ลางฐานะสัญญากอนหมดอายุได
  • 8. ลักษณะสําคัญของตราสารอนุพันธ มีมลคาขึนอยูกับสิงที่อนุพันธนั้นอางอิงอยู ู้ ่ มีอายุจํากัด ใชเงินลงทุนนอย ทําใหการลงทุนใหอัตรา ผลตอบแทนที่สง ทังดานบวกและดานลบ ู้
  • 9. อนุพันธทางการเงินที่มีซื้อขายแลวในปจจุบัน ตาม พรบ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 2535 อนุพันธทางการเงินบางประเภทถูกนิยามโดยกฎหมาย ใหเปนหลักทรัพยและสามารถซื้อขายไดในตลาด หลักทรัพย คือ Warrant และ Derivatives Warrant ที่เปนตราสาร ที่ใหสิทธิแกผูถือตราสารในการทีจะซื้อสินทรัพยทตรา ่ ี่ สารนันอางอิงอยู ตามราคาและสัดสวนที่ไดกาหนดไว ้ ํ
  • 10. Warrant ผูออก (Issuer) คือ บริษัทที่เปน  เจาของกิจการ จึงสามารถออกหุนใหม  ใหกบผูลงทุนที่ใชสทธิไดโดยตรง ั ิ
  • 11. Derivative Warrant ผูออก (Issuer) ไมใชบริษัทที่เปน เจาของกิจการ จึงตองหาหุนมาสงมอบ เมื่อ ผูลงทุนขอใชสิทธิ เชน SCIB-C1 ซึ่งออกโดยกองทุนฟนฟูฯ เปนตน
  • 12. สินคาที่ซื้อขายในตลาดอนุพันธ ตาม พรบ. สัญญาซื้อขายลวงหนา 2546 สินคาที่ สามารถซื้อขายไดในตลาดตราสารอนุพนธ คือั Futures, Options และ Futures บน Option ทีมีสินคา ่ อางอิงไดแก หุนสามัญ ดัชนีกลุมหลักทรัพย อัตรา   ดอกเบี้ย (พันธบัตร และหุนกู) อัตราแลกเปลี่ยน  ทองคํา น้ามันดิบ หรือดัชนีทางการเงินอื่น ๆ ํ ทั้งนี้ไมรวมถึงสินคาเกษตร ซึ่งระบุใน พรบ. ตาง ฉบับ
  • 13. สินคาที่ซื้อขายในตลาดอนุพันธ SET 50 Index Futures และในอนาคตจะมีสัญญา Interest Rate Futures และสัญญาอื่น ๆ เพิ่มเติม
  • 14. ขั้นตอนการซื้อขายในตลาดอนุพันธ ผูซื้อ ผูขาย บริษัทสมาชิก บริษัทสมาชิก TFEX สํานักหักบัญชี (TCH) คํานวณ และ เรียกเงินประกัน
  • 15. ใครคือสมาชิกของตลาดอนุพันธ ไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจเปนนายหนาอนุพันธ จาก สํานักงาน กลต. ซึ่งกําหนดใหผูขอรับใบอนุญาตจะตองเปน บริษัทหลักทรัพย หรือ บริษัทที่จัดตั้งใหม ซึ่งถือหุนโดย  บริษัทหลักทรัพยหรือธนาคารพาณิชยไมต่ํากวา 75% มีคุณสมบัติตามที่ตลาดตราสารอนุพันธกําหนด (รายงาน ฐานะทางการเงิน ความพรอมในการประกอบธุรกิจ และการ บริหารงาน)
  • 16. ประเภทของผูลงทุนในตลาดอนุพันธ Hedgers ผูลงทุนสถาบัน (ในและตางประเทศ) กองทุนรวม บริษัทประกันภัย กบข. เปนตน Speculators ผูลงทุนและผูสนใจทัวไป ่ Arbitrageurs ผูลงทุนสถาบัน (ในและ ตางประเทศ)
  • 17. ผูลงทุนไดประโยชนจากอนุพันธ ไดอยางไร ผูลงทุนที่ถือหุนสามัญอยู และมีความเสี่ยงในการลงทุน จะ  ใชอนุพันธเปนเครืองมือในการบริหารความเสี่ยงดวยตนทุน ่ ต่ํา และปรับสัดสวนการลงทุนไดสะดวก ผูที่ตองการเพิ่มอัตราผลตอบแทน เชน คาดวาตลาดจะมี แนวโนมสูงขึ้น ก็จะซื้อ Futures และถาคาดวาตลาด จะมีแนวโนมลดลง ก็จะขาย Futures แตหาก พยากรณผิด ก็จะขาดทุน
  • 18. SET 50 Index Futures คือ สัญญา ที่ผูซอกับผูขายตกลงกันในวันนี้ วาจะซือ ื้ ้ ขาย SET 50 Index ณ ราคาหนึงใน ่ อนาคต เชน 3 เดือน หรือ 6 เดือน เปนตน SET 50 Index เปนดัชนี ผูซื้อผูขายจึงไม สามารถสงมอบกันได จึงมีการจายชําระเงินกําไร ขาดทุนแทนกัน
  • 19. SET 50 Index Futures SET 50 Index + Futures = SET 50 Index Futures SET 50 Index เปนดัชนี ดังนันผูซื้อผูขาย ้ จึงไมสามารถสงมอบหลักทรัพย(สินทรัพย)ที่อางอิงได การคํานวณกําไรขาดทุนจึงใชจํานวนเงินแทน (Cash Settlement)
  • 20. หลักเกณฑการคัดเลือก SET 50 Index เลือกหุนสามัญที่มี Mkt. Cap. เฉลี่ยตอวันยอนหลัง 12 เดือน สูง 200 ลําดับแรก และไมอยูระหวางการสั่งพักการซื้อขาย (SP) นานเกิน 7 วัน จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยไมนอยกวา 6 เดือน มีสัดสวนผูถือหุนรายยอยไมนอยกวา 20% เปนหุนสามัญทีมมูลคาซื้อขายสม่ําเสมอ ่ี พิจารณาคัดเลือกหลักทรัพยทุก 6 เดือน (พ.ค. และ พ.ย.)
  • 21. SET 50 Index Futures เชน ณ วันที่ 1 ต.ค. 48 ผูลงทุนซื้อ SET 50 Index Futures จํานวน 1 สัญญา ที่ 45 จุด โดยสัญญามีอายุ 3 เดือน หมายความวา ณ วันที่ 1 ต.ค. 48 ผูลงทุนไดทําสัญญาตกลงที่จะซื้อ SET 50 Index Futures จากผูขายในราคา 45 จุด โดยกําหนดสงมอบกันในอีก 3 เดือนขางหนา
  • 22. SET 50 Index Futures หากวันที่ 30 ธ.ค. 48 ซึ่งเปนวันสงมอบ และ SET 50 Index Futures ปดที่ ระดับ 48 จุด ก็จะมีกําไรจากการ ซื้อสัญญา SET 50 Index Futures เทากับ 3 จุด (48 – 45 จุด) ถากําหนดให 1 จุดดัชนี เทากับ 1,000 ก็จะมีกําไรเปนเงินเทากับ 3,000 บาท
  • 23. ตัวคูณดัชนี (Multiplier) ดัชนี SET 50 หนึ่งจุด = 1,000 บาท เชน ผูลงทุนขาย SET 50 Index Futures ที่ราคา 530.00 จุด แสดงวามูลคาของสัญญาดังกลาวมีคา = 530.00  x 1,000 = 530,000 บาท
  • 24. Tick Size การกําหนดราคาชวงหางของราคาขันต่ํา (Tick Size) ในการ ้ เสนอราคาแตละครั้ง หนวยของราคาที่ละเอียดที่สุดที่เสนอไดคือ ดัชนีที่มหนวยทศนิยมหนึ่งตําแหนง ี เชน 500.10 500.20 500.30 500.40 แตไมสามารถเสนอที่ 500.24 ได เปนตน
  • 25. ซื้อขาย SET 50 Index Futures ทําอยางไร สงคําสั่งผานบริษัทสมาชิกของตลาดตราสารอนุพันธ สมาชิกสงคําสั่งผานไปยังระบบซื้อขายของตลาดอนุพันธ คําสั่งซื้อขายจับคูกัน สมาชิกยืนยันไปยังลูกคา
  • 26. ขั้นตอนการซื้อขาย สั่งคําสั่งซื้อขายผาน Broker โดยลูกคาจะตองวางเงินประกัน ขั้นตนกอนคําสั่งซื้อขาย สรุปกําไรขาดทุนทุกวัน (Daily Mark-to-Market) วางเงินเพิ่ม หรือถอนออก เงินประกัน หมั่นตรวจสอบสถานะ เพื่อประเมินและตัดสินใจปรับเปลี่ยนสถานะ ของตนเอง
  • 27. ซื้อ SET 50 Index Futures ตางจากการซื้อ หุนอยางไร ผูลงทุนไมตองจายเงินเต็มจํานวนในวันที่ซื้อขาย แตเปนการวางหลักประกัน 5 – 10% ของมูลคาสัญญา ทุกสิ้นวันจะมีการทํา Mark to Market ถาหากเงินไมพอ ก็เรียกหลักประกันเพิ่ม หากเงินพอก็สามารถขอคืนได
  • 28. Price Limit ชวงการเปลี่ยนแปลงสูงสุดในแตละวัน (Price Limit) ราคา ของ Futures ที่เสนอซื้อขายกันจะ เพิ่มขึ้นหรือลดลงไดไมเกิน กวา 30% ของราคาที่สํานักหักบัญชีประกาศในวันกอนหนา เชน ราคาที่ใชชําระราคาเมือวานเทากับ 500 ดังนั้นในวันนี้ราคา ่ สามารถเปลี่ยนแปลงไดไมนอยกวา 350 หรือไมมากกวา 650 เปน ตน
  • 29. Circuit Breaker Trigger Point 1 เมื่อราคาลดลงไมต่ํากวา 10% ยังมีการ ซื้อขาย แตจะทําการหยุดการซื้อขายเมื่อ SET หยุดการซื้อขาย เนื่องจาก Circuit Breaker (CB) ครั้งที่ 1 ทํางาน จะเริ่มการซื้อขายเมื่อ SET เปด Trigger Point 2 เมื่อราคาลดลงไมต่ํากวา 20% ยังมีการ ซื้อขาย แตจะหยุดการซื้อขายเมื่อ SET หยุดการซื้อขาย CB ครั้งที่ 2 ทํางาน จะเริ่มการซือขายใหมเมื่อ SET เปด ้
  • 30. Circuit Breaker Final Price ยังเปดใหซื้อขายแตราคาตองไมต่ํากวา 30% เมื่อใดก็ตามที่ตลาดหลักทรัพยหยุดเมื่อขัดของทางเทคนิค TFEX ก็จะหยุดทันทีเชนกัน
  • 31. เดือนที่สัญญาสิ้นอายุ ตรงกับ เดือนมีนาคม มิถนายน กันยายน และ ุ ธันวาคม โดยนับไมเกินกวา 4 ไตรมาส สัญญาจะสินสุด 1 วันกอนวันทําการสุดทายของเดือน ้ ซึ่งนับเปนวันสุดทายของการซื้อขาย
  • 32. เดือนที่สัญญาสิ้นอายุ ณ วันที่ 29 มีนาคม 2550 สัญญาที่มีในระบบ คือ SET50MAR07 SET50JUN07 SET50SEP07 SET50DEC07
  • 33. เดือนที่สัญญาสิ้นอายุ ณ วันที่ 30 มีนาคม 2550 สัญญาที่มีในระบบ คือ SET50MAR07 SET50JUN07 SET50SEP07 SET50DEC07 SET50MAR08 สาเหตุทมีสัญญาเพิ่ม เพราะวันสุดทายของการซื้อขาย จึงมีรายการทับกัน 1 ี่ วัน
  • 34. เดือนที่สัญญาสิ้นอายุ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2550 สัญญาที่มีในระบบ คือ SET50JUN07 SET50SEP07 SET50DEC07 SET50MAR08
  • 35. ชื่อยอของ SET 50 Index Futures Jan = F Jul = N Feb = G Aug = Q Mar = H Sep = U Apr = J Oct = V May = K Nov = X Jun = M Dec = Z
  • 36. ชื่อยอของ SET 50 Index Futures เชน Series Name S50H06 = SET50MAR06 S50Z06 = SET50DEC06 S50H07 = SET50 MAR07
  • 37. Position Limit จํานวนสัญญาที่ผูลงทุนสามารถมีสถานะได (Position Limit) สัญญาที่ครบกําหนดในแตละเดือนไมเกิน 10,000 สัญญา สถานะสุทธิของทุกเดือนรวมกันตองไมเกิน 10,000 สัญญา (Long & Short)
  • 38. Settlement Price ราคาที่ใชชําระราคาประจําวัน (Daily Settlement Price) เปนราคาที่เผยแพรทุกสิ้นวัน เพื่อคํานวณกําไรขาดทุน ราคาที่ใชชําระราคาวันสุดทาย (Final Settlement Price) เปนราคาที่ใชคํานวณกําไรขาดทุนในวันสุดทายของ สัญญา ใชคาเฉลี่ยถึงทศนิยมตําแหนงที่สอง รายนาที 30 นาที นํามา เฉลี่ย
  • 39. ขั้นตอนการทํา Marked-to-Market 1 ก.ย. 48 ผูลงทุนซื้อ Futures เดือน ธ.ค. 49 จํานวน 1 สัญญา ที่ราคา 520 จุด ถากําหนดใหวางเงินประกันขั้นตน 50,000 บาท และมีอัตราเงินประกันขั้นต่ํา 35,000 บาท วันที่ 1 ถาดัชนีเปน 522 จุด ผูลงทุนจะมีสถานะทางบัญชี คือ กําไร (522-520) x 1,000 = 2,000 และเงินประกันขั้นตน 50,000 บาท รวมเปน 52,000 บาท
  • 40. ขั้นตอนการทํา Marked-to-Market วันที่ 2 ถาดัชนีเปน 515 จุด จะขาดทุน (515-522) x 1,000 = - 7,000 บาท ทําใหยอดเงินลดลงเหลือ 52,000 – 7,000 = 45,000 บาท วันที่ 3 ถาดัชนีเปน 504 จุด จะขาดทุนอีก (504-515)x 1,000 = - 11,000 บาท ทําใหยอดเงินคงเหลือ 45,000 – 11,000 = 34,000 บาท ซึ่งต่ํากวาเงินประกันขั้นต่ํา ผูลงทุนจึงตองนําเงินมาชําระเพิ่มจน เทากับหลักประกันขั้นตน คือ 16,000 บาท
  • 41. ประโยชนของ SET50 Index Futures ใชบริหารความเสี่ยง คือบางครั้งอาจเกิดการขาดทุนในหุน แตกําไร จาก Futures หากคาดการณวา SET 50 Index จะมีแนวโนมดีขึ้น ให ทําการซื้อ SET50 Index Futures หากคาดการณวา SET 50 Index จะมีแนวโนมแยลง ให ทําการขาย SET50 Index Futures
  • 42. ตลาดสินคาเกษตรลวงหนา (ตสล) ต.ส.ล.หรือตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหง ประเทศไทยเปนนิติบุคคลที่จัดตังขึ้นตาม ้ พระราชบัญญัตการซือขายสินคาเกษตรลวงหนา ิ้ พ.ศ.2542 เปนตลาดซือขายสินคาเกษตรลวงหนา ้ แหงเดียวในประเทศไทย การซือขายลวงหนาใน ้ ตลาด (Futures Exchange)
  • 43. สินคาที่สามารถซื้อขายในตลาดลวงหนาทางการเกษตรได คือ 1.สินคาประเภทธัญพืช และอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวของ เชน ขาว ขาวสาลี ขาวโอต ขาวบารเลย ขาวฟาง ถั่วเหลือง ฝาย น้ํามันถัวเหลือง น้ํามัน ่ ปาลม ฯลฯ 2.ปศุสัตวตางๆ เชน วัว ควาย สุกร ไกงวง ไข ฯลฯ 3.สินคาประเภทเสนใย เชน ฝาย ขนแกะ 4.อาหารอืนๆ เชน น้ําตาล มันฝรั่ง กาแฟ โกโก ่ เปนตน
  • 44. สินคาที่สามารถซื้อขายในตลาดลวงหนาทางการเกษตรได คือ 5.โลหะตางๆ เชน ทอง เงิน ทองคําขาว ทองแดง เปนตน 6.ผลิตภัณฑปโตรเลียม เชน น้ํามันดิบ น้ํามัน เชื้อเพลิง ฯลฯ 7.เงินตราตางประเทศ เชน เงินปอนดสเตอริง เงิน ดอลลารแคนาดา เงินดอยซมารค เงินเยน ฯลฯ ตรา สารทางการเงินอื่นๆ เชน พันธบัตรรัฐบาล ดัชนี ราคาหุน และอัตราดอกเบี้ย เปนตน 
  • 45. สินคาที่มีการซื้อขายใน ตสล. คณะกรรมการกํากับการซื้อขายสินคาเกษตร ลวงหนา (ก.ส.ล.) ไดอนุมัติใหตลาดสินคา เกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย นําขาวขาว 5% และยางแผนรมควันชั้น 3 เขาซื้อขายใน ตลาดฯเปนลําดับแรกๆของป 2547 ในป 2548 ไดมการนํา มันสําปะหลังประเภท ี สตารช ชั้นพิเศษ เขามาจําหนายใน ตสล.
  • 46. สินคาที่มีการซื้อขายใน ตสล. ในปจจุบนสินคาที่มการซือขายใน ตสล. ั ี้ คือ ยางแผนรมควันชั้น 3 ขาวขาว 5% ขอตกลงขนาดเล็ก ยางแทงเอสทีอาร20 แปงมันสําปะหลังชั้นพิเศษ และ น้ํายาง ขน
  • 47. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 % วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 26 สิงหาคม 2547 สินคา ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต คุณภาพสินคาที่สงมอบ ขาวขาว 5 เปอรเซ็นต ตามมาตรฐาน หนวยการซื้อขาย 15,000 กิโลกรัม หรือ 15 เมตริกตัน /หนึ่งหนวยการซื้อขาย หนวยการสงมอบ 15,000 กิโลกรัม หรือ 15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ
  • 48. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 % วิธีการซื้อขาย ระบบอิเล็คทรอนิกส ราคาซื้อขาย บาท / กิโลกรัม อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา) 0.02 บาท / กิโลกรัม อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน 0.32 บาท / กิโลกรัม (ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึนลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง ้ ราคาอางอิงตามทฤษฎี)
  • 49. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ขาวขาว 5 % อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ) สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 4,200 บาท ตอขอตกลง สําหรับบัญชีอน ๆ 5,600 บาท ตอขอตกลง ื่ อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ) สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 41,300 บาท ตอขอตกลง สําหรับบัญชีอน ๆ 55,000 บาท ตอขอตกลง ื่
  • 50. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควันชั้น 3 วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 28 พฤษภาคม 2547 สินคา ยางแผนรมควันชั้น 3 คุณภาพสินคาที่สงมอบ ตามมาตรฐาน Green Book และผลิตหรือสงมอบจาก โรงงานที่ตลาดรับรอง หนวยการซื้อขาย 5,000 กิโลกรัม หรือ 5 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการซื้อขาย หนวยการสงมอบ 20,000 กิโลกรัม หรือ 20 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ
  • 51. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควันชั้น 3 วิธีการซื้อขาย ระบบอิเล็คทรอนิกส ราคาซื้อขาย บาท / กิโลกรัม อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา) 0.10 บาท / กิโลกรัม อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน 2.1 บาท / กิโลกรัม (ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึนลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง ้ ราคาอางอิงตามทฤษฎี)
  • 52. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา ยางแผนรมควันชั้น 3 อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ) สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 9,500 บาท ตอขอตกลง สําหรับบัญชีอน ๆ 12,700 บาท ตอขอตกลง ื่ อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ) สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 65,700 บาท ตอขอตกลง สําหรับบัญชีอน ๆ 87,400 บาท ตอขอตกลง ื่
  • 53. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ วันเริ่มแรกของการซื้อขาย 25 มีนาคม 2548 สินคา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ คุณภาพสินคาที่สงมอบ ตามประกาศกระทรวง พาณิชย หนวยการซื้อขาย 15,000 กิโลกรัม หรือ 15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการซื้อขาย หนวยการสงมอบ 15,000 กิโลกรัม หรือ 15 เมตริกตัน / หนึ่งหนวยการสงมอบ
  • 54. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ วิธีการซื้อขาย ระบบอิเล็คทรอนิกส ราคาซื้อขาย บาท / กิโลกรัม อัตราการขึ้นลงของราคา (ชวงราคา) 0.01 บาท / กิโลกรัม อัตราการขึ้นลงของราคาสูงสุดประจําวัน 0.43 บาท / กิโลกรัม (ตลาดอาจเปลี่ยนแปลงอัตราการขึนลงของราคาสูงสุดประจําวันโดยใชชวง ้ ราคาอางอิงตามทฤษฎี)
  • 55. ตัวอยางขอกําหนดการซื้อขายลวงหนา แปงมันสําปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ อัตราเงินประกันขั้นตน (ไมใชเดือนสงมอบ) สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 6,500 บาท ตอขอตกลง สําหรับบัญชีอน ๆ 8,700 บาท ตอขอตกลง ื่ อัตราเงินประกันขั้นตน (เดือนสงมอบ) สําหรับบัญชีประกันความเสี่ยง 45,000 บาท ตอขอตกลง สําหรับบัญชีอน ๆ 59,900 บาท ตอขอตกลง ื่
  • 56. ขอมูลเพิ่มเติมศึกษาไดที่: บริษัท ตลาดอนุพันธ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) Thailand Futures Exchange PCL www.tfex.co.th ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย The Agricultural Futures Exchange of Thailand www.afet.or.th