SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ประเทศญี่ปุ่ นมีความเป็นเอกลักษณ์ของการแสดง โดยเฉพาะการ
แสดงที่เป็นเรื่องราว เช่น ละครโน ละครเคียวเง็น ละครคาบูกิและละคร
หุ่นบุนราคุ เนื้อหาเรื่องราวมักเกี่ยวข้องกับความเชื่อศาสนา วิญญาณ
และโลกีย์โลก การแสดงบางประเภทจึงไม่เหมาะกับเยาวชน
อย่างไรก็ตามศิลปะการแสดงของญี่ปุ่ น พบว่าแต่ละประเภทเน้น
การนาเสนอที่ละเอียดประณีต ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการร่ายรา การแต่ง
กาย องค์ประกอบของฉาก เทคนิคต่าง ๆ บนเวที แม้กระทั่งเนื้อหา
เรื่องราวที่นามาแสดงก็เน้นให้เห็นถึงสัจธรรมของชีวิตเพื่อให้ผู้ชมได้แง่
คิดจากการ แสดง
ใช้เสียงค่อนข้างเนิบและเปล่งออกมาในระดับ
เดียว เรียกว่าอุไต ซึ่งเป็นการผสมผสานกัน
ระหว่างเสียงสวดมนต์ และการเล่านิทาน ทาให้
เสียงออกมามีความแปลกเฉพาะตัว
นอกจากนี้ในช่วงพักการแสดงของละครโน จะมี
ละครชวนหัวที่เรียกว่า " เคียวเง็น " มาแสดงคั่น
การแสดงคั่นนี้อาจะมีความเกี่ยวเนื่องบางส่วน กับ
เนื้อหาของการแสดงโนที่เล่นอยู่ หรือไม่เกี่ยวกัน
เลย โดยจุดประสงค์ก็เพื่อสร้างความสนุกสนาน
ให้กับผู้ชม
ในละครคาบูกิไม่มีนักแสดงหญิง ใช้นักแสดงชาย
แสดงเป็นผู้หญิงซึ่งเรียกว่า " อนนะงาตะ "
เวทีของคาบูกิจะมีลักษณะที่ซับซ้อน มีการดัดแปลง
พิเศษหลายแบบ เช่น ฮานามิจิ เป็นเวทีที่ทายื่นเข้าไป
ในส่วนของผู้ชม , มีการออกแบบฉากที่หมุนได้
เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้าก็มีลักษณะเฉพาะ
เนื้อเรื่องที่แสดงจะมีอยู่2 ประเภทคือ
เรื่องเกี่ยวกับสังคมซามูไร ตานานวีรบุรุษ เวทมนตร์และ
เรื่องราวอันยิ่งใหญ่
อีกประเภทคือเรื่องราวชีวิตของชาวเมือง เรื่องเศร้าเคล้า
น้าตา
หุ่นบางตัวจะมีขนาดใหญ่มากจนต้องใช้
คนสามคนในการเชิด ซึ่งสามารถ
มองเห็นได้บนเวทีการแสดงสามารถ
แสดงอารมณ์ที่รุนแรงมากได้
ปัจจุบันการแสดงละครหุ่นพื้นเมืองมี
กระจัดกระจายอยู่ทั่วญี่ปุ่น แต่เมืองที่ถือ
ว่าเป็นศูนย์กลางของบุนราะกุคือ โอซาก้า
ซึ่งสามารถชมได้ที่ National
Bunraku Theater , Osaka
วงฟิลฮาร์โมนิกออเคสตร้าแสดงผลงานดนตรีคลาสสิกที่หลากหลาย
ทั่วประเทศญี่ปุ่น และดนตรีตะวันตกหลายรูปแบบก็เป็นที่นิยมกันแทบทุก
ประเภทตั้งแต่แจ๊สและบลูส์ไปจนถึงแร็ปและร็อคแอนด์โรล
ประเทศญี่ปุ่นยังธารงประเพณีพื้นบ้านไว้ได้อย่างเหนียวแน่น
เพลง เครื่องดนตรี และการราพื้นบ้านยังคงเป็นที่นิยมแม้ในปัจจุบัน
เครื่องดนตรีพื้นบ้าน -โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลองขนาดใหญ่เสียงดัง (วะ
ไดโกะ ) และการราพื้นบ้านสามารถดึงผู้คนจานวนมากมาร่วมงาน
เทศกาลต่าง ๆ
จุดเด่นสาคัญของละครโน ก็คือหน้ากาก โดยผู้แสดงบทบาทสาคัญของแต่ละ
เรื่องจะต้องสวมหน้ากากซึ่งแกะสลักจากไม้อยู่ตลอดเวลา และไม่เปิดเผยใบหน้าจริง
โดยเด็ดขาด หน้ากากเหล่านี้จะแสดงให้เห็นถึงเพศ อายุ ประเภทของตัวละคร และสี
หน้าของตัวละครนั้นๆ เช่น ผู้หญิง คนแก่ คนหนุ่ม ปิศาจ นางฟ้า ฯลฯหากแต่ชม
เพียงหน้ากากอย่างเดียวนั้นก็ไม่อาจบอกบอกเล่าเรื่องราวของตัวละครได้หมด ต้อง
อาศัยสิ่งอื่นๆ เป็นส่วนประกอบด้วย เช่น
เครื่องแต่งกายของละครโน เรียกว่า Noh
shozoku ประกอบด้วยเสื้อผ้ามากมายหลาย
ประเภท ทั้งเสื้อชั้นใน เสื้อชั้นนอก และเสื้อคลุม
แบบต่างๆ เสื้อผ้าเหล่านี้มีส่วนสาคัญต่อการ
แสดงละครอย่างมาก เนื่องจากรูปแบบและของ
เสื้อผ้าจะช่วยบ่งบอกถึงฐานะ อารมณ์ และบุคลิก
ของตัวละครได้เป็นอย่างดี ในการแสดงแต่ละ
ครั้ง ผู้แสดงอาจต้องเปลี่ยนเสื้อผ้าหลายชุด โดย
ทาการเปลี่ยนต่อหน้าผู้ชมขณะอยู่บนเวทีแสดง
ตัวอย่างสีที่บอกสถานะของตัวละคร
• สีขาว หมายถึง ชนชั้นสูง
• สีแดง หมายถึง หญิงสาว
• สีฟ้าอ่อน หมายถึง อารมณ์ที่หุนหันพลันแล่น
• สีน้าเงินเข้ม หมายถึง คนที่มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
• สีเขียวอ่อน หมายถึง ข้าทาส, บริวาร
• สีน้าตาล หมายถึง คนรับใช้หรือชาวไร่ชาวนา
นักแสดงละครคาบูกิ ใช้การแต่งหน้า หรือ คาโช และการแสดงสีหน้าต่างๆ
แทนการใช้หน้ากาก และเนื้อเรื่องที่นามาแสดงมักจะเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ใน
ประวัติศาสตร์ หรือเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน มากกว่าการนาเรื่องเล่าพื้นบ้านมา
แสดง ซึ่งเป็นลักษณะที่คาบูกิแตกต่างจากละครราของชนชั้นสูง อย่างละครโน
และมุ่งประเด็นไปที่การวิพากษ์วิจารณ์สังคมในยุคเอโดะ
• ละครคาบูกิเป็นเป็นการแสดงที่เต็มไปด้วยฉาก
ที่ตื่นเต้นเร้าใจและมักจะต้องมีการต่อสู้กัน
เกิดขึ้นมากมายในเนื้อเรื่อง สังเกตดูหน้าของตัว
แสดง เขาจะมีการแต่งหน้าที่เป็นเอกลักษณ์ด้วย
โดยเฉพาะที่ตาจะดูน่ากลัวมาก
• โดยมีผู้คุมเวทีคือ คุโรโกะ จะมีหน้าที่ในการ
ควบคุมการแสดงไม่ว่าจะเป็นเอฟเฟ็ค ความ
ปลอดภัยและอื่นๆโดยคุโรโกะจะแต่งกายด้วย
ชุดดามีผ้าบางปิดหน้าการแต่งกายคล้ายนินจา
ของญี่ปุ่น ส่วนนักดนตรีจะใส่ชุดคล้ายซามูไร
หุ่นจะใส่กิโมโนภายใน และคลุมด้วยเสื้อคลุม แจ๊คเก็ตด้านนอก
หรือเสื้อคลุมด้านนอก และสายสะพายเหมือนเข็มขัด เพื่อให้ตุ๊กตานุ่ม
ภายไต้เสื้อผ้าจะยัดด้วยผ้าฝ้ายนอกจากน้จะมีรูภายไต้เสื้อคลุมเพื่อใช้ใน
การบังคับหุ่น
ผู้ออกแบบเครื่องแต่งกายจะออกแบบการแต่งกายที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับ
บทบาทหน้าที่ของตัวหุ่นและคนเชิดหุ่นยังมีส่วนร่วมที่เรียกว่า Koshiraeหรือ
ดูแลเสื้อผ้าของหุ่นเพราะก่อนที่พวกเขาจะใช้แสดงถ้าผ้ายคลุมชารุด เสียหายหรือเป
ลื้อนคาบสกปรกในสถานที่ก่อนออกแสดงพวกเขาก็จะรักษาให้กลับมาในสภาพ
เดิมและเตรียมชุดใหม่ของหุ่นเพื่อที่จะเล่นต่อไป

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2rojanasak tipnek
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ณัฐพล บัวพันธ์
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสนั้ม น้าม
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นTin Savastham
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์actioncutpro
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2พัน พัน
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอnewyawong
 

What's hot (20)

ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
 
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสสงานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
งานนำเสนอไอเอสสสสสสสสสส
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
 
องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์องค์ประกอบศิลป์
องค์ประกอบศิลป์
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอ
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 

More from Tin Savastham

การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรปการเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรปTin Savastham
 
ตอนแรกสังคม
ตอนแรกสังคมตอนแรกสังคม
ตอนแรกสังคมTin Savastham
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
บทที่ 1 เรื่อง ระบบสมการ
บทที่  1 เรื่อง ระบบสมการบทที่  1 เรื่อง ระบบสมการ
บทที่ 1 เรื่อง ระบบสมการTin Savastham
 
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ Tin Savastham
 
ไดโอด และ ตัวต้านทาน
ไดโอด และ ตัวต้านทานไดโอด และ ตัวต้านทาน
ไดโอด และ ตัวต้านทานTin Savastham
 
ไดโอด และ ความต้านทาน
ไดโอด และ ความต้านทานไดโอด และ ความต้านทาน
ไดโอด และ ความต้านทานTin Savastham
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Tin Savastham
 

More from Tin Savastham (8)

การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรปการเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
 
ตอนแรกสังคม
ตอนแรกสังคมตอนแรกสังคม
ตอนแรกสังคม
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
บทที่ 1 เรื่อง ระบบสมการ
บทที่  1 เรื่อง ระบบสมการบทที่  1 เรื่อง ระบบสมการ
บทที่ 1 เรื่อง ระบบสมการ
 
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
 
ไดโอด และ ตัวต้านทาน
ไดโอด และ ตัวต้านทานไดโอด และ ตัวต้านทาน
ไดโอด และ ตัวต้านทาน
 
ไดโอด และ ความต้านทาน
ไดโอด และ ความต้านทานไดโอด และ ความต้านทาน
ไดโอด และ ความต้านทาน
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 

ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint