SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
เรื่อง ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
https://sites.google.com/site/rsu26aumaum/week8
 ศูนย์กลางของระบบประสาท: สมองและไขสัน
หลัง
 เปลี่ยนแปลงมาจาก นิวรัลทิวบ์ (neural tube)
 พัฒนามาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) ใน
ระยะเอ็มบริโอ
 ลักษณะเป็นหลอดยาว ส่วนหน้าเจริญพัฒนา
เป็นสมอง 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า สมอง
ส่วนกลาง และสมองส่วนหลัง
 ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง
 สมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้มเดียวกัน เรียกว่า
เยื่อหุ้มสมอง (meninges)
กาเนิดระบบประสาท
กาเนิดระบบประสาท
 ระบบประสาทส่วนกลาง (Central
nervous system; CNS) : สมอง
และไขสันหลัง ทาหน้าที่รวบรวมและ
แปลผลข้อมูล
 ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral
nervous system; PNS) :
เส้นประสาทสมอง (cranial nerve)
เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal
nerve) และปมประสาท (ganglia)
ทาหน้าที่นาสัญญาณประสาทเข้า-
ออก CNS และควบคุมการ
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายใน
ร่างกาย
ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 ลักษณะของสมอง
 ส่วนของสมอง
 พัฒนาการสมองของสัตว์
 โครงสร้างและหน้าที่ของสมองแต่ละ
ส่วน
สมอง (BRAIN)
 หนัก 1.4 กิโลกรัม
 มีเยื่อหุ้มสมอง 3 ชั้น เรียกว่า
Meninges
 ชั้นนอก (dura matter) หนา
เหนียวและแข็งแรงช่วยป้องกัน
อันตรายและกระทบกระเทือนให้แก่
สมองและไขสันหลัง
 ชั้นกลาง (arachniod matter) เป็น
เยื่อบางๆอยู่ระหว่างชั้นนอกกับชั้นใน
 ชั้นใน (pia matter) เป็นชั้นที่อยู่ติด
กับเนื้อสมองและไขสันหลังเส้นเลือด
มาหล่อเลี้ยงอยู่มากนาอาหารและ
ออกซิเจนมาให้สมอง
ลักษณะของสมอง
 มีน้าหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
(Cerebrospinal Fluid / SCF) อยู่
ระหว่างช่องว่างในสมองและไขสัน
หลัง : ช่วยหล่อเลี้ยง ระบายของเสีย
กันกระเทือนให้กับระบบประสาท
ส่วนกลาง (CNS)
 เนื้อเยื่อสมอง 2 ส่วน คือ
Gray Matter : เนื้อสมองส่วนนอก
เป็นที่รวมของเซลล์ประสาท เห็นสี
เทาของเยื่อหุ้ม (Protoplasm)
White Matter : ชั้นในเป็นสีขาว มี
เส้นประสาทที่ถูกหุ้มด้วยเยื่อไมอีลิน
ลักษณะของสมอง
 สัตว์ที่มีการพัฒนาของสมองดี จะมีรอยหยัก
ของสมองและอัตราส่วนของสมองต่อน้าหนัก
มาก
 แบ่งออกเป็น 3 ส่วน Forebrain Midbrain และ Hindbrain
 สมองส่วนหน้า (Forebrain) : ขนาดใหญ่ที่สุด มีรอยหยักมาก ประกอบด้วย ออล
เฟคทอรีบัลบ์ (Olfactory bulb), ซีรีบรัม (Cerebrum), ทาลามัส (Thalamus),
และโฮโปทาลามัส (Hypothalamus)
ส่วนของสมอง
ส่วนของสมอง
 สมองส่วนกลาง (Midbrain) : เป็นสถานีรับส่งประสาทระหว่างสมองส่วนหน้ากับ
ส่วนท้าย และส่วนหน้ากับนัยน์ตา หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของลูกตาและม่านตา
เจริญดีในสัตว์พวก ปลา กบ ฯลฯ ในมนุษย์หรือสัตว์มีกระดูกสันหลัง สมองส่วน Obtic
lobe มีวิวัฒนาการต่า เพราะเจริญไปเป็น Corpora quadrigermia ทาหน้าที่เกี่ยวกับ
การได้ยิน
ส่วนของสมอง
 สมองส่วนท้าย (Hindbrain) : ประกอบด้วยซีรีเบลลัม (Cerebellum), เมดุลลา
ออบลองกาตา (Medulla Oblongata), และพอนส์ (Pons)
 ก้านสมอง (Brain Stem) : ประกอบด้วย
เมดุลลาออบลองกาตา (Medulla
Oblongata), พอนส์ (pons) และสมอง
ส่วนกลาง ถ้าถูกทาลายจะถึงตายได้
 Cerebrum ถูกทาลาย จะไม่ถึงตาย แต่ทา
ให้ความจาเสื่อม ปัญญาอ่อน มีความ
ผิดปกติทางประสาท
 สมองซีกซ้ายควบคุมการทางานของอวัยวะ
ทางขวา สมองซีกขวาควบคุมการทางาน
ของอวัยวะทางซ้าย
 รอยหยัก=คลื่นสมอง แสดงถึงความฉลาด
ของคนและสัตว์
ส่วนของสมอง
 สมองส่วนหน้า เจริญได้ดีในสัตว์ที่มี
วิวัฒนาการสูง เพราะมีความฉลาดมาก
เช่น คน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
 สมองส่วนกลาง เจริญได้ดีในสัตว์ชั้นต่า
เพราะมีความสามารถในการมองเห็น
และได้ยินเสียงมาก เช่น ปลา
พัฒนาการสมองของสัตว์
 สมอง cerebrum : พัฒนามากขึ้น
ตามลาดับของ สายวิวัฒนาการ (รอย
หยัก ขนาดต่อน้าหนักสมอง ฯลฯ)
 สมอง olfactory bulb : เจริญดีใน
พวกปลา จากนั้นค่อยๆ ลดรูปลง
 สมอง optic lobe : เจริญดีในปลา
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า จากนั้นค่อยๆ ลด
รูปลง
 สมอง cerebellum : เจริญดีในปลา
นก และ คน เคลื่อนไหวได้ดีใน 3 มิติ
พัฒนาการสมองของสัตว์
สมองส่วนหน้า (FOREBRAIN/PROSENCEPHALON)
 Cerebrum
 Thalamus
 Hypothalamus
 Olfactory bulb
 Limbic system
 frontal lobe : เกี่ยวกับความจา ความคิด
สั่งงานกล้ามเนื้อ
 Prefrontal area : ศูนย์ความฉลาด
ระดับสูง
 Primary motor area : ศูนย์ควบคุม
การทางานของกล้ามเนื้อลาย ควบคุม
การเคลื่อนไหว
 Premotor area : วางแผนการ
เคลื่อนไหว
 Motor speech (Broca’s) area :
ศูนย์การวางแผนการพูดให้ถูกต้องตาม
หลักไวยากรณ์
CEREBRUM
 parietal lope : รู้สึกตัว การเขียน รับ
ความรู้สึก
Primary somatosensory area : ศูนย์รับ
ความรู้สึกระดับแรก (หนาว ร้อน สัมผัส)
Somatosensory association area : นา
ข้อมูลจาก somatosensory มาแปล
ความหมายเป็นรูปร่าง/ ขนาด/ ลักษณะผิว
วัตถุ
Primary taste area : ศูนย์การรับรสที่มา
จากลิ้น
General interpretation area : บริเวณ
ติดต่อจาก 3 ระบบคือ สัมผัส ตา หู เพื่อใช้
สาหรับแปลข้อมูลที่ซับซ้อน
CEREBRUM
 temporal lobe : ดมกลิ่น ได้ยิน การพูด
เข้าใจคาพูดและการอ่าน
 Primary auditory area : ศูนย์กลางการ
ได้ยิน แยกความสูงต่าของเสียง และการ
แปลความหมายของเสียงอย่างง่าย
 auditory association area : ศูนย์กลาง
การแปลความหมายการได้ยินอย่าง
ซับซ้อน (รู้ว่าเสียงใครหรืออะไร)
 Sensory speech (Wernicke’s) area :
ศูนย์การเข้าใจภาษา
CEREBRUM
 occipital lobe การมองเห็น
 Primary visual area : รับข้อมูล
จากเรตินามาสร้างให้เกิดภาพในสมอง
 Visual association area : แปลผล
ข้อมูลภาพที่ได้ รวมภาพที่เห็นเข้ากับ
ประสบการณ์ด้านความรู้สึก
CEREBRUM
 ตาแหน่ง : คล้ายรูปไข่ 2 ก้อน อยู่ระหว่างเซ
รีบรัมกับสมองส่วนกลาง
 หน้าที่ :
 สถานีกลางเชื่อมต่อข้อมูลที่มาจาก
ส่วนล่างกับเซรีบรัม
 ศูนย์รับความเจ็บปวด
 เป็นทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2
THALAMUS
 ตาแหน่ง : อยู่ใต้ thalamus แต่อยู่เหนือต่อมใต้
สมอง
 หน้าที่
ศูนย์กลางควบคุมระบบประสาทอัตโนวัติ
(autonomic center)
ควบคุมการทางานของต่อมใต้สมองผ่านฮอร์โมน
ศูนย์หิวและอิ่ม (feeding and satiety)
ควบคุมสมดุลร่างกาย : อุณหภูมิร่างกาย (ไข้)
สมดุลน้า (กระหายน้า)
ควบคุมการหลับและตื่น รวมถึง circadian
rhythm (หลั่งฮอร์โมน เผาผลาญสารอาหาร)
ร่วมกับสมองส่วน amygdaia ในการควบคุม
พฤติกรรมทางอารมณ์และความรู้สึกทางเพศ
HYPOTHALAMUS
 ตาแหน่ง : ยื่นออกมาจากผิวด้านล่างส่วน
หน้าของสมอง ส่วนปลายไปเชื่อมต่อกับ
olfactory epithelium ที่อยู่บริเวณโพรง
หลังจมูก
 หน้าที่
 การรับกลิ่นเป็นทางออกของ
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1
 เจริญดีในปลาและสัตว์กินสัตว์
OLFACTORY BULB
 Amygdala :
 ตาแหน่ง : เป็นส่วนผิวด้านในของ
cerebral cortex ด้าน temporal lobe
 หน้าที่ ร่วมกับ Olfactory bulb และ
temporal lobe ในการรับกลิ่น
 Amygdata และ Hippocampus เป็น
limbic system (อารมณ์และพฤติกรรม)
 ร่วมกับโครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบ
ต่อมไร้ท่อและระบบประสาทอัตโนวัติ
LIMBIC SYSTEM
LIMBIC SYSTEM
 Hippocampus :
 ตาแหน่ง : อยู่บริเวณผิวด้านในของ
cerebral cortex มีรูปร่างคล้ายเขาแกะ
และอยู่ใต้ต่อม Amygdala
 หน้าที่ : เกี่ยวกับความจาทั้งระยะสั้นและ
และระยะยาว
 ร่วมกับ Amygdala ในการควบคุม
พฤติกรรมทางอารมณ์ เรียกว่า limbic
system
 ร่วมกับโครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบ
ต่อมไร้ท่อและระบบประสาทอัตโนวัติ
 ตาแหน่ง : อยู่ระหว่าง thalamus และ pons
 หน้าที่
 รับและรวบรวมข้อมูลด้านความรู้สึกจากสมอง
ส่วนล่างเพื่อส่งต่อไปยังสมองส่วนหน้า
 การเคลื่อนไหวของลูกตาและควบคุมการปิด-
เปิดของม่านตาเป็นทางออกของ
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3,4
 Peripheral visual reflex : การที่หันศีรษะ
ตามวัตถุที่เข้ามาด้านข้าง
 เป็นส่วนหนึ่งของระบบ : reticular
formation
 ควบคุมความตึงของกล้ามเนื้อและการ
เคลื่อนไหว
สมองส่วนกลาง
(MIDBRAIN/MESENCEPHALON)
 Pons
 Medulla oblongata
 cerebellum
สมองส่วนท้าย (HINDBRAIN หรือ RHOMBENCEPHALON)
 ตาแหน่ง : อยู่ระหว่าง midbrain กับ medulla
oblongata/ ส่วนหน้าต่อกับ cerebellum
 หน้าที่
 ร่วมกับ medulla oblongata ในการหายใจ
 ควบคุมจังหวะและรูปแบบการหายใจ
 ควบคุมการทางานของการเคี้ยวทางออก
ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5
 ควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตาทางออก
ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6
 ควบคุมการแสดงสีหน้าทางออกของ
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7
 ควบคุมการได้ยินและการทรงตัวทางออก
ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8
PONS
 อยู่ระหว่าง pons และไขสันหลัง
 หน้าที่
 เป็นทางผ่านของสัญญาณความรู้สึก สัมผัส เจ็บปวด และ
อุณหภูมิของร่างกายเข้าสู่สมอง
 ส่งสัญญาณการเคลื่อนไหวของร่างกายจากสมองส่วนบน
ไปยังไขสันหลัง
 ควบคุมการหายใจ
ควบคุมการทางานของเพดานอ่อน คอหอย และทางเดิน
อาหารทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9
 ควบคุมการเต้นของหัวใจทางออกของเส้นประสาท
สมองคู่ที่ 10
 ควบคุมการทางานของกล่องเสียงทางออกของ
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10
 ควบคุมการทางานของลิ้นทางออกของเส้นประสาท
สมองคู่ที่ 12
 ศูนย์ปฏิกิริยา reflex เช่น การไอ อาเจียน สะอึก
MEDULLA OBLONGATA
 ตาแหน่ง : ท้ายทอย/ส่วนใต้ต่อกับ
cerebrum/ ส่วนหน้าต่อกับ pons
 หน้าที่
 ควบคุมการประสานงานของกล้ามเนื้อ
หลายชุด
 ควบคุมการทรงตัว (ความตึงของกล้ามเนื้อ
ลาตัวและแขนขา)คนที่ดื่มสุราจนเมาจะ
เดินไม่ตรง เนื่องจากแอลกอฮอล์มีผลต่อ
การทางานของ cerebellum
 กลั่นกรองข้อมูลการเคลื่อนไหวจากเซรีบลัม
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความแม่นยา
ในการทางาน
CEREBELLUM
 ต่อลงมาจากสมอง
 อยู่ในโพรงกระดูกสันหลัง
 สิ้นสุดบริเวณกระดูกสันหลังส่วนเอว
ชิ้นที่ 2 (L2)
 แพทย์จะเจาะน้าไขสันหลังที่ระดับต่า
กว่า L2 ลงไป เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ
ของไขสันหลัง
ไขสันหลัง (SPINAL CORD)
 White mater : ผิวด้านนอก/ไม่มีตัวเซลล์/ใยประสาทมีเยื่อไมอีลินหุ้ม
 Gray matter : เนื้อแกนกลาง/ มีตัวเซลล์ประสานงานและสั่งการ/ใยประสาทไม่มีเยื่อไม
อีลินหุ้ม
 ปีกบน (Dorsal Horn) : รับความรู้สึก/ มีเส้นประสาทไขสันหลังยื่นออกมา (Dorsal
Root)/มีตัวเซลล์ประสาทขั้วเดียวทาให้เกิด ปมประสาทรากบน (Dorsal Root
Ganglion)
ไขสันหลัง (SPINAL CORD) : โครงสร้าง
ไขสันหลัง (SPINAL CORD) : โครงสร้าง
 ปีกล่าง (Ventral Horn) : เป็นบริเวณนาคาสั่ง มีรากล่าง (Ventral Root) สั่งการด้วย
เซลล์ประสาทหลายขั้ว
 ปีกข้าง (Lateral Horn) : เป็นบริเวณระบบประสาทอัตโนวัติ
 ทางผ่านของกระแสประสาท (nerve impulse) ระหว่างอวัยวะเป้าหมายกับสมอง
 ศูนย์กลางของการเกิดรีเฟล็กซ์ของร่างกาย
 ร่วมกับ medulla oblongata ในการควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อหัวไหล่และ
กล้ามเนื้อคอ
ไขสันหลัง (SPINAL CORD) : หน้าที่
ระบบประสาทรอบนอก (PNS)
 รับคาสั่งจากระบบประสาทส่วนกลาง
 เป็นตัวเชื่อมระหว่างระบบประสาทกับ
ร่างกาย
 หน้าที่ : ควบคุมการเคลื่อนไหวของ
กล้ามเนื้อ โดยรับคาสั่งจากสมองและ
ไขสันหลัง
 แบ่งตามตาแหน่ง
 เส้นประสาทสมอง (Cranial
nerve / CN)
 เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal
nerve / SN)
 เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท
 1. เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับ
ความรู้สึก (sensory nerve) : ทาหน้าที่
รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก
ไปยังสมองที่เกี่ยวข้อง
 2. เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง
(motor) : ทาหน้าที่ นากระแสคาสั่งจาก
สมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
 3. เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม
(mixed nerve) : ทาหน้าที่รับกระแส
ความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก ไปยัง
สมองส่วนที่เกี่ยวข้อง และจากสมองไปยัง
หน่วยปฏิบัติงาน
เส้นประสาทสมอง (CRANIAL NERVE / CN)
เส้นประสาทสมอง (CRANIAL NERVE / CN)
 รับความรู้สึกเข้าและนาคาสั่ง
ออกจากไขสันหลัง
 แยกออกจากไขสันหลังเป็นคู่ๆ /
คนมี 31 คู่
 ทุกคู่เป็นประสาทผสม รับ
ความรู้สึกและสั่งการกล้ามเนื้อ
แขน ขา ลาตัว
 ทางานเช่นเดียวกับเส้นประสาท
สมองคู่ที่ 5, 7, 9 และ 10
เส้นประสาทไขสันหลัง (SPINAL NERVE / SN)
 คอ (Cervical) 8 คู่ เลี้ยง
ด้านหลังศีรษะ คอ อก
ส่วนบน และเกือบทั้งหมด
ของแขน
 อก (Thoracic) 12 คู่ เลี้ยง
ลาตัว อกส่วนบนถึง
ท้องน้อย แขนด้านล่าง
 เอว (Lumbar) 5 คู่ เลี้ยง
ขาหนีบ หน้าแข้ง และหลัง
เท้า
 กระเบนเหน็บ (Sacral) 5 คู่
เลี้ยงสะโพก ขาด้านหลัง
และเท้าด้านนอก
 ก้นกบ (Coccyx) 1 คู่ เลี้ยง
อวัยวะสืบพันธ์ ทวารหนัก
เส้นประสาทไขสันหลัง (SPINAL NERVE / SN)
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท

More Related Content

What's hot

Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 

What's hot (20)

Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 

Viewers also liked

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012Namthip Theangtrong
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
TAEM10:Intracranial emergency
TAEM10:Intracranial emergencyTAEM10:Intracranial emergency
TAEM10:Intracranial emergencytaem
 
Vitamin D
Vitamin DVitamin D
Vitamin Dhomeswu
 
Anatomical Terminology - Anatomy
Anatomical Terminology - AnatomyAnatomical Terminology - Anatomy
Anatomical Terminology - AnatomyCU Dentistry 2019
 
The early warning system
The early warning systemThe early warning system
The early warning systemRenee Evans
 
Chronic Traumatic Encephalopathy
Chronic Traumatic EncephalopathyChronic Traumatic Encephalopathy
Chronic Traumatic EncephalopathyChee Oh
 

Viewers also liked (20)

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
TAEM10:Intracranial emergency
TAEM10:Intracranial emergencyTAEM10:Intracranial emergency
TAEM10:Intracranial emergency
 
Vitamin D
Vitamin DVitamin D
Vitamin D
 
Anatomical Terminology - Anatomy
Anatomical Terminology - AnatomyAnatomical Terminology - Anatomy
Anatomical Terminology - Anatomy
 
The early warning system
The early warning systemThe early warning system
The early warning system
 
Skeletal System - Anatomy
Skeletal System - AnatomySkeletal System - Anatomy
Skeletal System - Anatomy
 
Chronic Traumatic Encephalopathy
Chronic Traumatic EncephalopathyChronic Traumatic Encephalopathy
Chronic Traumatic Encephalopathy
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 

Similar to ศูนย์ควบคุมระบบประสาท

โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxminhNguynnh15
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทkonnycandy4
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทSumon Kananit
 
1.2 brain system
1.2 brain system1.2 brain system
1.2 brain systemPiro Jnn
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 

Similar to ศูนย์ควบคุมระบบประสาท (20)

โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
1.2 brain system
1.2 brain system1.2 brain system
1.2 brain system
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

ศูนย์ควบคุมระบบประสาท

  • 1. เรื่อง ศูนย์ควบคุมระบบประสาท รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี) https://sites.google.com/site/rsu26aumaum/week8
  • 2.  ศูนย์กลางของระบบประสาท: สมองและไขสัน หลัง  เปลี่ยนแปลงมาจาก นิวรัลทิวบ์ (neural tube)  พัฒนามาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) ใน ระยะเอ็มบริโอ  ลักษณะเป็นหลอดยาว ส่วนหน้าเจริญพัฒนา เป็นสมอง 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า สมอง ส่วนกลาง และสมองส่วนหลัง  ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง  สมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้มเดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง (meninges) กาเนิดระบบประสาท
  • 4.
  • 5.
  • 6.  ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system; CNS) : สมอง และไขสันหลัง ทาหน้าที่รวบรวมและ แปลผลข้อมูล  ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system; PNS) : เส้นประสาทสมอง (cranial nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) และปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณประสาทเข้า- ออก CNS และควบคุมการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายใน ร่างกาย ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 7.  ลักษณะของสมอง  ส่วนของสมอง  พัฒนาการสมองของสัตว์  โครงสร้างและหน้าที่ของสมองแต่ละ ส่วน สมอง (BRAIN)
  • 8.  หนัก 1.4 กิโลกรัม  มีเยื่อหุ้มสมอง 3 ชั้น เรียกว่า Meninges  ชั้นนอก (dura matter) หนา เหนียวและแข็งแรงช่วยป้องกัน อันตรายและกระทบกระเทือนให้แก่ สมองและไขสันหลัง  ชั้นกลาง (arachniod matter) เป็น เยื่อบางๆอยู่ระหว่างชั้นนอกกับชั้นใน  ชั้นใน (pia matter) เป็นชั้นที่อยู่ติด กับเนื้อสมองและไขสันหลังเส้นเลือด มาหล่อเลี้ยงอยู่มากนาอาหารและ ออกซิเจนมาให้สมอง ลักษณะของสมอง
  • 9.  มีน้าหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง (Cerebrospinal Fluid / SCF) อยู่ ระหว่างช่องว่างในสมองและไขสัน หลัง : ช่วยหล่อเลี้ยง ระบายของเสีย กันกระเทือนให้กับระบบประสาท ส่วนกลาง (CNS)  เนื้อเยื่อสมอง 2 ส่วน คือ Gray Matter : เนื้อสมองส่วนนอก เป็นที่รวมของเซลล์ประสาท เห็นสี เทาของเยื่อหุ้ม (Protoplasm) White Matter : ชั้นในเป็นสีขาว มี เส้นประสาทที่ถูกหุ้มด้วยเยื่อไมอีลิน ลักษณะของสมอง  สัตว์ที่มีการพัฒนาของสมองดี จะมีรอยหยัก ของสมองและอัตราส่วนของสมองต่อน้าหนัก มาก
  • 10.  แบ่งออกเป็น 3 ส่วน Forebrain Midbrain และ Hindbrain  สมองส่วนหน้า (Forebrain) : ขนาดใหญ่ที่สุด มีรอยหยักมาก ประกอบด้วย ออล เฟคทอรีบัลบ์ (Olfactory bulb), ซีรีบรัม (Cerebrum), ทาลามัส (Thalamus), และโฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ส่วนของสมอง
  • 11. ส่วนของสมอง  สมองส่วนกลาง (Midbrain) : เป็นสถานีรับส่งประสาทระหว่างสมองส่วนหน้ากับ ส่วนท้าย และส่วนหน้ากับนัยน์ตา หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของลูกตาและม่านตา เจริญดีในสัตว์พวก ปลา กบ ฯลฯ ในมนุษย์หรือสัตว์มีกระดูกสันหลัง สมองส่วน Obtic lobe มีวิวัฒนาการต่า เพราะเจริญไปเป็น Corpora quadrigermia ทาหน้าที่เกี่ยวกับ การได้ยิน
  • 12. ส่วนของสมอง  สมองส่วนท้าย (Hindbrain) : ประกอบด้วยซีรีเบลลัม (Cerebellum), เมดุลลา ออบลองกาตา (Medulla Oblongata), และพอนส์ (Pons)
  • 13.  ก้านสมอง (Brain Stem) : ประกอบด้วย เมดุลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata), พอนส์ (pons) และสมอง ส่วนกลาง ถ้าถูกทาลายจะถึงตายได้  Cerebrum ถูกทาลาย จะไม่ถึงตาย แต่ทา ให้ความจาเสื่อม ปัญญาอ่อน มีความ ผิดปกติทางประสาท  สมองซีกซ้ายควบคุมการทางานของอวัยวะ ทางขวา สมองซีกขวาควบคุมการทางาน ของอวัยวะทางซ้าย  รอยหยัก=คลื่นสมอง แสดงถึงความฉลาด ของคนและสัตว์ ส่วนของสมอง
  • 14.  สมองส่วนหน้า เจริญได้ดีในสัตว์ที่มี วิวัฒนาการสูง เพราะมีความฉลาดมาก เช่น คน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม  สมองส่วนกลาง เจริญได้ดีในสัตว์ชั้นต่า เพราะมีความสามารถในการมองเห็น และได้ยินเสียงมาก เช่น ปลา พัฒนาการสมองของสัตว์
  • 15.  สมอง cerebrum : พัฒนามากขึ้น ตามลาดับของ สายวิวัฒนาการ (รอย หยัก ขนาดต่อน้าหนักสมอง ฯลฯ)  สมอง olfactory bulb : เจริญดีใน พวกปลา จากนั้นค่อยๆ ลดรูปลง  สมอง optic lobe : เจริญดีในปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า จากนั้นค่อยๆ ลด รูปลง  สมอง cerebellum : เจริญดีในปลา นก และ คน เคลื่อนไหวได้ดีใน 3 มิติ พัฒนาการสมองของสัตว์
  • 16. สมองส่วนหน้า (FOREBRAIN/PROSENCEPHALON)  Cerebrum  Thalamus  Hypothalamus  Olfactory bulb  Limbic system
  • 17.  frontal lobe : เกี่ยวกับความจา ความคิด สั่งงานกล้ามเนื้อ  Prefrontal area : ศูนย์ความฉลาด ระดับสูง  Primary motor area : ศูนย์ควบคุม การทางานของกล้ามเนื้อลาย ควบคุม การเคลื่อนไหว  Premotor area : วางแผนการ เคลื่อนไหว  Motor speech (Broca’s) area : ศูนย์การวางแผนการพูดให้ถูกต้องตาม หลักไวยากรณ์ CEREBRUM
  • 18.  parietal lope : รู้สึกตัว การเขียน รับ ความรู้สึก Primary somatosensory area : ศูนย์รับ ความรู้สึกระดับแรก (หนาว ร้อน สัมผัส) Somatosensory association area : นา ข้อมูลจาก somatosensory มาแปล ความหมายเป็นรูปร่าง/ ขนาด/ ลักษณะผิว วัตถุ Primary taste area : ศูนย์การรับรสที่มา จากลิ้น General interpretation area : บริเวณ ติดต่อจาก 3 ระบบคือ สัมผัส ตา หู เพื่อใช้ สาหรับแปลข้อมูลที่ซับซ้อน CEREBRUM
  • 19.  temporal lobe : ดมกลิ่น ได้ยิน การพูด เข้าใจคาพูดและการอ่าน  Primary auditory area : ศูนย์กลางการ ได้ยิน แยกความสูงต่าของเสียง และการ แปลความหมายของเสียงอย่างง่าย  auditory association area : ศูนย์กลาง การแปลความหมายการได้ยินอย่าง ซับซ้อน (รู้ว่าเสียงใครหรืออะไร)  Sensory speech (Wernicke’s) area : ศูนย์การเข้าใจภาษา CEREBRUM
  • 20.  occipital lobe การมองเห็น  Primary visual area : รับข้อมูล จากเรตินามาสร้างให้เกิดภาพในสมอง  Visual association area : แปลผล ข้อมูลภาพที่ได้ รวมภาพที่เห็นเข้ากับ ประสบการณ์ด้านความรู้สึก CEREBRUM
  • 21.  ตาแหน่ง : คล้ายรูปไข่ 2 ก้อน อยู่ระหว่างเซ รีบรัมกับสมองส่วนกลาง  หน้าที่ :  สถานีกลางเชื่อมต่อข้อมูลที่มาจาก ส่วนล่างกับเซรีบรัม  ศูนย์รับความเจ็บปวด  เป็นทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 THALAMUS
  • 22.  ตาแหน่ง : อยู่ใต้ thalamus แต่อยู่เหนือต่อมใต้ สมอง  หน้าที่ ศูนย์กลางควบคุมระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic center) ควบคุมการทางานของต่อมใต้สมองผ่านฮอร์โมน ศูนย์หิวและอิ่ม (feeding and satiety) ควบคุมสมดุลร่างกาย : อุณหภูมิร่างกาย (ไข้) สมดุลน้า (กระหายน้า) ควบคุมการหลับและตื่น รวมถึง circadian rhythm (หลั่งฮอร์โมน เผาผลาญสารอาหาร) ร่วมกับสมองส่วน amygdaia ในการควบคุม พฤติกรรมทางอารมณ์และความรู้สึกทางเพศ HYPOTHALAMUS
  • 23.  ตาแหน่ง : ยื่นออกมาจากผิวด้านล่างส่วน หน้าของสมอง ส่วนปลายไปเชื่อมต่อกับ olfactory epithelium ที่อยู่บริเวณโพรง หลังจมูก  หน้าที่  การรับกลิ่นเป็นทางออกของ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1  เจริญดีในปลาและสัตว์กินสัตว์ OLFACTORY BULB
  • 24.  Amygdala :  ตาแหน่ง : เป็นส่วนผิวด้านในของ cerebral cortex ด้าน temporal lobe  หน้าที่ ร่วมกับ Olfactory bulb และ temporal lobe ในการรับกลิ่น  Amygdata และ Hippocampus เป็น limbic system (อารมณ์และพฤติกรรม)  ร่วมกับโครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบ ต่อมไร้ท่อและระบบประสาทอัตโนวัติ LIMBIC SYSTEM
  • 25. LIMBIC SYSTEM  Hippocampus :  ตาแหน่ง : อยู่บริเวณผิวด้านในของ cerebral cortex มีรูปร่างคล้ายเขาแกะ และอยู่ใต้ต่อม Amygdala  หน้าที่ : เกี่ยวกับความจาทั้งระยะสั้นและ และระยะยาว  ร่วมกับ Amygdala ในการควบคุม พฤติกรรมทางอารมณ์ เรียกว่า limbic system  ร่วมกับโครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบ ต่อมไร้ท่อและระบบประสาทอัตโนวัติ
  • 26.  ตาแหน่ง : อยู่ระหว่าง thalamus และ pons  หน้าที่  รับและรวบรวมข้อมูลด้านความรู้สึกจากสมอง ส่วนล่างเพื่อส่งต่อไปยังสมองส่วนหน้า  การเคลื่อนไหวของลูกตาและควบคุมการปิด- เปิดของม่านตาเป็นทางออกของ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3,4  Peripheral visual reflex : การที่หันศีรษะ ตามวัตถุที่เข้ามาด้านข้าง  เป็นส่วนหนึ่งของระบบ : reticular formation  ควบคุมความตึงของกล้ามเนื้อและการ เคลื่อนไหว สมองส่วนกลาง (MIDBRAIN/MESENCEPHALON)
  • 27.  Pons  Medulla oblongata  cerebellum สมองส่วนท้าย (HINDBRAIN หรือ RHOMBENCEPHALON)
  • 28.  ตาแหน่ง : อยู่ระหว่าง midbrain กับ medulla oblongata/ ส่วนหน้าต่อกับ cerebellum  หน้าที่  ร่วมกับ medulla oblongata ในการหายใจ  ควบคุมจังหวะและรูปแบบการหายใจ  ควบคุมการทางานของการเคี้ยวทางออก ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5  ควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตาทางออก ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6  ควบคุมการแสดงสีหน้าทางออกของ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7  ควบคุมการได้ยินและการทรงตัวทางออก ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 PONS
  • 29.  อยู่ระหว่าง pons และไขสันหลัง  หน้าที่  เป็นทางผ่านของสัญญาณความรู้สึก สัมผัส เจ็บปวด และ อุณหภูมิของร่างกายเข้าสู่สมอง  ส่งสัญญาณการเคลื่อนไหวของร่างกายจากสมองส่วนบน ไปยังไขสันหลัง  ควบคุมการหายใจ ควบคุมการทางานของเพดานอ่อน คอหอย และทางเดิน อาหารทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9  ควบคุมการเต้นของหัวใจทางออกของเส้นประสาท สมองคู่ที่ 10  ควบคุมการทางานของกล่องเสียงทางออกของ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10  ควบคุมการทางานของลิ้นทางออกของเส้นประสาท สมองคู่ที่ 12  ศูนย์ปฏิกิริยา reflex เช่น การไอ อาเจียน สะอึก MEDULLA OBLONGATA
  • 30.  ตาแหน่ง : ท้ายทอย/ส่วนใต้ต่อกับ cerebrum/ ส่วนหน้าต่อกับ pons  หน้าที่  ควบคุมการประสานงานของกล้ามเนื้อ หลายชุด  ควบคุมการทรงตัว (ความตึงของกล้ามเนื้อ ลาตัวและแขนขา)คนที่ดื่มสุราจนเมาจะ เดินไม่ตรง เนื่องจากแอลกอฮอล์มีผลต่อ การทางานของ cerebellum  กลั่นกรองข้อมูลการเคลื่อนไหวจากเซรีบลัม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความแม่นยา ในการทางาน CEREBELLUM
  • 31.
  • 32.  ต่อลงมาจากสมอง  อยู่ในโพรงกระดูกสันหลัง  สิ้นสุดบริเวณกระดูกสันหลังส่วนเอว ชิ้นที่ 2 (L2)  แพทย์จะเจาะน้าไขสันหลังที่ระดับต่า กว่า L2 ลงไป เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ ของไขสันหลัง ไขสันหลัง (SPINAL CORD)
  • 33.  White mater : ผิวด้านนอก/ไม่มีตัวเซลล์/ใยประสาทมีเยื่อไมอีลินหุ้ม  Gray matter : เนื้อแกนกลาง/ มีตัวเซลล์ประสานงานและสั่งการ/ใยประสาทไม่มีเยื่อไม อีลินหุ้ม  ปีกบน (Dorsal Horn) : รับความรู้สึก/ มีเส้นประสาทไขสันหลังยื่นออกมา (Dorsal Root)/มีตัวเซลล์ประสาทขั้วเดียวทาให้เกิด ปมประสาทรากบน (Dorsal Root Ganglion) ไขสันหลัง (SPINAL CORD) : โครงสร้าง
  • 34. ไขสันหลัง (SPINAL CORD) : โครงสร้าง  ปีกล่าง (Ventral Horn) : เป็นบริเวณนาคาสั่ง มีรากล่าง (Ventral Root) สั่งการด้วย เซลล์ประสาทหลายขั้ว  ปีกข้าง (Lateral Horn) : เป็นบริเวณระบบประสาทอัตโนวัติ
  • 35.  ทางผ่านของกระแสประสาท (nerve impulse) ระหว่างอวัยวะเป้าหมายกับสมอง  ศูนย์กลางของการเกิดรีเฟล็กซ์ของร่างกาย  ร่วมกับ medulla oblongata ในการควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อหัวไหล่และ กล้ามเนื้อคอ ไขสันหลัง (SPINAL CORD) : หน้าที่
  • 36. ระบบประสาทรอบนอก (PNS)  รับคาสั่งจากระบบประสาทส่วนกลาง  เป็นตัวเชื่อมระหว่างระบบประสาทกับ ร่างกาย  หน้าที่ : ควบคุมการเคลื่อนไหวของ กล้ามเนื้อ โดยรับคาสั่งจากสมองและ ไขสันหลัง  แบ่งตามตาแหน่ง  เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve / CN)  เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve / SN)
  • 37.  เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท  1. เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับ ความรู้สึก (sensory nerve) : ทาหน้าที่ รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก ไปยังสมองที่เกี่ยวข้อง  2. เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง (motor) : ทาหน้าที่ นากระแสคาสั่งจาก สมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน  3. เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม (mixed nerve) : ทาหน้าที่รับกระแส ความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก ไปยัง สมองส่วนที่เกี่ยวข้อง และจากสมองไปยัง หน่วยปฏิบัติงาน เส้นประสาทสมอง (CRANIAL NERVE / CN)
  • 39.  รับความรู้สึกเข้าและนาคาสั่ง ออกจากไขสันหลัง  แยกออกจากไขสันหลังเป็นคู่ๆ / คนมี 31 คู่  ทุกคู่เป็นประสาทผสม รับ ความรู้สึกและสั่งการกล้ามเนื้อ แขน ขา ลาตัว  ทางานเช่นเดียวกับเส้นประสาท สมองคู่ที่ 5, 7, 9 และ 10 เส้นประสาทไขสันหลัง (SPINAL NERVE / SN)
  • 40.  คอ (Cervical) 8 คู่ เลี้ยง ด้านหลังศีรษะ คอ อก ส่วนบน และเกือบทั้งหมด ของแขน  อก (Thoracic) 12 คู่ เลี้ยง ลาตัว อกส่วนบนถึง ท้องน้อย แขนด้านล่าง  เอว (Lumbar) 5 คู่ เลี้ยง ขาหนีบ หน้าแข้ง และหลัง เท้า  กระเบนเหน็บ (Sacral) 5 คู่ เลี้ยงสะโพก ขาด้านหลัง และเท้าด้านนอก  ก้นกบ (Coccyx) 1 คู่ เลี้ยง อวัยวะสืบพันธ์ ทวารหนัก เส้นประสาทไขสันหลัง (SPINAL NERVE / SN)