SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 29
การพัฒ นาผู้เ รีย นโดยใช้
              นวัต กรรม
 บทเรีย นสำา เร็จ รูป เรื่อ งกริย า
กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ภ าษาไทย
       ชั้น ประถมศึก ษาปีท ี่ 6



           โดย
   นางสาววรรณดี ธานีร ัต น์




            โรงเรีย น
 สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา
           ประถมศึก ษา
นครศรีธ รรมราช
                คำา แนะนำา สำา หรับ นัก เรีย น

ให้น ัก เรีย นตั้ง ใจอ่า นบทเรีย นสำา เร็จ รูป โดยปฏิบ ัต ิต าม
        ลำา ดับ ต่อ ไปนี้
๑. ให้นักเรียนอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อน แล้วเริ่มอ่าน
   เนื้อหา
๒. บทเรียนสำาเร็จรูปเล่มนี้เป็นเล่มที่ ๓ เรื่อง คำา กริย า มี
   ความยาวทั้งหมด ๑๕ กรอบ ให้นักเรียนอ่านที่ละกรอบแล้ว
   ปฏิบัติตามคำาแนะนำาในกรอบอย่างเคร่งครัด
 ๓. บทเรียนในแต่ละกรอบ เป็นลักษณะให้ความรู้ในหลักการ
   และยกตัวอย่างประกอบ จะมีคำาถามอยู่ท้ายกรอบและมีคำา
   เฉลยอยู่ในกรอบถัดไปนักเรียนอ่านแล้ว เขียนตอบลงใน
   กระดาษคำาตอบที่ครูแจกให้ แต่ห้ามขีดเขียนสิ่งใดลงในบท
   เรียนสำาเร็จรูปเล่มนี้อย่างเด็ดขาด เมื่อตอบแล้วให้ดูเฉลยใน
   กรอบถัดไป นักเรียนก็จะทราบว่า เราทำาถูกหรือไม่
๔. อย่าดูเฉลยก่อนเขียนคำาตอบ นักเรียนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง
๕. เมื่ออ่านและตอบคำาถามครบทุกกรอบแล้ว ให้นักเรียนทำา
   แบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจอีกครั้ง
๖. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีอ่านบทเรียนสำาเร็จรูปดีแล้ว เปิดอ่าน
   ได้เลย


             ------------------------------------------
แบบทดสอบก่อ นเรีย น เรื่อ ง คำา กริย า

 คำาสั่ง ให้น ัก เรีย นอ่า นคำา ถามแล้ว เลือ กข้อ ที่ถ ูก ต้อ งที่ส ุด
                       จาก ข้อ ก, ข, ค และ ง
         แล้วกากบาทลงในช่องของกระดาษคำาตอบที่ครูแจกให้

๑. คำากริยา จำาแนกออกได้กี่
ชนิด
  ก. ๒ ชนิด                      ข. ๓ ชนิด
  ค. ๔ ชนิด                      ง. ๕ ชนิด
๒. ข้อใดเป็นกริยามีกรรม
  ก. ผ้าผืนนี้กินตัว
  ข. เขาใช้ตะเกียบไม่เป็น
  ค. เข้าใช้ช้อนซ่อมตั้งแต่เด็ก
  ง. ฉันชอบกินก๋วยเตี๋ยวตั้งแต่
เด็ก
๓. ข้อใดมีกริยาไม่มีกรรม หรือเรียกว่า อกรรมกริยา
 ก. นายเรือเดินเรือในทะเล
 ข. เขาเดินหมากรุก
 ค. นักการเมืองเดินแต้มเพื่อ
หาเสียง
 ง. ทุกคนต้องเดินเหมือนกัน
๔. “พ่อค้าทอนสตางค์ให้ฉัน” คำากริยาคือข้อใด
 ก. ทอนสตางค์                   ข. ทอนให้ฉัน
 ค. ทอนสตางค์ให้ฉัน             ง. ทอนให้
๕. ข้อใดมีกริยาที่มีส่วนเติม
เต็ม
 ก. ข้าวเหนียวก้อยอร่อย
ข. เขาเป็นความหวังของพวก
เรา
 ค. เขาชอบนั่งเล่นคนเดียว
เงียบ ๆ
 ง. แตงกวากำาลังอ่านหนังสือ
อ่านเล่น

๖. ข้อใดมีกริยาช่วย หรือ กริยานุเคราะห์
    ก. เขาทำาถูก
    ข. ของถูกลง
    ค. เขาซื้อของถูก
    ง. คนร้ายคงถูกตำารวจจับ
๗. ข้อใดไม่มีกริยาอาศัย ส่วนเติมเต็ม หรือ วิตรรถกริยา
    ก. จ้อยเป็นคนที่มีฝีเท้าเร็ว
    ข. ความโกรธเหมือนทะเล
บ้า
    ค. คนดีคือผู้ที่โลกสรรเสริญ
    ง. เขาต้องตายทั้งเป็น เพราะทำาความผิดไว้
๘. ประโยคข้อใดใช้กริยาไม่ต้องมีกรรมมารับ
    ก. แม่ไหว้พระ
    ข. เขาเรียนเก่ง
    ค. น้องฉันอ่านหนังสือ
การ์ตูน
    ง. คุณพ่อนอนบนเตียง
๙. ประโยคใดใช้กริยาที่ต้องมีกรรมมารับ
    ก. นกบินสูง
    ข. สุนัขหอน
    ค. เป็ดกินข้าว
    ง. แมววิ่งได้เร็ว
๑๐. ข้อใดใช้กริยาที่ต้องมี
คำาเติมเต็ม
    ก. ฉันสูงเท่าคุณพ่อ
    ข. แมวกระโดดสูง
ค. น้องกินมากกว่าฉันหลาย
เท่า
   ง. คุณพ่ออายุมากกว่าฉัน
หลายเท่า




                                                      กรอบที่
      บทเรียนสำาเร็จรูปเล่มนี้เป็นเรื่อง คำา กริย า
 ซึ่งมีความหมายว่า กระทำา มีอาการ อยู่ในสภาพ
 โดยเฉพาะคำาว่า มีอาการ กับ อยู่ในสภาพ
 มีความหมายใกล้เคียงกันมาก คำากริยาบางคำา
 อาจแยกไม่ออกว่า มีอาการ หรืออยู่ในสภาพ
 แต่เราไม่จำาเป็นต้องกังวล เพียงแต่ตั้งข้อสังเกต
     ไว้เท่านั้นค่ะ


               ก่อนที่จะศึกษาให้ถี่ถ้วน เรามาศึกษา
          จุดประสงค์ของการเรียนรู้เรื่องคำากริยากันก่อน




                            จุด ประสงค์
    เมือ นัก เรีย นเรีย นบทเรีย นนี้แ ล้ว นัก เรีย นจะสามารถ
                   ๑. อธิบายความหมายของคำากริยา และแยก
ประเภทได้
                  ๒. บอกหน้าที่ของคำากริยา พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
ได้
๓. เมื่อกำาหนดสถานการณ์ให้ สามารถใช้คำา
กริยาได้ถูกต้อง



                                                           กรอบที่
       พี่หมีออ ทำาไมเราถึงต้องเรียนเรื่อง
              ้                                             น้องหมี
ป่า
      คำากริยาด้วยคะ                                   การเรียนเรื่อง
คำา กริย า
                                         ช่วยให้เรานำาคำาไปผูก
เป็นประโยค
                                         ได้อย่างถูกต้อง เหมาะ
สม
                                         เป็นการพัฒนาการใช้
ภาษา
                                             ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


       จริงหรือคะ
       น้องอยากจะศึกษาเรื่องคำากริยาแล้วซิ

                                   อย่างนั้นเรามาเริ่มศึกษากันเลย
นะคะ




            คำา กริย า คือคำาที่แสดงอาการของนาม หรือ
สรรพนาม
    หรือ แสดงการกระทำาของประธาน
ขีดเส้นใต้คำากริยาในประโยค ตามความหมายของคำากริยาที่
ได้ ศึกษามา
           น้องร้องไห้
           เขาปลูกต้นไม้
           ลูกหมาเหนื่อยมาก


เฉลย          น้องร้องไห้
              เขาปลูกต้นไม้                           กรอบที่
              ลูกหมาเหนื่อยมาก


         หมีป่า น้องได้ทราบความหมายของคำากริยาแล้ว
         คราวนี้เรามาศึกษาเรื่อง ชนิดของคำากริยา
       ตามพี่มาเลยค่ะ



                       คำา กริย า แบ่ง ออกเป็น ชนิด ต่า ง ๆ
ได้ด ัง นี้
                       ๑.   กริยาไม่ต้องมีกรรม
                       ๒.   กริยามีกรรม
                       ๓.   กริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม
                       ๔.   คำาช่วยกริยา

       น้องดูซิว่าพี่แสดงกริยาอะไร

                                        ก็ยิ้มนะซิ มีอะไรชอบใจ
มาก
                                          อย่างนั้นหรือ


  คำาถาม
คำากริยาแบ่งออกเป็นที่ชนิด




เฉลย
       ๔ ชนิด                                    กรอบที่

              ก่อนที่จะพูดถึงคำากริยาแต่ละชนิด
      พี่ขออธิบายถึงคำาที่ทำาหน้าที่เป็นกรรม
   ของประโยคก่อน เพื่อน้องจะได้
   ทำาความเข้าใจในเรื่อง กริยาที่ไม่ต้องมีกรรม
   กับกริยาที่มีกรรม ต่อไป


         คะพี่อธิบายเลยค่ะ



              กรรมเป็นส่วนย่อยของภาคแสดงในประโยค
         ทำาหน้าที่เป็นผู้ถูกกระทำา เช่น
              ฉันตีสุนัข
              รถชนฉัน
         จะเห็นว่าประโยคแรก สุนัขเป็นผู้ถูกระทำา
         ประโยคที่ 2 ฉันเป็นผู้ถูกกระทำา



คำาถาม
    กรรมในประโยคหมายความว่าอย่างไร
เฉลย
กรรมเป็นส่วนหนึ่งของภาคแสดงทำาหน้าที่เป็นผู้ถูกกระทำาใน ่
                                                   กรอบที
ประโยค



                ๑. กริย าไม่ต ้อ งมีก รรม หรือเรียกว่า
“อกรรมกริย า ”
         หมายถึง กริยาที่มีความหมายสมบูรณ์ โดยไม่ต้องมี
กรรม
         ที่รับการกระทำาตามหลัง เช่น
 - รูปภาพ       นักกีฬาวิ่ง
 -              ต้นไม้หกั
                เด็กนักเรียนนั่งเรียบร้อย


            คำากริยาชนิดนี้ เป็นคำาที่
      ทิ้งไว้ความหมายสำาคัญของประโยค                   อ๋อ !
น้องทราบแล้ว
                                       ถ้าเอาคำากริยาชนิดนี้
                                       ออกจากประโยค
ประโยคนั้น
     ใช่ค่ะ                            จะไม่มีความหมาย
สมบูรณ์
                                       ใช้ไหมคะพี่



     สังเกตดูว่า ประโยคใดใช้กริยาไม่ต้องมีกรรม
           ต้นตาลโตช้า
           ต้นตาลสูงว่าต้นมะพร้าว
           ต้นตาลบังลม
เฉลย
        ต้นตาลโตช้า                               กรอบที่
        ต้นตาลสูงกว่าต้นมะพร้าว


                     ๒. กริย ามีก รรม หรือเรียกว่า “สกรรม
กริย า ”
                หมายถึง กริยาที่ต้องมีกรรมมารับ จึงจะได้
ความ
                ครบถ้วน สมบูรณ์ เช่น
                    แม่ค้าขายผัก
                    นกกินข้าวโพด
                    ชาวนาเกี่ยวข้าว


                                         น้องหมีป่า
                                    ศึกษาต่อไปเลยนะคะ
       ค่ะ




 จงพิจารณาประโยค ประโยคใดใช้กริยามีกรรม
    คุณพ่อขี่ม้า
    น้องเล่นกับแมว



 เฉลย
    ต้นตาลมีประโยชน์หลายอย่าง                     กรอบที่
รัฐบาลเลิกภาษีตาล
        เขาต่อเก้าอี้ด้วยไม้ตาล


                    คำากริยาที่ต้องมีกรรมมารับนั้นเป็นคำากริยา
             ที่ต้องมีคำาถามต่อไปว่า ทำาอะไร จึงจะได้ความหมาย
             ชัดเจน เช่น
                    พี่ตัดหญ้า
                      ตัด เป็นคำากริยา หญ้า เป็นกรรมที่มารับคำา
กริยา
             ถ้าบอกว่า พ่อ ตัด ต้องถามต่อไป ตัด อะไร
             ต้องบอกว่า หญ้า จึงจะได้ความหมาย



                   ไม่ยากใช่ไหมคะ
                                            ไม่หรอกค่ะ
                                       น้องพอจะทำาความเข้าใจ
ได้




 ฉันปลูกผักสวนครัว
     คำากริยาคือคำาว่า………. กรรมของประโยคที่มาขยาย
กริยา คือคำาว่า……….



เฉลย         ปลูก
             ผักสวนครัว                               กรอบที่
แล้วกริยาอาศัยส่วนเติมเต็มละคะพี่
           หมายความว่าอย่างไร                     พี่เตรียมคำา
อภิบาย
                                         พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
                                     ประโยคประกอบไว้พรอ้ม
แล้ว
                                          น้องศึกษาได้เลย


      ๓. กริย าอาศัย ส่ว นเติม เต็ม หรือเรียกว่า
“วิต รรถกริย า ” หมายถึงกริยาที่ไม่มีความหมายที่สมบูรณ์
ในตัวเอง ที่ใช้อยู่เสมอ ก็มีคำาว่า เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ
หลังคำากริยาดังกล่าว ต้องมี คำาสรรพนาม หรือคำานาม
หรือคำาอื่น ๆ มาขยาย เช่น
          ต้นตาลคล้ายต้นมะพร้าว
          ผลตาลเหมือนผลมะพร้าว
          ทั่งคือแท่งเหล็กใหญ่

 ประโยคต่อไปนี้ ประโยคใด มีคำากริยาที่อาศัยส่วนเติมเต็ม
    นายสมัครเป็นผู้แทนราษฎร
    สุชิน เป็นนักกีฬา
    วิบูลย์ เขียนจดหมาย



         เฉลย                                      กรอบที่
       นายสมัครเป็นผู้แทนราษฎร
       สุชินเป็นนักกีฬา
การสังเกตกริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม
                 หรือวิตรรถกริยา มีลักษณะเป็นคำาที่เปรียบเทียบ
                 นอกจาจะมีคำาว่า เป็น เหมือน คล้าย คือ แล้ว
                 ยังมีคำาอื่นอีก เช่น ดุจ ประดุจ อุปมา เป็นต้น


       การสังเกตคำาเปรียบเทียบ
       เหล่านี้ในประโยค จะช่วยให้                     ใช่ค่ะ
       เราสังเกตคำากริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม
       ได้ง่ายขึ้น




ประโยคต่อไปนี้ ควรใช้คำากริยาคำาใดจึงจะเหมาะสม
    เพื่อนของฉันอ้วน……….ตุ่ม


เฉลย
       เหมือน                                      กรอบที่



           ๔. คำา ช่ว ยกริย า หรือเรียกว่า “กริย านุเ คราะห์ ”
       หมายถึงกริยาที่ทำาหน้าที่ ช่วยกริยาชนิดอื่นเพื่อช่วยให้
       ความหมายของคำากริยานั้นชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
           เธอต้อ งทำางานนี้ให้เสร็จนะ
           คำาตอบข้อนี้อ าจผิดหวังได้
ประโยคแรก กริยาจริงคือ คำาว่า ทำางาน กริยาช่วยคือคำา
ว่าต้อง
      ประโยคที่ ๒ กริยาจริงคือคำาว่า ผิดหวัง กริยาช่วยคำาคำา
ว่า อาจ
      ใช่ไหมคะพี่หมีอ้อ
                                               ถูกต้องค่ะ
                                               น้องเก่งมาก




       ประโยค น้องถูกรังแก
           กริยาจริงในประโยค คือ……………
           กริยาช่วยในประโยค คือ……………




เฉลย
          รังแก, ถูก                             กรอบที่


    น้องทราบชนิดของคำากริยาแล้วนะคะ
     คราวนี้เรามาศึกษา หน้าที่ของคำากริยาบ้าง
    ว่าคำากริยาทำาหน้าที่อย่างไรบ้าง
ตกลงค่ะ

                    หน้า ที่ข องคำา กริย า
               ๑. ทำาหน้าที่เป็นตัวแสดงในภาคแสดงของ
ประโยค
               ๒. หน้าที่ขยายนาม
               ๓. ทำาหน้าที่ขยายกริยา
๔. ทำาหน้าที่เหมือนคำานาม



           แล้วเราจะมีวิธีสังเกตคำากริยา
           ที่ทำาหน้าที่แต่ละชนิดได้อย่างไร

                                              ก็ศึกษาหน้าต่อไปซิ
คะ
                                              น้องก็จะทราบเอง


 คำาถาม
     หน้าที่ของคำากริยามีกี่ชนิด




 เฉลย
๔ ชนิด                                              กรอบที่


           ๑. คำา กริย าทำา หน้า ที่เ ป็น ตัว แสดงในภาคแสดง
               ของประโยค เช่น
                      นักกีฬาวิ่งอยู่ในสนาม
                      เด็ก ๆ ร้องเพลงกันอย่างสนุกสนาน
                      ครูสอนอยู่หน้าห้อง

                      ประโยคแรก คำาว่า นักกีฬา เป็นภาค
ประธาน วิ่งอยู่ใน
                                       สนามเป็นภาคแสดง
กริยาสำาคัญในภาคแสดง คือ วิ่ง
ประโยคที่ ๒ คำาว่าเด็ก ๆ เป็นภาค
ประธาน ร้องเพลง
                                     กันอย่างสนุกสนานเป็นภาค
แสดง คำาสำาคัญในภาคแสดง
                                         คือ ร้องเพลง


                      ประโยคที่ ๓ ครูเป็นภาคประธาน
                      สอนอยูหน้าห้องเป็นภาคแสดง
                              ่
                      คำาสำาคัญในภาคแสดง คือ สอน

       สังเกตคำากริยาในประโยคและขีดเส้นใต้ คำาที่ทำาหน้าที่
เป็นภาคแสดงในประโยค
  และเป็นกริยาสำาคัญ
            เขาขับรถเร็วมาก
            เขาเรียนหนังสือ


เฉลย
          เขาขับรถเร็วมาก                           กรอบที่
          เขาเรียนหนังสือ


                      ๒. คำา กริย าที่ท ำา หน้า ที่ข ายนาม เช่น
                          คนกวาดถนนมาทำางานแล้ว
                          วันนี้คือวันเดินทาง
                          อาหารเลี้ยงเด็กกำาพร้าอยู่ที่ไหน


          จะเห็นว่า คำาที่ขีดเส้นใต้นั้น เป็นคำากริยา
     ทำาหน้าที่ขยายคำานามที่อยู่ข้างหน้า
น้องช่วยสังเกตคำากริยาในประโยค
    แล้วช่วยบอกพี่ด้วยว่า กริยาใดในประโยค
    ทำาหน้าที่ขยายนาม




  จงบอกคำากริยาที่ทำาหน้าที่ขยายนามในประโยค
               ดอกไม้ถวายพระเป็นสีขาวทั้งหมด
  - รูปภาพ เขาเปลี่ยนรายการอาหารเลี้ยงแขก
  -            หอกซัดเป็นอาวุธโบราณ
เฉลย
     ถวายพระ                                 กรอบที่
     เลี้ยงแขก
     ซัด


              ๓. คำา กริย าทำา หน้า ที่ ขยายกริย า เช่น
น้องฉันนั่งเล่นกับเพื่อน
                   เขาเดินร้องเพลงอย่างสบาย
                   คุณแม่ยืนดูอยู่อย่างสนใจ


          คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำากริยา
      ที่ขยายคำากริยาข้างหน้า
      ให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้นค่ะ
                                ใช่ค่ะ




สังเกตประโยค แล้วขีดเส้นใต้ คำาในประโยค ทำาหน้าที่ขยาย
    กริยา
    นกอินทรีบินฉวัดเฉวียน
    เขาทำาท่ายักคิ้วหลิวตาไม่น่าดู
    ละครเรื่องนี้สนุกสนานน่าดูจริง ๆ




เฉลย
       นกอินทรีบินฉวัดเฉวียน                            กรอบที่
       เขาทำาท่ายักคิ้วหลิวตาไม่น่าดู
       ละครเรื่องนี้สนุกสนาน


                   ๔. ทำา หน้า ที่เ หมือ นคำา นาม เช่น
                       ร้องให้บ่อย ๆ ทำาให้ตาบวมได้
                       ออกกำาลังกายทุกวัน ทำาให้ร่างกายแข็ง
แรง
                         อาบนำ้าทันทีหลังทานข้าวไม่ดี
จะเห็นได้ว่า คำากริยาที่ขีดเส้น
ใต้
                            เป็นคำากริยาที่ ทำาหน้าที่เหมือนคำา
นาม

      คำานามคืออะไร
   พี่ช่วยทบทวนให้หน่อย               คำานามคือ คำาที่แสดง
ความหมาย
                            ของบุคคล สัตว์ สิ่งของ สภาพ
อาการ
                          และลักษณะ รวมทั้งสิ่งมีชีวิต และ
ไม่มีชีวิต
                              ทั้งรูปธรรม และนามธรรม



   สังเกตประโยคแล้วขีดเส้นใต้ คำาในประโยค ทำาหน้าที่เหมือน
คำานาม
                   เกิดสงครามใหญ่ในสมัยพระเจ้าเอกทัศน์
                   ปรากฏชื่อเสียงของพระยาพิชัยดาบหักจน
ทุกวันนี้


เฉลย
               เกิดสงครามใหญ่ในสมัยพระเจ้าเอกทัศน์
               ปรากฏชื่อเสียงของพระยาพิชัยดาบหักจนทุกวัน
นี้




                เมื่อเติมคำาตอบได้ถูกต้องแล้ว
ทดลองทำาแบบฝึกท้ายบทเรียน
               และแบบทดสอบหลังเรียนเลยคะ
        เปิดหน้าต่อไปแล้วจะพบแบบฝึกท้ายบทเรียนคะ




         แบบฝึก ท้า ยบทเรีย นเรื่อ ง คำา กริย า

๑. จงเลือ กคำา กริย าที่ไ ม่ต ้อ งมีก รรมในวงเล็บ ท้า ย
ประโยค ลงในช่อ งว่า งในประโยคให้ถ ูก ต้อ ง
     ก. หนังสือเล่มนี้…………………… (สวย, ชำารุด, ใหม่)
     ข. แจกันดอกไม้……………….…… (หล่น, ทรงสูง,
สวย)
     ค. นกยูง…………………………… (ตัวเล็ก, รำาแพน,
ตัวใหญ่)
     ง. เรือยนต์………………………                   …. (คนเต็มเรือ,
แล่น, คันใหม่)
จ. ตำารวจ………………………….. (เดิน, แต่งเครื่อง
แบบ, เป็นคนดี)
      ฉ. จดหมายคุณพ่อ………………... (ส่งให้ฉัน, ยังมา
ไม่ถึง, หาย)

๒. จงเลือ กคำา กริย าที่ม ีก รรมมารับ ใส่ล งในช่อ งว่า งใน
ประโยคต่อ ไปนี้
      ปลูก มี    ให้ก าร         ตี    ได้ ทำา
      ๑. ผู้จดการ……….แว่นตากันแดด
               ั
      ๒. เกษตรกรกำาลัง……….ข้าวในนา
      ๓. นายแพทย์……….รายงานเกี่ยวกับคนไข้
      ๔. ชาวสวน……….กำาไรจากการขายลำาใย
      ๕. คุณน้า……….อาหารได้อร่อยมาก
      ๖. พระยาตาก……….เมืองจันทบุรีได้
๓. ให้น ัก เรีย นโยงเส้น ประโยค และหน้า ที่ข องคำา กริย าที่
สัม พัน ธ์ก ัน

                ประโยค                       หน้า ที่ค ำา กริย า
    คุณแม่ดูอยู่อย่างสนใจ                    เป็นตัวแสดง
ในภาคแสดง
                                             ของประโยค
     เที่ยวกลางคืนมักมีอันตราย               ขยายนาม
     ดอกไม้ถวายพระเป็นสีขาวทั้งหมด           ขยายกริยา
     เขาขับรถเร็วมา                          เหมือนคำานาม

        แบบทดสอบหลัง เรีย น เรื่อ ง คำา กริย า

คำา สั่ง ให้นักเรียนอ่านคำาถามแล้วเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุด จากข้อ
ก, ข, ค และ ง
        แล้วกากบาทลงในช่องของกระดาษคำาตอบที่ครูแจกให้
๑. ข้อใดมีกริยาไม่มีกรรม หรือ อกรรมกริยา
   ก. นำ้าลดแห้งคลอง
ข. นักมวยลดนำ้าหนักตัวเอง
  ค. เครื่องบินลดความเร็ว
  ง. พ่อค้าลดราคาของ
๒. “เกรซ ดาลิ่ง ตืนแต่เช้า แลเห็นอะไรดำาตะคุ่ม ๆ อยู่แต่ไกล
                   ่
  พอเอากล้องมาส่งดูก็ทราบว่าเป็นเรือแตกเกยหินอยู่ และยังมี
  คนเกาะอยู่อีก สองสามคน”
    ข้อความข้างต้นนี้ มีกริยาที่ต้องมีกรรมมารับกี่คำา
  ก. ๒ คำา                       ข. ๓ คำา
  ค. ๔ คำา                       ง. ๕ คำา
๓. จากข้อ ๒ ข้อใดเป็นคำากริยาที่ต้องมีกรรมมารับ
  ก. ตื่น                        ข. แลเห็น
  ค. เป็น                        ง. เกาะ
๔. กริยาในข้อใดเป็นได้ทั้ง อกรรมกริย า และ สกรรมกริย า
  ก. บิน
  ข. กิน
  ค. เหาะ
  ง. อ่าน
๕. คำา กำา ลัง ข้อใดเป็นกริย าช่ว ย หรือ กริย านุเ คราะห์
  ก. พระยาตากต้องพบอุปสรรคมากมาย จนหมดกำาลังใจ
  ข. กำาลังของข้าศึกมีมากมาย
  ค. ยาชนิดนี้เป็นยาชูกำาลัง
  ง. ทหารพม่าและทหารมอญ กำาลังสู้รบกันอยู่

๖. ข้อใดมีกริยาช่วย หรือ กริยานุเคราะห์
  ก. นายทองดี คิดว่า ควรลาครูเที่ยงไปเรียนต่อ
  ข. สมิงอายมนทยา มีปัญญาเฉลียวฉลาด
  ค. นายแกว่นแสดงภายยนต์จนเข้ามี่ชื่อเสียง
  ง. นายแกว่นรู้สึกเหมือนมีตะลุมพุกทุบที่ไหล่
๗. คำา เป็น ข้อใด เป็น กริย าอาศัย ส่ว นเติม เต็ม หรือ วิตร
รถกริยา
  ก. สินสมุทรว่ายนำ้าเป็น
  ข. เด็กมือบอนฆ่าปลาเป็น ๆ ได้อย่างเลือดเย็น
  ค. ดาราภาพยนต์สามารถทำาหน้าเป็นได้
ง. นายแกว่นเป็นดาราที่มีชื่อเสียง
๘. คำาที่บอกอาการกระทำาของนาม หรือสรรพนามที่เป็นประธาน
ของประโยค เรียกว่าอะไร
  ก. คำานาม
  ข. คำากริยา
  ค. ประธาน
  ง. อาการ
๙. คำากริยาช่วยมีหน้าที่อย่างไรในประโยค
  ก. ช่วยประธานให้สมบูรณ์
  ข. ช่วยกริยาให้สมบูรณ์
  ค. ช่วยคำานามให้สมบูรณ์
  ง. ช่วยกรรมของประโยค
๑๐. “พระฉันอาหาร” คำาในประโยคที่เป็นคำากริยาข้อใด
  ก. ฉัน
  ข. เช้า
  ค. พระ
  ง. อาหาร


        เฉลยแบบฝึก ท้า ยบทเรีย นเรื่อ ง คำา กริย า

ข้อ ๑             ก. ชำารุด
           ข.   หล่น
           ค.   รำาแพน
           ง.   แล่น
           จ.   เดิน
           ฉ.   หาย
ข้อ ๒             ๑. มี
           ๒.   ปลูก
           ๓.   ให้การ
           ๔.   ได้
           ๕.   ทำา
๖. ตี
ข้อ ๓
         ประโยค                  หน้า ที่ค ำา กริย า

คุณแม่ดูอยู่อย่างสนใจ        O Oเป็นตัวแสดงในภาคแสดง
            ของประโยค
เที่ยวกลางคืนมักมีอันตราย    O Oขยายนาม
ดอกไม้ถวายพระเป็นสีขาวทั้งหมด O O ขยายกริยา
เขาขับรถเร็วมาก                 O O       เหมือนคำานาม




                  เฉลยแบบทดสอบ
                   เรื่อ ง คำา กริย า

           ก่อ นเรีย น           หลัง เรีย น
              ๑. ค                 ๑. ก
              ๒. ง                 ๒. ง
              ๓. ง                ๓. ค
              ๔. ง                 ๔. ง
              ๕. ข                 ๕. ง
              ๖. ง                 ๖. ก
              ๗. ง                ๗. ง
              ๘. ข                ๘. ข
              ๙. ค                ๙. ข
             ๑๐. ก                ๑๐. ก
เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนแบบฝึก ท้า ยบทเรีย นเรื่อ ง คำา กริย า
ข้อที่ ๑ ( ๓ คะแนน ) ข้อย่อยละครึ่งคะแนน
ข้อที่ ๒ ( ๓ คะแนน ) ข้อย่อยละครึ่งคะแนน
ข้อที่ ๓ ( ๔ คะแนน ) ข้อย่อยละ ๑ คะแนน
รวมคะแนนเต็ม     ๑๐     คะแนน




                      บรรณานุก รม

กรองกาญจน์ อรุณรัตน์. บทเรีย นโปรแกรม . ภาควิชา
       เทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
       มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2530.
ธีรชัย บูรณโชติ. การสร้า งบทเรีย นสำา เร็จ รูป เส้น ทางสู่
       อาจารย์ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงเรียนพิมพ์
       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532.
ผะอบ โปษฟฤษณะ. ลัก ษณะเฉพาะของภาษาไทย . พิมพ์
       ครั้งที่ 5 กรุงเทพมหานคร : อักษรพิทยา, 2538.
พรทิพย์ แฟงสุด. หนัง สือ รวมหลัก ภาษาไทย ม.ต้น . ฟิสิกส์
       เซนเตอร์, 2536.
วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. หนัง สือ เรีย นวิช าภาษา
       ไทย ท 103 ท 104 ชุด ทัก ษะสัม พัน ธ์ เล่ม 1 ชั้น
       มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพมหานคร :
       โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2538.
_____ . หนัง สือ เรีย นภาษาไทย ท 103 ท 104 หลัก
       ภาษาไทย เล่ม 1 พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพมหานคร :
       โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2541.
วิเชียร เกษประทุม. คู่ม ือ ภาษาไทย ม.1 ท 103 ท 104.
       กรุงเทพมหานคร : พัฒนศึกษา,
เสนีย์ วิลาวรรณ. หนัง สือ เรีย นหลัก และการใช้ภ าษา ชั้น
       มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช,
       2523.
เสนีย์ วิลาวรรณ. หนัง สือ เรีย นหลัก และการใช้ภ าษา ชั้น
       มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช,
       2523.
เสนีย์ วิลาวรรณ. หนัง สือ เรีย นหลัก และการใช้ภ าษา ชั้น
       มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช,
       2523.
เสนีย์ วิลาวรรณ. หนัง สือ เรีย นหลัก และการใช้ภ าษา ชั้น
       มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช,
       2523.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 

Was ist angesagt? (20)

ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
kumprasom
kumprasomkumprasom
kumprasom
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 

Ähnlich wie บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย

แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
สำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพยสำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพย
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพยkaisuy2496
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 
Adjectives
AdjectivesAdjectives
AdjectivesKrooTa
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยnatta25
 

Ähnlich wie บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย (20)

แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
คำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทย
 
Proverb1
Proverb1Proverb1
Proverb1
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
สำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพยสำนวนไทย  สุภาษิต  และคำพังเพย
สำนวนไทย สุภาษิต และคำพังเพย
 
เก็บคะแนน คำนาม
เก็บคะแนน คำนามเก็บคะแนน คำนาม
เก็บคะแนน คำนาม
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
Adjectives
AdjectivesAdjectives
Adjectives
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
thai
thaithai
thai
 

Mehr von thaneerat

ใบงานจุดกำเนิดอาเซียน
ใบงานจุดกำเนิดอาเซียนใบงานจุดกำเนิดอาเซียน
ใบงานจุดกำเนิดอาเซียนthaneerat
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย3
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย3เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย3
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย3thaneerat
 
แบบทดสอบก่อนหน่วย3อาเซียน
แบบทดสอบก่อนหน่วย3อาเซียนแบบทดสอบก่อนหน่วย3อาเซียน
แบบทดสอบก่อนหน่วย3อาเซียนthaneerat
 
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนเฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนthaneerat
 
วิชา สังคมศึกษา ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 อาเซียน
วิชา สังคมศึกษา  ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 อาเซียนวิชา สังคมศึกษา  ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 อาเซียน
วิชา สังคมศึกษา ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 อาเซียนthaneerat
 
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียนกัน
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียนกันรู้จัก 10 ประเทศอาเซียนกัน
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียนกันthaneerat
 

Mehr von thaneerat (6)

ใบงานจุดกำเนิดอาเซียน
ใบงานจุดกำเนิดอาเซียนใบงานจุดกำเนิดอาเซียน
ใบงานจุดกำเนิดอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย3
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย3เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย3
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย3
 
แบบทดสอบก่อนหน่วย3อาเซียน
แบบทดสอบก่อนหน่วย3อาเซียนแบบทดสอบก่อนหน่วย3อาเซียน
แบบทดสอบก่อนหน่วย3อาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนเฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
 
วิชา สังคมศึกษา ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 อาเซียน
วิชา สังคมศึกษา  ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 อาเซียนวิชา สังคมศึกษา  ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 อาเซียน
วิชา สังคมศึกษา ระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 อาเซียน
 
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียนกัน
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียนกันรู้จัก 10 ประเทศอาเซียนกัน
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียนกัน
 

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย

  • 1. การพัฒ นาผู้เ รีย นโดยใช้ นวัต กรรม บทเรีย นสำา เร็จ รูป เรื่อ งกริย า กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ภ าษาไทย ชั้น ประถมศึก ษาปีท ี่ 6 โดย นางสาววรรณดี ธานีร ัต น์ โรงเรีย น สำา นัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึก ษา ประถมศึก ษา
  • 2. นครศรีธ รรมราช คำา แนะนำา สำา หรับ นัก เรีย น ให้น ัก เรีย นตั้ง ใจอ่า นบทเรีย นสำา เร็จ รูป โดยปฏิบ ัต ิต าม ลำา ดับ ต่อ ไปนี้ ๑. ให้นักเรียนอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อน แล้วเริ่มอ่าน เนื้อหา ๒. บทเรียนสำาเร็จรูปเล่มนี้เป็นเล่มที่ ๓ เรื่อง คำา กริย า มี ความยาวทั้งหมด ๑๕ กรอบ ให้นักเรียนอ่านที่ละกรอบแล้ว ปฏิบัติตามคำาแนะนำาในกรอบอย่างเคร่งครัด ๓. บทเรียนในแต่ละกรอบ เป็นลักษณะให้ความรู้ในหลักการ และยกตัวอย่างประกอบ จะมีคำาถามอยู่ท้ายกรอบและมีคำา เฉลยอยู่ในกรอบถัดไปนักเรียนอ่านแล้ว เขียนตอบลงใน กระดาษคำาตอบที่ครูแจกให้ แต่ห้ามขีดเขียนสิ่งใดลงในบท เรียนสำาเร็จรูปเล่มนี้อย่างเด็ดขาด เมื่อตอบแล้วให้ดูเฉลยใน กรอบถัดไป นักเรียนก็จะทราบว่า เราทำาถูกหรือไม่ ๔. อย่าดูเฉลยก่อนเขียนคำาตอบ นักเรียนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ๕. เมื่ออ่านและตอบคำาถามครบทุกกรอบแล้ว ให้นักเรียนทำา แบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจอีกครั้ง ๖. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีอ่านบทเรียนสำาเร็จรูปดีแล้ว เปิดอ่าน ได้เลย ------------------------------------------
  • 3. แบบทดสอบก่อ นเรีย น เรื่อ ง คำา กริย า คำาสั่ง ให้น ัก เรีย นอ่า นคำา ถามแล้ว เลือ กข้อ ที่ถ ูก ต้อ งที่ส ุด จาก ข้อ ก, ข, ค และ ง แล้วกากบาทลงในช่องของกระดาษคำาตอบที่ครูแจกให้ ๑. คำากริยา จำาแนกออกได้กี่ ชนิด ก. ๒ ชนิด ข. ๓ ชนิด ค. ๔ ชนิด ง. ๕ ชนิด ๒. ข้อใดเป็นกริยามีกรรม ก. ผ้าผืนนี้กินตัว ข. เขาใช้ตะเกียบไม่เป็น ค. เข้าใช้ช้อนซ่อมตั้งแต่เด็ก ง. ฉันชอบกินก๋วยเตี๋ยวตั้งแต่ เด็ก ๓. ข้อใดมีกริยาไม่มีกรรม หรือเรียกว่า อกรรมกริยา ก. นายเรือเดินเรือในทะเล ข. เขาเดินหมากรุก ค. นักการเมืองเดินแต้มเพื่อ หาเสียง ง. ทุกคนต้องเดินเหมือนกัน ๔. “พ่อค้าทอนสตางค์ให้ฉัน” คำากริยาคือข้อใด ก. ทอนสตางค์ ข. ทอนให้ฉัน ค. ทอนสตางค์ให้ฉัน ง. ทอนให้ ๕. ข้อใดมีกริยาที่มีส่วนเติม เต็ม ก. ข้าวเหนียวก้อยอร่อย
  • 4. ข. เขาเป็นความหวังของพวก เรา ค. เขาชอบนั่งเล่นคนเดียว เงียบ ๆ ง. แตงกวากำาลังอ่านหนังสือ อ่านเล่น ๖. ข้อใดมีกริยาช่วย หรือ กริยานุเคราะห์ ก. เขาทำาถูก ข. ของถูกลง ค. เขาซื้อของถูก ง. คนร้ายคงถูกตำารวจจับ ๗. ข้อใดไม่มีกริยาอาศัย ส่วนเติมเต็ม หรือ วิตรรถกริยา ก. จ้อยเป็นคนที่มีฝีเท้าเร็ว ข. ความโกรธเหมือนทะเล บ้า ค. คนดีคือผู้ที่โลกสรรเสริญ ง. เขาต้องตายทั้งเป็น เพราะทำาความผิดไว้ ๘. ประโยคข้อใดใช้กริยาไม่ต้องมีกรรมมารับ ก. แม่ไหว้พระ ข. เขาเรียนเก่ง ค. น้องฉันอ่านหนังสือ การ์ตูน ง. คุณพ่อนอนบนเตียง ๙. ประโยคใดใช้กริยาที่ต้องมีกรรมมารับ ก. นกบินสูง ข. สุนัขหอน ค. เป็ดกินข้าว ง. แมววิ่งได้เร็ว ๑๐. ข้อใดใช้กริยาที่ต้องมี คำาเติมเต็ม ก. ฉันสูงเท่าคุณพ่อ ข. แมวกระโดดสูง
  • 5. ค. น้องกินมากกว่าฉันหลาย เท่า ง. คุณพ่ออายุมากกว่าฉัน หลายเท่า กรอบที่ บทเรียนสำาเร็จรูปเล่มนี้เป็นเรื่อง คำา กริย า ซึ่งมีความหมายว่า กระทำา มีอาการ อยู่ในสภาพ โดยเฉพาะคำาว่า มีอาการ กับ อยู่ในสภาพ มีความหมายใกล้เคียงกันมาก คำากริยาบางคำา อาจแยกไม่ออกว่า มีอาการ หรืออยู่ในสภาพ แต่เราไม่จำาเป็นต้องกังวล เพียงแต่ตั้งข้อสังเกต ไว้เท่านั้นค่ะ ก่อนที่จะศึกษาให้ถี่ถ้วน เรามาศึกษา จุดประสงค์ของการเรียนรู้เรื่องคำากริยากันก่อน จุด ประสงค์ เมือ นัก เรีย นเรีย นบทเรีย นนี้แ ล้ว นัก เรีย นจะสามารถ ๑. อธิบายความหมายของคำากริยา และแยก ประเภทได้ ๒. บอกหน้าที่ของคำากริยา พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ได้
  • 6. ๓. เมื่อกำาหนดสถานการณ์ให้ สามารถใช้คำา กริยาได้ถูกต้อง กรอบที่ พี่หมีออ ทำาไมเราถึงต้องเรียนเรื่อง ้ น้องหมี ป่า คำากริยาด้วยคะ การเรียนเรื่อง คำา กริย า ช่วยให้เรานำาคำาไปผูก เป็นประโยค ได้อย่างถูกต้อง เหมาะ สม เป็นการพัฒนาการใช้ ภาษา ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จริงหรือคะ น้องอยากจะศึกษาเรื่องคำากริยาแล้วซิ อย่างนั้นเรามาเริ่มศึกษากันเลย นะคะ คำา กริย า คือคำาที่แสดงอาการของนาม หรือ สรรพนาม หรือ แสดงการกระทำาของประธาน
  • 7. ขีดเส้นใต้คำากริยาในประโยค ตามความหมายของคำากริยาที่ ได้ ศึกษามา น้องร้องไห้ เขาปลูกต้นไม้ ลูกหมาเหนื่อยมาก เฉลย น้องร้องไห้ เขาปลูกต้นไม้ กรอบที่ ลูกหมาเหนื่อยมาก หมีป่า น้องได้ทราบความหมายของคำากริยาแล้ว คราวนี้เรามาศึกษาเรื่อง ชนิดของคำากริยา ตามพี่มาเลยค่ะ คำา กริย า แบ่ง ออกเป็น ชนิด ต่า ง ๆ ได้ด ัง นี้ ๑. กริยาไม่ต้องมีกรรม ๒. กริยามีกรรม ๓. กริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม ๔. คำาช่วยกริยา น้องดูซิว่าพี่แสดงกริยาอะไร ก็ยิ้มนะซิ มีอะไรชอบใจ มาก อย่างนั้นหรือ คำาถาม
  • 8. คำากริยาแบ่งออกเป็นที่ชนิด เฉลย ๔ ชนิด กรอบที่ ก่อนที่จะพูดถึงคำากริยาแต่ละชนิด พี่ขออธิบายถึงคำาที่ทำาหน้าที่เป็นกรรม ของประโยคก่อน เพื่อน้องจะได้ ทำาความเข้าใจในเรื่อง กริยาที่ไม่ต้องมีกรรม กับกริยาที่มีกรรม ต่อไป คะพี่อธิบายเลยค่ะ กรรมเป็นส่วนย่อยของภาคแสดงในประโยค ทำาหน้าที่เป็นผู้ถูกกระทำา เช่น ฉันตีสุนัข รถชนฉัน จะเห็นว่าประโยคแรก สุนัขเป็นผู้ถูกระทำา ประโยคที่ 2 ฉันเป็นผู้ถูกกระทำา คำาถาม กรรมในประโยคหมายความว่าอย่างไร
  • 9. เฉลย กรรมเป็นส่วนหนึ่งของภาคแสดงทำาหน้าที่เป็นผู้ถูกกระทำาใน ่ กรอบที ประโยค ๑. กริย าไม่ต ้อ งมีก รรม หรือเรียกว่า “อกรรมกริย า ” หมายถึง กริยาที่มีความหมายสมบูรณ์ โดยไม่ต้องมี กรรม ที่รับการกระทำาตามหลัง เช่น - รูปภาพ นักกีฬาวิ่ง - ต้นไม้หกั เด็กนักเรียนนั่งเรียบร้อย คำากริยาชนิดนี้ เป็นคำาที่ ทิ้งไว้ความหมายสำาคัญของประโยค อ๋อ ! น้องทราบแล้ว ถ้าเอาคำากริยาชนิดนี้ ออกจากประโยค ประโยคนั้น ใช่ค่ะ จะไม่มีความหมาย สมบูรณ์ ใช้ไหมคะพี่ สังเกตดูว่า ประโยคใดใช้กริยาไม่ต้องมีกรรม ต้นตาลโตช้า ต้นตาลสูงว่าต้นมะพร้าว ต้นตาลบังลม
  • 10. เฉลย ต้นตาลโตช้า กรอบที่ ต้นตาลสูงกว่าต้นมะพร้าว ๒. กริย ามีก รรม หรือเรียกว่า “สกรรม กริย า ” หมายถึง กริยาที่ต้องมีกรรมมารับ จึงจะได้ ความ ครบถ้วน สมบูรณ์ เช่น แม่ค้าขายผัก นกกินข้าวโพด ชาวนาเกี่ยวข้าว น้องหมีป่า ศึกษาต่อไปเลยนะคะ ค่ะ จงพิจารณาประโยค ประโยคใดใช้กริยามีกรรม คุณพ่อขี่ม้า น้องเล่นกับแมว เฉลย ต้นตาลมีประโยชน์หลายอย่าง กรอบที่
  • 11. รัฐบาลเลิกภาษีตาล เขาต่อเก้าอี้ด้วยไม้ตาล คำากริยาที่ต้องมีกรรมมารับนั้นเป็นคำากริยา ที่ต้องมีคำาถามต่อไปว่า ทำาอะไร จึงจะได้ความหมาย ชัดเจน เช่น พี่ตัดหญ้า ตัด เป็นคำากริยา หญ้า เป็นกรรมที่มารับคำา กริยา ถ้าบอกว่า พ่อ ตัด ต้องถามต่อไป ตัด อะไร ต้องบอกว่า หญ้า จึงจะได้ความหมาย ไม่ยากใช่ไหมคะ ไม่หรอกค่ะ น้องพอจะทำาความเข้าใจ ได้ ฉันปลูกผักสวนครัว คำากริยาคือคำาว่า………. กรรมของประโยคที่มาขยาย กริยา คือคำาว่า………. เฉลย ปลูก ผักสวนครัว กรอบที่
  • 12. แล้วกริยาอาศัยส่วนเติมเต็มละคะพี่ หมายความว่าอย่างไร พี่เตรียมคำา อภิบาย พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ประโยคประกอบไว้พรอ้ม แล้ว น้องศึกษาได้เลย ๓. กริย าอาศัย ส่ว นเติม เต็ม หรือเรียกว่า “วิต รรถกริย า ” หมายถึงกริยาที่ไม่มีความหมายที่สมบูรณ์ ในตัวเอง ที่ใช้อยู่เสมอ ก็มีคำาว่า เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ หลังคำากริยาดังกล่าว ต้องมี คำาสรรพนาม หรือคำานาม หรือคำาอื่น ๆ มาขยาย เช่น ต้นตาลคล้ายต้นมะพร้าว ผลตาลเหมือนผลมะพร้าว ทั่งคือแท่งเหล็กใหญ่ ประโยคต่อไปนี้ ประโยคใด มีคำากริยาที่อาศัยส่วนเติมเต็ม นายสมัครเป็นผู้แทนราษฎร สุชิน เป็นนักกีฬา วิบูลย์ เขียนจดหมาย เฉลย กรอบที่ นายสมัครเป็นผู้แทนราษฎร สุชินเป็นนักกีฬา
  • 13. การสังเกตกริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม หรือวิตรรถกริยา มีลักษณะเป็นคำาที่เปรียบเทียบ นอกจาจะมีคำาว่า เป็น เหมือน คล้าย คือ แล้ว ยังมีคำาอื่นอีก เช่น ดุจ ประดุจ อุปมา เป็นต้น การสังเกตคำาเปรียบเทียบ เหล่านี้ในประโยค จะช่วยให้ ใช่ค่ะ เราสังเกตคำากริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม ได้ง่ายขึ้น ประโยคต่อไปนี้ ควรใช้คำากริยาคำาใดจึงจะเหมาะสม เพื่อนของฉันอ้วน……….ตุ่ม เฉลย เหมือน กรอบที่ ๔. คำา ช่ว ยกริย า หรือเรียกว่า “กริย านุเ คราะห์ ” หมายถึงกริยาที่ทำาหน้าที่ ช่วยกริยาชนิดอื่นเพื่อช่วยให้ ความหมายของคำากริยานั้นชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น เธอต้อ งทำางานนี้ให้เสร็จนะ คำาตอบข้อนี้อ าจผิดหวังได้
  • 14. ประโยคแรก กริยาจริงคือ คำาว่า ทำางาน กริยาช่วยคือคำา ว่าต้อง ประโยคที่ ๒ กริยาจริงคือคำาว่า ผิดหวัง กริยาช่วยคำาคำา ว่า อาจ ใช่ไหมคะพี่หมีอ้อ ถูกต้องค่ะ น้องเก่งมาก ประโยค น้องถูกรังแก กริยาจริงในประโยค คือ…………… กริยาช่วยในประโยค คือ…………… เฉลย รังแก, ถูก กรอบที่ น้องทราบชนิดของคำากริยาแล้วนะคะ คราวนี้เรามาศึกษา หน้าที่ของคำากริยาบ้าง ว่าคำากริยาทำาหน้าที่อย่างไรบ้าง ตกลงค่ะ หน้า ที่ข องคำา กริย า ๑. ทำาหน้าที่เป็นตัวแสดงในภาคแสดงของ ประโยค ๒. หน้าที่ขยายนาม ๓. ทำาหน้าที่ขยายกริยา
  • 15. ๔. ทำาหน้าที่เหมือนคำานาม แล้วเราจะมีวิธีสังเกตคำากริยา ที่ทำาหน้าที่แต่ละชนิดได้อย่างไร ก็ศึกษาหน้าต่อไปซิ คะ น้องก็จะทราบเอง คำาถาม หน้าที่ของคำากริยามีกี่ชนิด เฉลย ๔ ชนิด กรอบที่ ๑. คำา กริย าทำา หน้า ที่เ ป็น ตัว แสดงในภาคแสดง ของประโยค เช่น นักกีฬาวิ่งอยู่ในสนาม เด็ก ๆ ร้องเพลงกันอย่างสนุกสนาน ครูสอนอยู่หน้าห้อง ประโยคแรก คำาว่า นักกีฬา เป็นภาค ประธาน วิ่งอยู่ใน สนามเป็นภาคแสดง กริยาสำาคัญในภาคแสดง คือ วิ่ง
  • 16. ประโยคที่ ๒ คำาว่าเด็ก ๆ เป็นภาค ประธาน ร้องเพลง กันอย่างสนุกสนานเป็นภาค แสดง คำาสำาคัญในภาคแสดง คือ ร้องเพลง ประโยคที่ ๓ ครูเป็นภาคประธาน สอนอยูหน้าห้องเป็นภาคแสดง ่ คำาสำาคัญในภาคแสดง คือ สอน สังเกตคำากริยาในประโยคและขีดเส้นใต้ คำาที่ทำาหน้าที่ เป็นภาคแสดงในประโยค และเป็นกริยาสำาคัญ เขาขับรถเร็วมาก เขาเรียนหนังสือ เฉลย เขาขับรถเร็วมาก กรอบที่ เขาเรียนหนังสือ ๒. คำา กริย าที่ท ำา หน้า ที่ข ายนาม เช่น คนกวาดถนนมาทำางานแล้ว วันนี้คือวันเดินทาง อาหารเลี้ยงเด็กกำาพร้าอยู่ที่ไหน จะเห็นว่า คำาที่ขีดเส้นใต้นั้น เป็นคำากริยา ทำาหน้าที่ขยายคำานามที่อยู่ข้างหน้า
  • 17. น้องช่วยสังเกตคำากริยาในประโยค แล้วช่วยบอกพี่ด้วยว่า กริยาใดในประโยค ทำาหน้าที่ขยายนาม จงบอกคำากริยาที่ทำาหน้าที่ขยายนามในประโยค ดอกไม้ถวายพระเป็นสีขาวทั้งหมด - รูปภาพ เขาเปลี่ยนรายการอาหารเลี้ยงแขก - หอกซัดเป็นอาวุธโบราณ เฉลย ถวายพระ กรอบที่ เลี้ยงแขก ซัด ๓. คำา กริย าทำา หน้า ที่ ขยายกริย า เช่น
  • 18. น้องฉันนั่งเล่นกับเพื่อน เขาเดินร้องเพลงอย่างสบาย คุณแม่ยืนดูอยู่อย่างสนใจ คำาที่ขีดเส้นใต้เป็นคำากริยา ที่ขยายคำากริยาข้างหน้า ให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้นค่ะ ใช่ค่ะ สังเกตประโยค แล้วขีดเส้นใต้ คำาในประโยค ทำาหน้าที่ขยาย กริยา นกอินทรีบินฉวัดเฉวียน เขาทำาท่ายักคิ้วหลิวตาไม่น่าดู ละครเรื่องนี้สนุกสนานน่าดูจริง ๆ เฉลย นกอินทรีบินฉวัดเฉวียน กรอบที่ เขาทำาท่ายักคิ้วหลิวตาไม่น่าดู ละครเรื่องนี้สนุกสนาน ๔. ทำา หน้า ที่เ หมือ นคำา นาม เช่น ร้องให้บ่อย ๆ ทำาให้ตาบวมได้ ออกกำาลังกายทุกวัน ทำาให้ร่างกายแข็ง แรง อาบนำ้าทันทีหลังทานข้าวไม่ดี
  • 19. จะเห็นได้ว่า คำากริยาที่ขีดเส้น ใต้ เป็นคำากริยาที่ ทำาหน้าที่เหมือนคำา นาม คำานามคืออะไร พี่ช่วยทบทวนให้หน่อย คำานามคือ คำาที่แสดง ความหมาย ของบุคคล สัตว์ สิ่งของ สภาพ อาการ และลักษณะ รวมทั้งสิ่งมีชีวิต และ ไม่มีชีวิต ทั้งรูปธรรม และนามธรรม สังเกตประโยคแล้วขีดเส้นใต้ คำาในประโยค ทำาหน้าที่เหมือน คำานาม เกิดสงครามใหญ่ในสมัยพระเจ้าเอกทัศน์ ปรากฏชื่อเสียงของพระยาพิชัยดาบหักจน ทุกวันนี้ เฉลย เกิดสงครามใหญ่ในสมัยพระเจ้าเอกทัศน์ ปรากฏชื่อเสียงของพระยาพิชัยดาบหักจนทุกวัน นี้ เมื่อเติมคำาตอบได้ถูกต้องแล้ว
  • 20. ทดลองทำาแบบฝึกท้ายบทเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนเลยคะ เปิดหน้าต่อไปแล้วจะพบแบบฝึกท้ายบทเรียนคะ แบบฝึก ท้า ยบทเรีย นเรื่อ ง คำา กริย า ๑. จงเลือ กคำา กริย าที่ไ ม่ต ้อ งมีก รรมในวงเล็บ ท้า ย ประโยค ลงในช่อ งว่า งในประโยคให้ถ ูก ต้อ ง ก. หนังสือเล่มนี้…………………… (สวย, ชำารุด, ใหม่) ข. แจกันดอกไม้……………….…… (หล่น, ทรงสูง, สวย) ค. นกยูง…………………………… (ตัวเล็ก, รำาแพน, ตัวใหญ่) ง. เรือยนต์……………………… …. (คนเต็มเรือ, แล่น, คันใหม่)
  • 21. จ. ตำารวจ………………………….. (เดิน, แต่งเครื่อง แบบ, เป็นคนดี) ฉ. จดหมายคุณพ่อ………………... (ส่งให้ฉัน, ยังมา ไม่ถึง, หาย) ๒. จงเลือ กคำา กริย าที่ม ีก รรมมารับ ใส่ล งในช่อ งว่า งใน ประโยคต่อ ไปนี้ ปลูก มี ให้ก าร ตี ได้ ทำา ๑. ผู้จดการ……….แว่นตากันแดด ั ๒. เกษตรกรกำาลัง……….ข้าวในนา ๓. นายแพทย์……….รายงานเกี่ยวกับคนไข้ ๔. ชาวสวน……….กำาไรจากการขายลำาใย ๕. คุณน้า……….อาหารได้อร่อยมาก ๖. พระยาตาก……….เมืองจันทบุรีได้ ๓. ให้น ัก เรีย นโยงเส้น ประโยค และหน้า ที่ข องคำา กริย าที่ สัม พัน ธ์ก ัน ประโยค หน้า ที่ค ำา กริย า คุณแม่ดูอยู่อย่างสนใจ   เป็นตัวแสดง ในภาคแสดง ของประโยค เที่ยวกลางคืนมักมีอันตราย   ขยายนาม ดอกไม้ถวายพระเป็นสีขาวทั้งหมด  ขยายกริยา เขาขับรถเร็วมา   เหมือนคำานาม แบบทดสอบหลัง เรีย น เรื่อ ง คำา กริย า คำา สั่ง ให้นักเรียนอ่านคำาถามแล้วเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุด จากข้อ ก, ข, ค และ ง แล้วกากบาทลงในช่องของกระดาษคำาตอบที่ครูแจกให้ ๑. ข้อใดมีกริยาไม่มีกรรม หรือ อกรรมกริยา ก. นำ้าลดแห้งคลอง
  • 22. ข. นักมวยลดนำ้าหนักตัวเอง ค. เครื่องบินลดความเร็ว ง. พ่อค้าลดราคาของ ๒. “เกรซ ดาลิ่ง ตืนแต่เช้า แลเห็นอะไรดำาตะคุ่ม ๆ อยู่แต่ไกล ่ พอเอากล้องมาส่งดูก็ทราบว่าเป็นเรือแตกเกยหินอยู่ และยังมี คนเกาะอยู่อีก สองสามคน” ข้อความข้างต้นนี้ มีกริยาที่ต้องมีกรรมมารับกี่คำา ก. ๒ คำา ข. ๓ คำา ค. ๔ คำา ง. ๕ คำา ๓. จากข้อ ๒ ข้อใดเป็นคำากริยาที่ต้องมีกรรมมารับ ก. ตื่น ข. แลเห็น ค. เป็น ง. เกาะ ๔. กริยาในข้อใดเป็นได้ทั้ง อกรรมกริย า และ สกรรมกริย า ก. บิน ข. กิน ค. เหาะ ง. อ่าน ๕. คำา กำา ลัง ข้อใดเป็นกริย าช่ว ย หรือ กริย านุเ คราะห์ ก. พระยาตากต้องพบอุปสรรคมากมาย จนหมดกำาลังใจ ข. กำาลังของข้าศึกมีมากมาย ค. ยาชนิดนี้เป็นยาชูกำาลัง ง. ทหารพม่าและทหารมอญ กำาลังสู้รบกันอยู่ ๖. ข้อใดมีกริยาช่วย หรือ กริยานุเคราะห์ ก. นายทองดี คิดว่า ควรลาครูเที่ยงไปเรียนต่อ ข. สมิงอายมนทยา มีปัญญาเฉลียวฉลาด ค. นายแกว่นแสดงภายยนต์จนเข้ามี่ชื่อเสียง ง. นายแกว่นรู้สึกเหมือนมีตะลุมพุกทุบที่ไหล่ ๗. คำา เป็น ข้อใด เป็น กริย าอาศัย ส่ว นเติม เต็ม หรือ วิตร รถกริยา ก. สินสมุทรว่ายนำ้าเป็น ข. เด็กมือบอนฆ่าปลาเป็น ๆ ได้อย่างเลือดเย็น ค. ดาราภาพยนต์สามารถทำาหน้าเป็นได้
  • 23. ง. นายแกว่นเป็นดาราที่มีชื่อเสียง ๘. คำาที่บอกอาการกระทำาของนาม หรือสรรพนามที่เป็นประธาน ของประโยค เรียกว่าอะไร ก. คำานาม ข. คำากริยา ค. ประธาน ง. อาการ ๙. คำากริยาช่วยมีหน้าที่อย่างไรในประโยค ก. ช่วยประธานให้สมบูรณ์ ข. ช่วยกริยาให้สมบูรณ์ ค. ช่วยคำานามให้สมบูรณ์ ง. ช่วยกรรมของประโยค ๑๐. “พระฉันอาหาร” คำาในประโยคที่เป็นคำากริยาข้อใด ก. ฉัน ข. เช้า ค. พระ ง. อาหาร เฉลยแบบฝึก ท้า ยบทเรีย นเรื่อ ง คำา กริย า ข้อ ๑ ก. ชำารุด ข. หล่น ค. รำาแพน ง. แล่น จ. เดิน ฉ. หาย ข้อ ๒ ๑. มี ๒. ปลูก ๓. ให้การ ๔. ได้ ๕. ทำา
  • 24. ๖. ตี ข้อ ๓ ประโยค หน้า ที่ค ำา กริย า คุณแม่ดูอยู่อย่างสนใจ O Oเป็นตัวแสดงในภาคแสดง ของประโยค เที่ยวกลางคืนมักมีอันตราย O Oขยายนาม ดอกไม้ถวายพระเป็นสีขาวทั้งหมด O O ขยายกริยา เขาขับรถเร็วมาก O O เหมือนคำานาม เฉลยแบบทดสอบ เรื่อ ง คำา กริย า ก่อ นเรีย น หลัง เรีย น ๑. ค ๑. ก ๒. ง ๒. ง ๓. ง ๓. ค ๔. ง ๔. ง ๕. ข ๕. ง ๖. ง ๖. ก ๗. ง ๗. ง ๘. ข ๘. ข ๙. ค ๙. ข ๑๐. ก ๑๐. ก
  • 25. เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนแบบฝึก ท้า ยบทเรีย นเรื่อ ง คำา กริย า ข้อที่ ๑ ( ๓ คะแนน ) ข้อย่อยละครึ่งคะแนน ข้อที่ ๒ ( ๓ คะแนน ) ข้อย่อยละครึ่งคะแนน ข้อที่ ๓ ( ๔ คะแนน ) ข้อย่อยละ ๑ คะแนน รวมคะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน บรรณานุก รม กรองกาญจน์ อรุณรัตน์. บทเรีย นโปรแกรม . ภาควิชา เทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2530. ธีรชัย บูรณโชติ. การสร้า งบทเรีย นสำา เร็จ รูป เส้น ทางสู่ อาจารย์ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงเรียนพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532. ผะอบ โปษฟฤษณะ. ลัก ษณะเฉพาะของภาษาไทย . พิมพ์ ครั้งที่ 5 กรุงเทพมหานคร : อักษรพิทยา, 2538. พรทิพย์ แฟงสุด. หนัง สือ รวมหลัก ภาษาไทย ม.ต้น . ฟิสิกส์ เซนเตอร์, 2536. วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. หนัง สือ เรีย นวิช าภาษา ไทย ท 103 ท 104 ชุด ทัก ษะสัม พัน ธ์ เล่ม 1 ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2538. _____ . หนัง สือ เรีย นภาษาไทย ท 103 ท 104 หลัก ภาษาไทย เล่ม 1 พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2541. วิเชียร เกษประทุม. คู่ม ือ ภาษาไทย ม.1 ท 103 ท 104. กรุงเทพมหานคร : พัฒนศึกษา,
  • 26. เสนีย์ วิลาวรรณ. หนัง สือ เรีย นหลัก และการใช้ภ าษา ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2523.
  • 27. เสนีย์ วิลาวรรณ. หนัง สือ เรีย นหลัก และการใช้ภ าษา ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2523.
  • 28. เสนีย์ วิลาวรรณ. หนัง สือ เรีย นหลัก และการใช้ภ าษา ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2523.
  • 29. เสนีย์ วิลาวรรณ. หนัง สือ เรีย นหลัก และการใช้ภ าษา ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2523.