SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 34
Downloaden Sie, um offline zu lesen
พจนานุกรม
(Dictionaries)
                จัดทาโดย
       อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์
         มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
                   2555
หัวข้อบรรยาย:
1. ความหมาย & ประโยชน์
2. ประเภท
3. การประเมินคุณค่า
4. พจนานุกรมที่ควรรู้จัก
5. การใช้พจนานุกรมในการตอบคาถาม
ความหมาย & ประโยชน์:
คือ Reference Resources ที่ให้สารสนเทศเกี่ยวกับคา/คาศัพท์ ในด้านต่างๆ
   ใช้ค้นหาข้อมูลด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับคา ได้แก่
     -   การสะกดคา                     - การออกเสียง
     -   จานวนพยางค์/การแบ่ง           - ชนิดของคา
     -   ความหมาย (คา วลี สานวน สแลง ฯลฯ)
     -   วิธีการใช้คา + ตัวอย่างประกอบ (ที่มาของของตัวอย่าง)
     -   ประวัติที่มาของคา
     -   คาเหมือน (Synonym) - คาตรงข้าม (Antonym) - คาย่อ (Abbreviation)
     -   คาสแลง (Slang)           - คาภาษาถิ่น (Dialect)     ฯลฯ
   จัดเรียงคาศัพท์ตามลาดับอักษร
ประเภท:
1. พจนานุกรมภาษา
   (General Language Dictionaries)

2. พจนานุกรมคาเฉพาะประเภท/ เฉพาะด้าน
    (Specialized Dictionaries)

3. พจนานุกรมเฉพาะวิชา
   (Subject Dictionaries)
ประเภท: (ต่อ)

   * รวมคาศัพท์ในภาษาหนึ่ง

   * เป็นคาศัพท์ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน

   * ไม่เพ่งเล็งศัพท์วิชาการ (ตัวอย่างศัพท์วิชาการเช่น    DIALOG, Reference Sources)


   * ให้รายละเอียดคาอย่างกว้าง ๆ (การออกเสียง ชนิดคา ความหมาย
                     วิธีการใช้คา คาเทียบศัพท์           ประวัติที่มาของคา     ฯลฯ)
ประเภท:   (ต่อ)


     * แบ่งเป็น 3 ประเภท

          1.1 พจนานุกรมภาษาเดียว (Language Dictionaries)

          1.2 พจนานุกรมสองภาษา (Bilingual Dictionaries)

          1.3 พจนานุกรมหลายภาษา (Polyglot Dictionaries)
ประเภท: (ต่อ)
    1.1 พจนานุกรมภาษาเดียว (Language Dictionaries)
          มี 1 ภาษาใน 1 ชื่อเรื่อง (Title)   แบ่งย่อยเป็น

         ก) พจนานุกรมฉบับสมบูรณ์ (Unabridged Dictionaries)

         ข) พจนานุกรมฉบับย่อ (Abridged/ Desk Dictionaries)


คาถาม: ก. ต่างจาก ข. ในประเด็นใดบ้าง?
คาตอบ: 1) จานวนคา             2) ประเภทคาที่รวบรวม
            3) การให้รายละเอียดคา            4) การแบ่งประเภทย่อย
1.2 พจนานุกรมสองภาษา (Bilingual Dictionaries)
    มี 2 ภาษาใน 1 ชื่อเรื่อง
        เช่น New Model English-Thai Dictionary
                  (ให้คาศัพท์เป็นภาษาอังกฤษ คาอธิบายศัพท์เป็นภาษาไทย)



1.3 พจนานุกรมหลายภาษา (Polyglot Dictionaries)
    มีมากกว่า 2 ภาษาใน 1 ชื่อเรื่อง
        เช่น พจนานุกรมญี่ปน-ไทย-อังกฤษ
                          ุ่
* ใช้ค้นหาคาในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น
       เช่น คาเต็มของคาย่อ สสวท. (ค้นจาก พจนานุกรมอักษรย่อฉบับสมบูรณ์)
            ความหมายของสานวนภาษา Good Joe
               (ค้นจาก พจนานุกรมสานวนภาษาอังกฤษ)


* ใช้เสริมพจนานุกรมภาษา

* มี 8 ประเภทย่อย       ดังนี้
2.1 พจนานุกรมอักษรย่อ (Abbreviation Dictionaries)
2.2 พจนานุกรมคาพ้องคาตรงข้าม (Synonyms & Antonyms
      Dictionaries)
2.3 พจนานุกรมภาษาถิ่น (Dialect Dictionaries)
2.4 พจนานุกรมนิรุกติศาสตร์ (Etymological Dictionaries)
2.5 พจนานุกรมคาอ่าน (Pronouncing Dictionaries)
2.6 พจนานุกรมสานวน (Idiom Dictionaries)
2.7 พจนานุกรมสแลง (Slang Dictionaries)
2.8 พจนานุกรมการใช้คาในภาษา (Usage Dictionaries)
2.1   พจนานุกรมอักษรย่อ (Abbreviation Dictionaries)
        ให้ตัวย่อ/ คาย่อ & คาเต็ม
        เช่น http://www.acronymfinder.com/

2.2   พจนานุกรมคาพ้องคาตรงข้าม
       (Synonyms & Antonyms Dictionaries)
        ให้คาเหมือน & คาตรงข้าม หลาย ๆ คา เพื่อทางเลือกในการใช้คา
          เช่น http://www.synonym.com/ หรือ http://thesaurus.reference.com/
2.3   พจนานุกรมภาษาถิ่น (Dialect Dictionaries)
        ให้คาศัพท์/ สานวนภาษาถิ่นนั้นๆ
ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการออกเสียง ชนิดคา ความหมาย ตัวอย่าง
         เช่น พจนานุกรมภาษาโคราช
2.4   พจนานุกรมนิรุกติศาสตร์ (Etymological Dictionaries)
        ให้รากศัพท์คา ประวัติที่มาคาโดยละเอียด ตัวอย่างประโยคจาก
งานเขียนในอดีต
          เช่น Oxford English Dictionary (http://www.oed.com/)
               Online Etymology Dictionary (http://www.etymonline.com/)
2.5   พจนานุกรมคาอ่าน (Pronouncing Dictionaries)
                  ให้การอ่านออกเสียงคาอย่างถูกต้องตามหลักสัทศาสตร์
                  เช่น http://www.howjsay.com/
                   http://french.about.com/library/pronunciation/bl-audiodico-l.htm

        2.6   พจนานุกรมสานวน (Idiom Dictionaries)
                 ให้สานวนภาษาพูด - เขียน & ความหมาย
                  เช่น English Idioms
(http://www.englishclub.com/ref/Idioms/index.htm?gclid=CLq-9YS316kCFUcb6wodtQNYLw)
2.7   พจนานุกรมสแลง (Slang Dictionaries)
         ให้คา / วลี ที่ใช้ และเข้าใจเฉพาะกลุ่มใดหนึ่ง
          ให้รายละเอียด: การออกเสียง ความหมาย ตัวอย่างการใช้คา เช่น
                  http://www.peevish.co.uk/slang/index.htm /

2.8   พจนานุกรมการใช้คาในภาษา (Usage Dictionaries)
         ให้วิธีการใช้คา/ วลี เพื่อเขียน/พูดได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
          เช่น Dictionary of Modern English Usage
รวมคาศัพท์เฉพาะในสาขาใดหนึ่ง เน้นการให้ความหมาย
     เช่น ODLIS -Online Dictionary for Library and Information Science
               (http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_A.aspx /)
         Duhaime's Legal Dictionary
(http://www.duhaime.org/LegalDictionary.aspx?type=catchall)
               พจนานุกรมพุทธศาสน์
          (http://www.dhammathai.org/bd/dictionary.php)
ให้นักศึกษาดูตัวอย่างพจนานุกรมต่อไปนี้แล้วบอกว่าเป็น
                  พจนานุกรมประเภทใด
http://rirs3.royin.go.th/word1/word-1-a0.asp
http://www.widebase.net/itterm/termindex_0.htm
http://www.acronymfinder.com/
http://thesaurus.reference.com/browse/swear
homework – housework

‘homework’ In British English, homework is work that pupils are given to do at
            home. You say that pupils do homework. You do not say that they
            ‘make’ homework.
            He never did any homework.
‘housework’ Housework is work such as cleaning or washing that is done in a house.
            She relied on him to do most of the housework.
WARNING Both homework and housework are uncount nouns. You do not talk
        about ‘a homework’ or ‘houseworks’.
การประเมินค่า:
1. ความน่าเชื่อถือ
     * ความมีชื่อเสียงของสานักพิมพ์ เช่น Merriam-Webster Oxford University Press …
     * คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญของผู้รวบรวม (ภาษา สาขาวิชา)
     * แหล่งที่มาของข้อมูล (ให้บัญชีรายชื่อหนังสือ / บุคคล)

2. วัตถุประสงค์ & ขอบเขตเนื้อหา
     * วัตถุประสงค์ จัดทาเป็นพจนานุกรมประเภทใด  เพื่อดูขอบเขตว่าครอบคลุมหรือไม่
              อย่างไร
              เช่น เพื่อรวบรวมคาย่อและให้คาเต็ม  พจนานุกรมคาย่อ
     * กลุ่มผู้ใช้
     * ความทันสมัย (ศัพท์ใหม่ๆ)      ตรวจสอบโดย กาหนดคาศัพท์ใหม่ ๆ แล้วลองค้นดู
การประเมินค่า:                 (ต่อ)
3. การให้รายละเอียดเกี่ยวกับคา
     * ความสมบูรณ์ (แตกต่างไปตามประเภทพจนานุกรม)
              เช่น พจนานุกรมเฉพาะวิชา  การให้ความหมายของคาศัพท์
                   พจนานุกรมภาษาฉบับสมบูรณ์  ประเภทคาศัพท์ที่รวบรวม + รายละเอียดคา
     * ตรวจสอบที่ การสะกดคา (แบบใด) ชนิดคา การแบ่งพยางค์
                  การออกเสียงอ่าน (เครื่องหมายออกเสียงชัดเจน เสียงพูดชัดเจน)
             ประวัติที่มาคา (ภาษาใด อยู่ที่ใด การนาเสนอ - - เก่า  ใหม่, คานิยมใช้มาก่อน)
                  ความหมาย (ชัดเจน ถูกต้อง สมบูรณ์ +การจัดเรียง -- L by L, W by W)
                  มาตรฐานคา & การใช้ (ระบุว่าเป็น คาเลิกใช้ คาสแลง/ คาตลาด)
                  การให้ตัวอย่าง (ตรงกับความหมาย คัดลอกมา - - บอกแหล่งที่มา)
                  คาเหมือน/คาตรงข้าม (มี หรือไม่ อยู่ที่ใด)
                              ฯลฯ
การประเมินค่า:                  (ต่อ)

4. รูปแบบ (Format)
     * หนังสืออ้างอิง มีการอธิบายวิธีการใช้อยู่ต้นเล่ม (เครื่องหมาย สัญลักษณ์ อักษรย่อ)
                             เครื่องมือช่วยค้น (ดรรชนีริมหน้ากระดาษ คานาทาง)
                             ตัวพิมพ์ (หลายขนาด คมชัด)        กระดาษ (หนา)
     * ฐานข้อมูล       วิธีการสืบค้น (Search, Browse) เทคนิคการสืบค้น มีคลังคา      ฯลฯ


5. เปรียบเทียบกับพจนานุกรมชื่อเรื่องอื่นที่มีเนื้อหาคล้ายกัน
     ตรวจสอบโดยกาหนดคาค้น แล้วลองค้นดู -------> ความหมาย เข้าใจง่าย
            ตัวอย่างการใช้คา ชัดเจน ตรง ย้า.
พจนานุกรมที่ควรรู้จัก:
  ประเด็นที่ต้องรู้

           1) พจนานุกรมชื่อเรื่องนั้น เป็นพจนานุกรมประเภทใด

           2) พจนานุกรมชื่อเรื่องนั้นให้ขอมูลอะไรบ้าง
                                         ้
           (รวบรวมคาศัพท์ประเภทใด   ให้รายละเอียดของคาศัพท์อะไรบ้าง)
การใช้พจนานุกรมตอบคาถาม:                                 (ค้นจากWebOPAC)

1. พิจารณาคาถามว่าควรใช้พจนานุกรมประเภทใด ----> ชื่อเรื่องใดตอบ
เช่น อยากทราบความหมายของ “บรรณ”  พจนานุกรมภาษา  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน

2. กาหนดหัวเรื่อง หรือ คาสาคัญ เพื่อค้นหาพจนานุกรมชื่อเรื่องที่ต้องการ
     2.1. พจนานุกรมภาษา & คาเฉพาะด้าน       (ดูสไลด์ถัดไป)
     2.2. พจนานุกรมเฉพาะวิชา                  (ดูสไลด์ถัดไป)
                 ต้องการพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้กาหนดหัวเรื่องเป็น
                           ภาษาไทย - - พจนานุกรม

3. พบชื่อเรื่องที่ต้องการให้จดเลขเรียกหนังสือ  หาพจนานุกรมที่ชั้นหนังสือ

4. ค้นหาคาตอบให้ผู้ใช้.
ตัวอย่างหัวเรื่องพจนานุกรมภาษา และพจนานุกรมเฉพาะด้าน
1 ภาษาไทย - พจนานุกรม                               13   English language - Dictionaries
2 ภาษาไทย - พจนานุกรม - อังกฤษ                      14   French language - Dictionaries - English
3 ภาษาญี่ปุ่น - พจนานุกรม - ไทย
                                                    15   English language - Pronunciation - Dictionaries
4 พจนานุกรมหลายภาษา
5 ภาษาอังกฤษ - คาเหมือน และคาตรงข้าม - พจนานุกรม    16   English language - Slang - Dictionaries
6 ภาษาไทย - นิรุกติศาสตร์ (Etymology) - พจนานุกรม   17   English language - Idioms - Dictionaries
7 ภาษาไทย - ภาษาตลาด – พจนานุกรม                    18   English language - Synonyms and Antonyms
8 ภาษาไทย - สานวนโวหาร - พจนานุกรม                  19   English language - Usages – Dictionaries
9 ภาษาถิ่น - พจนานุกรม
                                                    20   American English Language - Dictionaries
10 ภาษาโคราช - พจนานุกรม
11 สุภาษิต และคาพังเพย - พจนานุกรม
12 ภาษาไทย - ศัพท์บัญญัติ
ตัวอย่างหัวเรื่องพจนานุกรมเฉพาะวิชา

ปรัชญา - พจนานุกรม                Political science - Dictionaries
เศรษฐศาสตร์การเมือง - พจนานุกรม   Sociology - Dictionaries
กฎหมาย - ไทย - พจนานุกรม          Library science - Dictionaries
เศรษฐศาสตร์ - ศัพท์บัญญัติ        Psychology - Dictionaries
เครื่องดื่ม - พจนานุกรม                              ฯลฯ
สรุปขั้นตอนการค้นหาพจนานุกรมในห้องสมุดเพื่อตอบคาถาม ‚ต้องการความหมาย
   ของคาว่า กระตุ้งกระติ้ง‛
1. พิจารณาจากคาถามว่าผู้ใช้ต้องการความหมายของคาว่า ‚กระตุ้งกระติ้ง‛ ต้องใช้
   พจนานุกรมภาษาเดียวที่ชื่อว่า พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ช่วยในการตอบ
   เพราะคำศัพท์เป็นภำษำไทย และต้องกำรควำมหมำยที่เป็นภำษำไทย
2. กาหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (ค้นจาก WebOPAC)
   เนื่องจากเป็นพจนำนุกรมภำษำเดียว จึงกาหนดหัวเรื่องเป็น
                              ภาษาไทย- -พจนานุกรม
3. เมื่อพบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้จดเลขเรียกหนังสือไปหาหนังสือที่
   ห้องอ้างอิง
4. ค้นหาเรื่องที่ต้องการโดยใช้ “คานาทาง” ช่วยค้นหาคาว่า “กระตุ้งกระติ้ง” ก็จะพบ
   ความหมายที่ต้องการในที่สุด.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลีคำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลีพัน พัน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำchatchaisukhum1
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)kruteerapongbakan
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856Rose'zll LD
 

Was ist angesagt? (19)

คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลีคำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 

Ähnlich wie พจนานุกรม

พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Librru Phrisit
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
Thai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีThai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีSopa Aruncharoenkit
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมjiratt
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 

Ähnlich wie พจนานุกรม (20)

พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Lesson4 refer22
Lesson4 refer22Lesson4 refer22
Lesson4 refer22
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
Mother pdf2013
Mother pdf2013Mother pdf2013
Mother pdf2013
 
Mother pdf2013
Mother pdf2013Mother pdf2013
Mother pdf2013
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
Reference book
Reference bookReference book
Reference book
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
Thai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีThai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรี
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
Context clues
Context cluesContext clues
Context clues
 

Mehr von Srion Janeprapapong

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 

Mehr von Srion Janeprapapong (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 

พจนานุกรม

  • 1. พจนานุกรม (Dictionaries) จัดทาโดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2555
  • 2. หัวข้อบรรยาย: 1. ความหมาย & ประโยชน์ 2. ประเภท 3. การประเมินคุณค่า 4. พจนานุกรมที่ควรรู้จัก 5. การใช้พจนานุกรมในการตอบคาถาม
  • 3. ความหมาย & ประโยชน์: คือ Reference Resources ที่ให้สารสนเทศเกี่ยวกับคา/คาศัพท์ ในด้านต่างๆ ใช้ค้นหาข้อมูลด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับคา ได้แก่ - การสะกดคา - การออกเสียง - จานวนพยางค์/การแบ่ง - ชนิดของคา - ความหมาย (คา วลี สานวน สแลง ฯลฯ) - วิธีการใช้คา + ตัวอย่างประกอบ (ที่มาของของตัวอย่าง) - ประวัติที่มาของคา - คาเหมือน (Synonym) - คาตรงข้าม (Antonym) - คาย่อ (Abbreviation) - คาสแลง (Slang) - คาภาษาถิ่น (Dialect) ฯลฯ จัดเรียงคาศัพท์ตามลาดับอักษร
  • 4. ประเภท: 1. พจนานุกรมภาษา (General Language Dictionaries) 2. พจนานุกรมคาเฉพาะประเภท/ เฉพาะด้าน (Specialized Dictionaries) 3. พจนานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Dictionaries)
  • 5. ประเภท: (ต่อ) * รวมคาศัพท์ในภาษาหนึ่ง * เป็นคาศัพท์ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน * ไม่เพ่งเล็งศัพท์วิชาการ (ตัวอย่างศัพท์วิชาการเช่น DIALOG, Reference Sources) * ให้รายละเอียดคาอย่างกว้าง ๆ (การออกเสียง ชนิดคา ความหมาย วิธีการใช้คา คาเทียบศัพท์ ประวัติที่มาของคา ฯลฯ)
  • 6. ประเภท: (ต่อ) * แบ่งเป็น 3 ประเภท 1.1 พจนานุกรมภาษาเดียว (Language Dictionaries) 1.2 พจนานุกรมสองภาษา (Bilingual Dictionaries) 1.3 พจนานุกรมหลายภาษา (Polyglot Dictionaries)
  • 7. ประเภท: (ต่อ) 1.1 พจนานุกรมภาษาเดียว (Language Dictionaries) มี 1 ภาษาใน 1 ชื่อเรื่อง (Title) แบ่งย่อยเป็น ก) พจนานุกรมฉบับสมบูรณ์ (Unabridged Dictionaries) ข) พจนานุกรมฉบับย่อ (Abridged/ Desk Dictionaries) คาถาม: ก. ต่างจาก ข. ในประเด็นใดบ้าง? คาตอบ: 1) จานวนคา 2) ประเภทคาที่รวบรวม 3) การให้รายละเอียดคา 4) การแบ่งประเภทย่อย
  • 8. 1.2 พจนานุกรมสองภาษา (Bilingual Dictionaries) มี 2 ภาษาใน 1 ชื่อเรื่อง เช่น New Model English-Thai Dictionary (ให้คาศัพท์เป็นภาษาอังกฤษ คาอธิบายศัพท์เป็นภาษาไทย) 1.3 พจนานุกรมหลายภาษา (Polyglot Dictionaries) มีมากกว่า 2 ภาษาใน 1 ชื่อเรื่อง เช่น พจนานุกรมญี่ปน-ไทย-อังกฤษ ุ่
  • 9. * ใช้ค้นหาคาในด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น เช่น คาเต็มของคาย่อ สสวท. (ค้นจาก พจนานุกรมอักษรย่อฉบับสมบูรณ์) ความหมายของสานวนภาษา Good Joe (ค้นจาก พจนานุกรมสานวนภาษาอังกฤษ) * ใช้เสริมพจนานุกรมภาษา * มี 8 ประเภทย่อย ดังนี้
  • 10. 2.1 พจนานุกรมอักษรย่อ (Abbreviation Dictionaries) 2.2 พจนานุกรมคาพ้องคาตรงข้าม (Synonyms & Antonyms Dictionaries) 2.3 พจนานุกรมภาษาถิ่น (Dialect Dictionaries) 2.4 พจนานุกรมนิรุกติศาสตร์ (Etymological Dictionaries) 2.5 พจนานุกรมคาอ่าน (Pronouncing Dictionaries) 2.6 พจนานุกรมสานวน (Idiom Dictionaries) 2.7 พจนานุกรมสแลง (Slang Dictionaries) 2.8 พจนานุกรมการใช้คาในภาษา (Usage Dictionaries)
  • 11. 2.1 พจนานุกรมอักษรย่อ (Abbreviation Dictionaries) ให้ตัวย่อ/ คาย่อ & คาเต็ม เช่น http://www.acronymfinder.com/ 2.2 พจนานุกรมคาพ้องคาตรงข้าม (Synonyms & Antonyms Dictionaries) ให้คาเหมือน & คาตรงข้าม หลาย ๆ คา เพื่อทางเลือกในการใช้คา เช่น http://www.synonym.com/ หรือ http://thesaurus.reference.com/
  • 12. 2.3 พจนานุกรมภาษาถิ่น (Dialect Dictionaries) ให้คาศัพท์/ สานวนภาษาถิ่นนั้นๆ ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการออกเสียง ชนิดคา ความหมาย ตัวอย่าง เช่น พจนานุกรมภาษาโคราช 2.4 พจนานุกรมนิรุกติศาสตร์ (Etymological Dictionaries) ให้รากศัพท์คา ประวัติที่มาคาโดยละเอียด ตัวอย่างประโยคจาก งานเขียนในอดีต เช่น Oxford English Dictionary (http://www.oed.com/) Online Etymology Dictionary (http://www.etymonline.com/)
  • 13. 2.5 พจนานุกรมคาอ่าน (Pronouncing Dictionaries) ให้การอ่านออกเสียงคาอย่างถูกต้องตามหลักสัทศาสตร์ เช่น http://www.howjsay.com/ http://french.about.com/library/pronunciation/bl-audiodico-l.htm 2.6 พจนานุกรมสานวน (Idiom Dictionaries) ให้สานวนภาษาพูด - เขียน & ความหมาย เช่น English Idioms (http://www.englishclub.com/ref/Idioms/index.htm?gclid=CLq-9YS316kCFUcb6wodtQNYLw)
  • 14. 2.7 พจนานุกรมสแลง (Slang Dictionaries) ให้คา / วลี ที่ใช้ และเข้าใจเฉพาะกลุ่มใดหนึ่ง ให้รายละเอียด: การออกเสียง ความหมาย ตัวอย่างการใช้คา เช่น http://www.peevish.co.uk/slang/index.htm / 2.8 พจนานุกรมการใช้คาในภาษา (Usage Dictionaries) ให้วิธีการใช้คา/ วลี เพื่อเขียน/พูดได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ เช่น Dictionary of Modern English Usage
  • 15. รวมคาศัพท์เฉพาะในสาขาใดหนึ่ง เน้นการให้ความหมาย เช่น ODLIS -Online Dictionary for Library and Information Science (http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_A.aspx /) Duhaime's Legal Dictionary (http://www.duhaime.org/LegalDictionary.aspx?type=catchall) พจนานุกรมพุทธศาสน์ (http://www.dhammathai.org/bd/dictionary.php)
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 23.
  • 26. homework – housework ‘homework’ In British English, homework is work that pupils are given to do at home. You say that pupils do homework. You do not say that they ‘make’ homework. He never did any homework. ‘housework’ Housework is work such as cleaning or washing that is done in a house. She relied on him to do most of the housework. WARNING Both homework and housework are uncount nouns. You do not talk about ‘a homework’ or ‘houseworks’.
  • 27. การประเมินค่า: 1. ความน่าเชื่อถือ * ความมีชื่อเสียงของสานักพิมพ์ เช่น Merriam-Webster Oxford University Press … * คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญของผู้รวบรวม (ภาษา สาขาวิชา) * แหล่งที่มาของข้อมูล (ให้บัญชีรายชื่อหนังสือ / บุคคล) 2. วัตถุประสงค์ & ขอบเขตเนื้อหา * วัตถุประสงค์ จัดทาเป็นพจนานุกรมประเภทใด  เพื่อดูขอบเขตว่าครอบคลุมหรือไม่ อย่างไร เช่น เพื่อรวบรวมคาย่อและให้คาเต็ม  พจนานุกรมคาย่อ * กลุ่มผู้ใช้ * ความทันสมัย (ศัพท์ใหม่ๆ) ตรวจสอบโดย กาหนดคาศัพท์ใหม่ ๆ แล้วลองค้นดู
  • 28. การประเมินค่า: (ต่อ) 3. การให้รายละเอียดเกี่ยวกับคา * ความสมบูรณ์ (แตกต่างไปตามประเภทพจนานุกรม) เช่น พจนานุกรมเฉพาะวิชา  การให้ความหมายของคาศัพท์ พจนานุกรมภาษาฉบับสมบูรณ์  ประเภทคาศัพท์ที่รวบรวม + รายละเอียดคา * ตรวจสอบที่ การสะกดคา (แบบใด) ชนิดคา การแบ่งพยางค์ การออกเสียงอ่าน (เครื่องหมายออกเสียงชัดเจน เสียงพูดชัดเจน) ประวัติที่มาคา (ภาษาใด อยู่ที่ใด การนาเสนอ - - เก่า  ใหม่, คานิยมใช้มาก่อน) ความหมาย (ชัดเจน ถูกต้อง สมบูรณ์ +การจัดเรียง -- L by L, W by W) มาตรฐานคา & การใช้ (ระบุว่าเป็น คาเลิกใช้ คาสแลง/ คาตลาด) การให้ตัวอย่าง (ตรงกับความหมาย คัดลอกมา - - บอกแหล่งที่มา) คาเหมือน/คาตรงข้าม (มี หรือไม่ อยู่ที่ใด) ฯลฯ
  • 29. การประเมินค่า: (ต่อ) 4. รูปแบบ (Format) * หนังสืออ้างอิง มีการอธิบายวิธีการใช้อยู่ต้นเล่ม (เครื่องหมาย สัญลักษณ์ อักษรย่อ) เครื่องมือช่วยค้น (ดรรชนีริมหน้ากระดาษ คานาทาง) ตัวพิมพ์ (หลายขนาด คมชัด) กระดาษ (หนา) * ฐานข้อมูล วิธีการสืบค้น (Search, Browse) เทคนิคการสืบค้น มีคลังคา ฯลฯ 5. เปรียบเทียบกับพจนานุกรมชื่อเรื่องอื่นที่มีเนื้อหาคล้ายกัน ตรวจสอบโดยกาหนดคาค้น แล้วลองค้นดู -------> ความหมาย เข้าใจง่าย ตัวอย่างการใช้คา ชัดเจน ตรง ย้า.
  • 30. พจนานุกรมที่ควรรู้จัก: ประเด็นที่ต้องรู้ 1) พจนานุกรมชื่อเรื่องนั้น เป็นพจนานุกรมประเภทใด 2) พจนานุกรมชื่อเรื่องนั้นให้ขอมูลอะไรบ้าง ้ (รวบรวมคาศัพท์ประเภทใด ให้รายละเอียดของคาศัพท์อะไรบ้าง)
  • 31. การใช้พจนานุกรมตอบคาถาม: (ค้นจากWebOPAC) 1. พิจารณาคาถามว่าควรใช้พจนานุกรมประเภทใด ----> ชื่อเรื่องใดตอบ เช่น อยากทราบความหมายของ “บรรณ”  พจนานุกรมภาษา  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2. กาหนดหัวเรื่อง หรือ คาสาคัญ เพื่อค้นหาพจนานุกรมชื่อเรื่องที่ต้องการ 2.1. พจนานุกรมภาษา & คาเฉพาะด้าน (ดูสไลด์ถัดไป) 2.2. พจนานุกรมเฉพาะวิชา (ดูสไลด์ถัดไป) ต้องการพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้กาหนดหัวเรื่องเป็น ภาษาไทย - - พจนานุกรม 3. พบชื่อเรื่องที่ต้องการให้จดเลขเรียกหนังสือ  หาพจนานุกรมที่ชั้นหนังสือ 4. ค้นหาคาตอบให้ผู้ใช้.
  • 32. ตัวอย่างหัวเรื่องพจนานุกรมภาษา และพจนานุกรมเฉพาะด้าน 1 ภาษาไทย - พจนานุกรม 13 English language - Dictionaries 2 ภาษาไทย - พจนานุกรม - อังกฤษ 14 French language - Dictionaries - English 3 ภาษาญี่ปุ่น - พจนานุกรม - ไทย 15 English language - Pronunciation - Dictionaries 4 พจนานุกรมหลายภาษา 5 ภาษาอังกฤษ - คาเหมือน และคาตรงข้าม - พจนานุกรม 16 English language - Slang - Dictionaries 6 ภาษาไทย - นิรุกติศาสตร์ (Etymology) - พจนานุกรม 17 English language - Idioms - Dictionaries 7 ภาษาไทย - ภาษาตลาด – พจนานุกรม 18 English language - Synonyms and Antonyms 8 ภาษาไทย - สานวนโวหาร - พจนานุกรม 19 English language - Usages – Dictionaries 9 ภาษาถิ่น - พจนานุกรม 20 American English Language - Dictionaries 10 ภาษาโคราช - พจนานุกรม 11 สุภาษิต และคาพังเพย - พจนานุกรม 12 ภาษาไทย - ศัพท์บัญญัติ
  • 33. ตัวอย่างหัวเรื่องพจนานุกรมเฉพาะวิชา ปรัชญา - พจนานุกรม Political science - Dictionaries เศรษฐศาสตร์การเมือง - พจนานุกรม Sociology - Dictionaries กฎหมาย - ไทย - พจนานุกรม Library science - Dictionaries เศรษฐศาสตร์ - ศัพท์บัญญัติ Psychology - Dictionaries เครื่องดื่ม - พจนานุกรม ฯลฯ
  • 34. สรุปขั้นตอนการค้นหาพจนานุกรมในห้องสมุดเพื่อตอบคาถาม ‚ต้องการความหมาย ของคาว่า กระตุ้งกระติ้ง‛ 1. พิจารณาจากคาถามว่าผู้ใช้ต้องการความหมายของคาว่า ‚กระตุ้งกระติ้ง‛ ต้องใช้ พจนานุกรมภาษาเดียวที่ชื่อว่า พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ช่วยในการตอบ เพราะคำศัพท์เป็นภำษำไทย และต้องกำรควำมหมำยที่เป็นภำษำไทย 2. กาหนดหัวเรื่องเพื่อค้นหา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (ค้นจาก WebOPAC) เนื่องจากเป็นพจนำนุกรมภำษำเดียว จึงกาหนดหัวเรื่องเป็น ภาษาไทย- -พจนานุกรม 3. เมื่อพบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้จดเลขเรียกหนังสือไปหาหนังสือที่ ห้องอ้างอิง 4. ค้นหาเรื่องที่ต้องการโดยใช้ “คานาทาง” ช่วยค้นหาคาว่า “กระตุ้งกระติ้ง” ก็จะพบ ความหมายที่ต้องการในที่สุด.