SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
ที่มาของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512)
จากการเกิดเครือข่าย ARPANET (Advanced
Research Projects Agency Network) ซึ่ง
เป็นเครือข่ายสานักงานโครงการวิจัยขั้นสูงของกระทรวงกลาโหม
ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการสร้าง
เครือข่าย เพื่อให้คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเชื่อมต่อและมีปฏิสัมพันธ์
กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเป็นเครือข่ายเริ่มแรก ซึ่ง
ต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน
หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
1.สมาคมอินเทอร์เน็ตหรือไอซ็อก (ISOC : Internet
Society) เป็นองค์กรระหว่างประเทศไม่มุ่งเน้นผลกาไรและมีนโยบาย
สนับสนุนการใช้อินเทอร์เน็ตให้แพร่หลาย
2.ไอเอบี (IAB : Internet Architecture
Board) มีหน้าที่ผลักดันและดูแลพัฒนาการด้านเทคนิคของ
อินเทอร์เน็ตให้กับไอซ็อก
3.ICANN(Internet Cooperation for
Assigned Names and Number) อ่านว่า ไอแคน เป็น
องค์กรที่มีหน้าที่บริหารทรัพยากรโดเมนและจัดสรรค่าไอพี
ผู้ดูแลการจัดสรรแอดเดรสและบริหารโดเมนในที่ต่างๆ
-ARIN ทาหน้าที่ให้บริการสาหรับในทวีปอเมริกาและ
แคนาดา
-RIPE ทาหน้าที่ให้บริการสาหรับในทวีปยุโรป
-APNIC ทาหน้าที่ดูแลแถบเอเชีย-แปซิฟิก รวมถึงใน
ประเทศไทยด้วย
-AfriNIC ทาหน้าที่ให้บริการสาหรับในทวีปแอฟริกา
-LACNIC ทาหน้าที่ให้บริการสาหรับกลุ่มลาตินเมริกา
และแถบทะเลแคริบเบียน
IP Address
IP Address คือหมายเลขที่ใช้ในระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต
คล้ายกับหมายเลขโทรศัพท์ แต่มีเลขจานวน 32 บิต โดยแบ่งเป็น 4 ชุด แต่ละชุดมีจานวนไม่
เกิน 8 บิต
IP Address ในปัจจุบันมี 2 ประเภท ได้แก่
1.IP Version 4 เป็นเลข 32 บิต ระบุเลขไอพีได้ดังนี้ 0.0.0.0 ถึง
255.255.255.255 บางตัวเป็นไอพีสงวนไว้สาหรับหน้าที่เฉพาะ
- Private IP มีไว้สาหรับใช้งานภายในองค์กรเท่านั้น
- Public IP มีไว้สาหรับให้แต่ละองค์กรหรือบุคคลสามารถเชื่อมต่อเข้าหากันได้
2. IP Version 6 ถูกสร้างขึ้นมาด้วยจุดประสงค์หลักในการแก้ปัญหาการขาด
แคลนจานวนหมายเลขไอพีใน IPv4 ในIPv6 นั้นจะใช้เลข 128 บิต
โดเมนเนม (Domain Name)
โดเมนเนมหมายถึงชื่อที่ใช้ระบุลงในคอมพิวเตอร์เพื่อไปค้นหาในระบบ Domain Name
Systerm เพื่อระบุถึงไอพีแอดเดรสของชื่อนั้นๆ สาหรับการจดทะเบียนชื่อโดเมน ในที่นี้ขอจาแนก
เป็น 2 ประเภทคือ
1.การจดทะเบียนโดเมนต่างประเทศ
-.com ใช้ทาเว็บไซต์ของบริษัท ห้างร้านรวมทั้งเว็บส่วนตัว
-.net ใช้สาหรับทาเว็บไซต์เกี่ยวกับระบบเน็ตเวิร์ดของคอมพิวเตอร์
-.org ใช้ทาเว็บไซต์ของส่วนราชการ
2.การจดทะเบียนโดเมนภายในประเทศ
-.co.th ใช้ทาเว็บไซต์ของบริษัท
-.or.th ใช้ทาเว็บไซต์ส่วนราชการ
-.ac.th ใช้ทาเว็บไซต์ของสถานศึกษาต่างๆ
-.go.th ใช้ทาเว็บไซต์ของส่วนราชการของประเทศไทย
-.in.th ใช้ทาเว็บไซต์ของบุคคลธรรมดาทั่วไป
หลักการตั้งชื่อโดเมน
หลักการตั้งชื่อโดเมน
1. ความยาวไม่เกิน 63 ตัว
2.สามารถใช้อักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข หรือเครื่องหมายขีดได้ (-
)ได้
3.ตัวอักษรภาษาอังกฤษใช้ตัวเล็กและตัวใหญ่ได้
4.ห้ามใช้เครื่องหมายขีด (-) นาหน้าชื่อ domain
5.ห้ามวันวรรคในชื่อโดเมน
ระบบค้นหาข้อมูล (Search engine)
คือโปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูล
อินเทอร์เน็ตครอบคุลมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง
ซอฟแวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่นๆ
เทคโนโลยีของระบบค้นหาข้อมูลประกอบด้วย 3 ส่วนดังนี้
1.Keyword Index การค้นหาข้อมูลจากข้อความของ
เว็บเพจนั้นมาอย่างน้อยๆ ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บ
เพจนั้น การค้นหาประเภทนี้มักให้ความสาคัญกับการเรียงลาดับข้อมูล
ก่อน-หลัง และความถี่ในการนาเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาโดยวิธีจะมี
ความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูล
ค่อนข้างน้อย
2.Subject Directories การจาแนกหมู่ข้อมูล
ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียดของแต่ละเว็บ
เพจว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งนี้จะใช้แรงงานคนในการ
พิจารณาเว็บเพจ
3.Metasearch Engines จุดเด่นของการค้นหา
แบบนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยังSearch engine ประเภทอื่นๆ
และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่มีจุดด้อยคือไม่ให้ความสาคัญกับ
ขนาดของตัวอักษรและมักจะไม่รองรับประเภท Natural
Language(ภาษาพูด)
ชนิดของเว็บไซต์ค้นหาทางอินเทอร์เน็ต
1. Google
2. Yahoo
3. MSN
4. AOL
5. Ask
6. Baidu
7. Cuil
8. Yandex
คาอธิบายการค้นหาบางส่วนที่เป็นประโยชน์ต่อการค้นหาข้อมูล
1. การค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์เป้าหมาย
วิธีค้นหาเฉพาะเจาะจงเว็บไซต์เป้าหมายโดยการกาหนด site: ชื่อ URL
เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหาเว็บเกี่ยวกับการสอบ admission ของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้พิมพ์ admission site:www.tu.ac.th
2. การค้นหา Link ต่างๆในเว็บไซต์เป้าหมาย
เมื่อเราต้องการค้นหาว่าเว็บไซต์ที่เราสนใจนั้นมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ
เว็บอื่นๆ หรือไม่ ก็สามารถทาได้โดยการค้นหาดังนี้ ให้พิมพ์ link: ชื่อ URL เช่น
link:www.tu.ac.th
3.การค้นหาชนิดของนามสกุลไฟล์
เราใช้คาค้นหาได้ดังนี้ filetype:ชื่อ นามสกุลไฟล์ เช่น หากต้องการ
ค้นหา filetype ชนิดของ Micosoft Powerpoint 2007 ให้พิมพ์
filetype:pptx
4.การค้นหาอดีตที่เคยปรากฏของเว็บไซต์หรือข้อมูลบนเว็บไซต์เป้าหมาย
ใน Google สามารถเก็บ Cached ของเว็บที่จะเข้าชมไว้ได้ ประโยชน์ของ
google cache คือช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บไซต์ที่อาจโดนลบไปแล้ว โดย
ข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลก่อนถูกลบ
5.การค้นหา E-mail ของหน่วยงานหรือเว็บไซต์เป้าหมาย การค้นหา
ประเภทนี้จะทาให้เราได้รายชื่อของ E-mail หน่วยงานนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นชื่อพนัง
งานคนหนึ่ง หรือชื่อกลุ่ม E-mail ของหน่วยงานหรือชื่อผู้ติดต่อเว็บไซต์นั้นๆ โดย
ใช้การค้นหาว่า @ ตามด้วยชื่อเว็บไซต์หน่วยงาน ยกตัวอย่างเช่น
@mict.go.th
6. การค้นหาอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ การใช้เครื่องมือคาพูดได้ระหว่างคาที่
เราต้องการค้นหาเฉพาะก็จะทาให้การค้นหานั้นเจาะจงมากขึ้น เช่น ค้นหาคาว่า
“Social Media” ก็จะค้นหาเฉพาะคาที่เขียนแบบนี้โดยเฉพาะ
เทคนิคการค้นหาข้อมูลจาก Google ในเชิงลึก
1.ค้นหาดูเฉพาะ Title ของเว็บไซต์
เทคนิคการค้นหาดูเฉพาะ Title จะใช้คาว่า intitle:
ตามด้วยชื่อข้อความที่ต้องการดู title วิธีนี้จะนิยมใช้กับการค้นหา
ข้อมูลเชิงลึกโดยเรียกว่า google hack
2. การค้นหา Password นั้นจะใช้คาว่า
filetype:lopinurl:“password.log” จะพบ
password.log ที่เกิดขึ้นใน wed server
การค้นหารายชื่อบุคคล
1. การค้นหาชื่อบุคคล สามารถทาได้โดยค้นหาจาก
- ใส่ชื่อหรือนามสกุล โดยใส่เครื่องหมาย “ ” คลุมไว้ แล้ว
สืบค้นใน google
- ค้นหาชื่อและประวัติการทางานจากเว็บไซต์สมัครงาน
หรือเว็บ www.linkedin.com
-ค้นหารายชื่อในเว็บไซต์สมุดหน้าเหลือง
www.yellowpages.co.th
2.การค้นหาที่อยู่ประกอบด้วย
- ที่อยู่ของบุคคลหากทราบเบอร์โทรศัพท์บ้านสามารถค้นหาได้ 2 วิธีคือ จาก
เว็บไซต์สมุดหน้าเหลืองและเว็บไซต์ Phonebook ของ TOT
phonebook.co.th
- ที่อยู่ของ IP Address ซึ่งส่วนนี้ต้องเป็น Public IP Address
สาหรับตรวจสอบ IP ของตนเองสามารถตรวจสอบได้ที่
www.whatismyipaddress.com
3.การค้นหาประวัติข้อมูล การค้นหาประวัติข้อมูลย้อนหลังสามารถทาได้ 2 วิธี
ได้แก่
- ค้นหาจาก google caching
- การค้นหาประวัติข้อมูลโดยการใช้ way back หรืออินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์

More Related Content

What's hot

วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตsombut
 
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 120110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1nuttakorn nakkerd
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตjamisuly
 
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ตBank Nopharat
 
Lesson1 3 database
Lesson1 3 databaseLesson1 3 database
Lesson1 3 databaseSamorn Tara
 
ใบงานที่4 53-3
ใบงานที่4 53-3ใบงานที่4 53-3
ใบงานที่4 53-3rapekung
 
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตmildthebest
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลKriangx Ch
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21Phapawee Suksuwan
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศBeauso English
 
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ตBank Nopharat
 

What's hot (17)

วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ตความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
ความสำคัญของอินเตอร์เน็ต
 
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 120110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1
20110102 ทำรายงานอย่างมีคุณภาพด้วย zotero ตอนที่ 1
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
 
e-commerce unit1 by Ramase
e-commerce unit1 by Ramasee-commerce unit1 by Ramase
e-commerce unit1 by Ramase
 
Lesson1 3 database
Lesson1 3 databaseLesson1 3 database
Lesson1 3 database
 
ใบงานที่4 53-3
ใบงานที่4 53-3ใบงานที่4 53-3
ใบงานที่4 53-3
 
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
Chissanupong network
Chissanupong networkChissanupong network
Chissanupong network
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
 
Introduction To e-Commerce
Introduction To e-CommerceIntroduction To e-Commerce
Introduction To e-Commerce
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21ปภาวี สุขสุวรรณ 21
ปภาวี สุขสุวรรณ 21
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเตอร์เน็ต
 

Similar to การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตwandee8167
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
การค้นหาข..
การค้นหาข..การค้นหาข..
การค้นหาข..teerapongpongsorn
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)Krusine soyo
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บtanongsak
 

Similar to การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต (20)

การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การค้นหาข..
การค้นหาข..การค้นหาข..
การค้นหาข..
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Introduction e-Commerce
Introduction e-CommerceIntroduction e-Commerce
Introduction e-Commerce
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
้html
้html้html
้html
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
Unit1new
 

More from teerapongpongsorn

จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และteerapongpongsorn
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และteerapongpongsorn
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และteerapongpongsorn
 
ธีรพงศ์ พงษ์ษร
ธีรพงศ์ พงษ์ษรธีรพงศ์ พงษ์ษร
ธีรพงศ์ พงษ์ษรteerapongpongsorn
 
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตteerapongpongsorn
 

More from teerapongpongsorn (9)

จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
จริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์และ
 
ธีรพงศ์ พงษ์ษร
ธีรพงศ์ พงษ์ษรธีรพงศ์ พงษ์ษร
ธีรพงศ์ พงษ์ษร
 
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 
Phishing
PhishingPhishing
Phishing
 
Phishing
PhishingPhishing
Phishing
 
ชีวิต
ชีวิตชีวิต
ชีวิต
 
ชีวิต
ชีวิตชีวิต
ชีวิต
 

การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต

  • 2. ที่มาของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512) จากการเกิดเครือข่าย ARPANET (Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่ง เป็นเครือข่ายสานักงานโครงการวิจัยขั้นสูงของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการสร้าง เครือข่าย เพื่อให้คอมพิวเตอร์นั้นสามารถเชื่อมต่อและมีปฏิสัมพันธ์ กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเป็นเครือข่ายเริ่มแรก ซึ่ง ต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็นเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน
  • 3. หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต 1.สมาคมอินเทอร์เน็ตหรือไอซ็อก (ISOC : Internet Society) เป็นองค์กรระหว่างประเทศไม่มุ่งเน้นผลกาไรและมีนโยบาย สนับสนุนการใช้อินเทอร์เน็ตให้แพร่หลาย 2.ไอเอบี (IAB : Internet Architecture Board) มีหน้าที่ผลักดันและดูแลพัฒนาการด้านเทคนิคของ อินเทอร์เน็ตให้กับไอซ็อก 3.ICANN(Internet Cooperation for Assigned Names and Number) อ่านว่า ไอแคน เป็น องค์กรที่มีหน้าที่บริหารทรัพยากรโดเมนและจัดสรรค่าไอพี
  • 4. ผู้ดูแลการจัดสรรแอดเดรสและบริหารโดเมนในที่ต่างๆ -ARIN ทาหน้าที่ให้บริการสาหรับในทวีปอเมริกาและ แคนาดา -RIPE ทาหน้าที่ให้บริการสาหรับในทวีปยุโรป -APNIC ทาหน้าที่ดูแลแถบเอเชีย-แปซิฟิก รวมถึงใน ประเทศไทยด้วย -AfriNIC ทาหน้าที่ให้บริการสาหรับในทวีปแอฟริกา -LACNIC ทาหน้าที่ให้บริการสาหรับกลุ่มลาตินเมริกา และแถบทะเลแคริบเบียน
  • 5. IP Address IP Address คือหมายเลขที่ใช้ในระบบเครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต คล้ายกับหมายเลขโทรศัพท์ แต่มีเลขจานวน 32 บิต โดยแบ่งเป็น 4 ชุด แต่ละชุดมีจานวนไม่ เกิน 8 บิต IP Address ในปัจจุบันมี 2 ประเภท ได้แก่ 1.IP Version 4 เป็นเลข 32 บิต ระบุเลขไอพีได้ดังนี้ 0.0.0.0 ถึง 255.255.255.255 บางตัวเป็นไอพีสงวนไว้สาหรับหน้าที่เฉพาะ - Private IP มีไว้สาหรับใช้งานภายในองค์กรเท่านั้น - Public IP มีไว้สาหรับให้แต่ละองค์กรหรือบุคคลสามารถเชื่อมต่อเข้าหากันได้ 2. IP Version 6 ถูกสร้างขึ้นมาด้วยจุดประสงค์หลักในการแก้ปัญหาการขาด แคลนจานวนหมายเลขไอพีใน IPv4 ในIPv6 นั้นจะใช้เลข 128 บิต
  • 6. โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนมหมายถึงชื่อที่ใช้ระบุลงในคอมพิวเตอร์เพื่อไปค้นหาในระบบ Domain Name Systerm เพื่อระบุถึงไอพีแอดเดรสของชื่อนั้นๆ สาหรับการจดทะเบียนชื่อโดเมน ในที่นี้ขอจาแนก เป็น 2 ประเภทคือ 1.การจดทะเบียนโดเมนต่างประเทศ -.com ใช้ทาเว็บไซต์ของบริษัท ห้างร้านรวมทั้งเว็บส่วนตัว -.net ใช้สาหรับทาเว็บไซต์เกี่ยวกับระบบเน็ตเวิร์ดของคอมพิวเตอร์ -.org ใช้ทาเว็บไซต์ของส่วนราชการ 2.การจดทะเบียนโดเมนภายในประเทศ -.co.th ใช้ทาเว็บไซต์ของบริษัท -.or.th ใช้ทาเว็บไซต์ส่วนราชการ -.ac.th ใช้ทาเว็บไซต์ของสถานศึกษาต่างๆ -.go.th ใช้ทาเว็บไซต์ของส่วนราชการของประเทศไทย -.in.th ใช้ทาเว็บไซต์ของบุคคลธรรมดาทั่วไป
  • 7. หลักการตั้งชื่อโดเมน หลักการตั้งชื่อโดเมน 1. ความยาวไม่เกิน 63 ตัว 2.สามารถใช้อักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข หรือเครื่องหมายขีดได้ (- )ได้ 3.ตัวอักษรภาษาอังกฤษใช้ตัวเล็กและตัวใหญ่ได้ 4.ห้ามใช้เครื่องหมายขีด (-) นาหน้าชื่อ domain 5.ห้ามวันวรรคในชื่อโดเมน
  • 8. ระบบค้นหาข้อมูล (Search engine) คือโปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูล อินเทอร์เน็ตครอบคุลมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟแวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่นๆ เทคโนโลยีของระบบค้นหาข้อมูลประกอบด้วย 3 ส่วนดังนี้ 1.Keyword Index การค้นหาข้อมูลจากข้อความของ เว็บเพจนั้นมาอย่างน้อยๆ ประมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บ เพจนั้น การค้นหาประเภทนี้มักให้ความสาคัญกับการเรียงลาดับข้อมูล ก่อน-หลัง และความถี่ในการนาเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาโดยวิธีจะมี ความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูล ค่อนข้างน้อย
  • 9. 2.Subject Directories การจาแนกหมู่ข้อมูล ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียดของแต่ละเว็บ เพจว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งนี้จะใช้แรงงานคนในการ พิจารณาเว็บเพจ 3.Metasearch Engines จุดเด่นของการค้นหา แบบนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยังSearch engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่มีจุดด้อยคือไม่ให้ความสาคัญกับ ขนาดของตัวอักษรและมักจะไม่รองรับประเภท Natural Language(ภาษาพูด)
  • 11. คาอธิบายการค้นหาบางส่วนที่เป็นประโยชน์ต่อการค้นหาข้อมูล 1. การค้นหาข้อมูลในเว็บไซต์เป้าหมาย วิธีค้นหาเฉพาะเจาะจงเว็บไซต์เป้าหมายโดยการกาหนด site: ชื่อ URL เช่น ถ้าผู้ใช้ต้องการหาเว็บเกี่ยวกับการสอบ admission ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้พิมพ์ admission site:www.tu.ac.th 2. การค้นหา Link ต่างๆในเว็บไซต์เป้าหมาย เมื่อเราต้องการค้นหาว่าเว็บไซต์ที่เราสนใจนั้นมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ เว็บอื่นๆ หรือไม่ ก็สามารถทาได้โดยการค้นหาดังนี้ ให้พิมพ์ link: ชื่อ URL เช่น link:www.tu.ac.th 3.การค้นหาชนิดของนามสกุลไฟล์ เราใช้คาค้นหาได้ดังนี้ filetype:ชื่อ นามสกุลไฟล์ เช่น หากต้องการ ค้นหา filetype ชนิดของ Micosoft Powerpoint 2007 ให้พิมพ์ filetype:pptx
  • 12. 4.การค้นหาอดีตที่เคยปรากฏของเว็บไซต์หรือข้อมูลบนเว็บไซต์เป้าหมาย ใน Google สามารถเก็บ Cached ของเว็บที่จะเข้าชมไว้ได้ ประโยชน์ของ google cache คือช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บไซต์ที่อาจโดนลบไปแล้ว โดย ข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลก่อนถูกลบ 5.การค้นหา E-mail ของหน่วยงานหรือเว็บไซต์เป้าหมาย การค้นหา ประเภทนี้จะทาให้เราได้รายชื่อของ E-mail หน่วยงานนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นชื่อพนัง งานคนหนึ่ง หรือชื่อกลุ่ม E-mail ของหน่วยงานหรือชื่อผู้ติดต่อเว็บไซต์นั้นๆ โดย ใช้การค้นหาว่า @ ตามด้วยชื่อเว็บไซต์หน่วยงาน ยกตัวอย่างเช่น @mict.go.th 6. การค้นหาอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ การใช้เครื่องมือคาพูดได้ระหว่างคาที่ เราต้องการค้นหาเฉพาะก็จะทาให้การค้นหานั้นเจาะจงมากขึ้น เช่น ค้นหาคาว่า “Social Media” ก็จะค้นหาเฉพาะคาที่เขียนแบบนี้โดยเฉพาะ
  • 13. เทคนิคการค้นหาข้อมูลจาก Google ในเชิงลึก 1.ค้นหาดูเฉพาะ Title ของเว็บไซต์ เทคนิคการค้นหาดูเฉพาะ Title จะใช้คาว่า intitle: ตามด้วยชื่อข้อความที่ต้องการดู title วิธีนี้จะนิยมใช้กับการค้นหา ข้อมูลเชิงลึกโดยเรียกว่า google hack 2. การค้นหา Password นั้นจะใช้คาว่า filetype:lopinurl:“password.log” จะพบ password.log ที่เกิดขึ้นใน wed server
  • 14. การค้นหารายชื่อบุคคล 1. การค้นหาชื่อบุคคล สามารถทาได้โดยค้นหาจาก - ใส่ชื่อหรือนามสกุล โดยใส่เครื่องหมาย “ ” คลุมไว้ แล้ว สืบค้นใน google - ค้นหาชื่อและประวัติการทางานจากเว็บไซต์สมัครงาน หรือเว็บ www.linkedin.com -ค้นหารายชื่อในเว็บไซต์สมุดหน้าเหลือง www.yellowpages.co.th
  • 15. 2.การค้นหาที่อยู่ประกอบด้วย - ที่อยู่ของบุคคลหากทราบเบอร์โทรศัพท์บ้านสามารถค้นหาได้ 2 วิธีคือ จาก เว็บไซต์สมุดหน้าเหลืองและเว็บไซต์ Phonebook ของ TOT phonebook.co.th - ที่อยู่ของ IP Address ซึ่งส่วนนี้ต้องเป็น Public IP Address สาหรับตรวจสอบ IP ของตนเองสามารถตรวจสอบได้ที่ www.whatismyipaddress.com 3.การค้นหาประวัติข้อมูล การค้นหาประวัติข้อมูลย้อนหลังสามารถทาได้ 2 วิธี ได้แก่ - ค้นหาจาก google caching - การค้นหาประวัติข้อมูลโดยการใช้ way back หรืออินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์