SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
สงครามเย็น (Cold War)
ค.ศ. 1945 – 1991 หรือ พ.ศ. 2488 – 2534
เกี่ยวกับสงครามเย็น
• เป็นความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองและระบบการเมืองที่ต่างกัน
ของ 2 อภิมหาอานาจ คือ อุดมการณ์ทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของ
สหรัฐอเมริกากับอุดมการณ์ทางการเมืองแบบคอมมิวนิสต์ของสหภาพ
โซเวียต ซึ่งเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
• สงครามเย็นเป็นสงครามอุดมการณ์เพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่ในโลก
เป็นการต่อสู้ทางจิตวิทยา โดยไม่ได้ใช้กาลังทหารและอาวุธโดยตรง แต่
ใช้วิธีการโฆษณาชวนเชื่อการแทรกซึมบ่อนทาลาย การประณาม การ
แข่งขันกันสร้างกาลังอาวุธ รวมถึงการแข่งขันกันสารวจอวกาศ และ
สะสมอาวุธนิวเคลียร์ เพื่อแสดงแสนยานุภาพของฝ่ ายตน
สาเหตุของสงครามเย็น
1. เกิดจากความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกันของ
อภิมหาอานาจทั้งสอง คือ สหรัฐอเมริกา ผู้นาโลกฝ่ายเสรี การปกครองด้วย
ระบอบประชาธิปไตย และสหภาพโซเวียตผู้นาโลกเผด็จการ ปกครองแบบ
คอมมิวนิสต์ ที่ยึดถือเป็นแนวทางในการดาเนินนโยบายต่างประเทศและ
ความขัดแย้งทางด้านผลประโยชน์และเขตอิทธิพล เพื่อครองความเป็นผู้นา
ของโลก โดยทั้งสองประเทศพยายามแสวงหาผลผลประโยชน์และเขต
อิทธิพลในประเทศต่าง ๆ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการที่ผู้ยิ่งใหญ่หรือผู้นาทาง
การเมืองของโลกในสมัยก่อน คือ อังกฤษ เยอรมนี ได้หมดอานาจลงภายหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2 แล้วนั่นเอง
สาเหตุของสงครามเย็น (ต่อ)
2. การแข่งขันแสนยานุภาพ (การสะสมอาวุธนิวเคลียร์)
ขีปนาวุธนิวเคลียร์ของโซเวียตเรือด้าน้้าของอเมริกาที่สามารถขน
ขีปนาวุธติดหัวรบนิวเคลียเอาไว้ได้ถึง 24 ลูก
ชนวนของสงครามเย็น
• สงครามเกิดจากโซเวียต (รัสเซีย) ไม่ยอมถอนกาลังทหารออกจาก
เยอรมันตามสัญญา
ฝ่ายของสงคราม
• แบ่งได้ 3 ฝ่าย ได้แก่
1. ฝ่ายโลกเสรี ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อังกฤษ เกาหลีใต้ เยอรมัน
ตะวันตก เวียดนามใต้ ไทย เป็นต้น
2. ฝ่ายโลกคอมมิวนิสต์ ได้แก่ สหภาพโซเวียต เกาหลีเหนือ เยอรมัน
ตะวันออก เวียดนามเหนือ ออสเตรีย เป็นต้น
3. ฝ่ายไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Nam) ได้แก่ อินโดนีเซีย ยูโกสลาเวีย
สวิตเซอร์แลนด์
ประเทศมหาอ้านาจยุคสงครามเย็น
1. สหภาพโซเวียต
• สหภาพโซเวียต ได้ดาเนินนโยบายขยายลัทธิคอมมิวนิสต์
เข้าไปในภาคตะวันตกประเทศของตน หลังจากผนวก
เอสโตเนีย ลัตเวีย อละลิทัวเนีย เพื่อใช้ประเทสเหล่านี้เป็น
รัฐกันชนกับกลุ่มค่ายโลกเสรียุโรปตะวันตก
• โดยสหภาพโซเวียตได้ดาเนินนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์
แบบใหม่ มีการพัฒนาคอมมิวนิสต์ให้เจริญก้าวหน้าทาให้
ประเทศอื่นๆหันหน้าเข้าลัทธิอย่างสันติวิธี
ประเทศมหาอ้านาจยุคสงครามเย็น (ต่อ)
2. สหรัฐอเมริกา
• หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกาดาเนิน
นโยบายเพื่อสกัดกั้นการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์
ที่โซเวียตกาลังดาเนินการอยู่
• โดยได้มีการประกาศลัทธิทรูแมน และแผนการ
มาร์แชล เพื่อช่วยเหลือยุโรปตะวันตกและ
ตะวันออก ที่ได้รับความเสียหายจากสงครามโลก
ครั้งที่ 2 และภัยคุกคามจากโลกคอมมิวนิสต์ โดย
ลัทธิทรูแมน ถือได้ว่าเป็นการเริ่มต้นของสงคราม
เย็นระหว่างโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา
ความขัดแย้งระหว่างโลกเสรีกับคอมมิวนิสต์
ในยุคสงครามเย็น
1. ความขัดแย้งในเยอรมนี
• หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ การฟื้นฟูเยอรมนีซึ่งเป็นประเทศ
ผู้แพ้สงคราม ทาให้เกิดความขัดแย้งระหว่างสหรัฐกับ
โซเวียต โดยสหรัฐต้องการฟื้นฟูเยอรมนีให้กลับสู่สภาพเดิม
โดยเร็ว ขณะที่โซเวียตพยายามขัดขวางและเรียกร้อง
ค่าปฏิกรรมสงครามจากเยอรมนี
• ในที่สุดประเทศมหาอานาจได้กาหนดให้เยอรมนีแบ่ง
ออกเป็น สองประเทศ คือ เยอรมนีตะวันตกปกครองด้วย
ระบอบเสรีประชาธิปไตย ส่วนเยอรมนีตะวันออกปกครอง
ด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ โดยมีกาแพงเบอร์ลินกั้นพรมแดน
ความขัดแย้งระหว่างโลกเสรีกับคอมมิวนิสต์
ในยุคสงครามเย็น (ต่อ)
2. ความขัดแย้งในจีน
ความขัดแย้งในจีนแบ่งเป็น 2 ฝ่าย คือสนับสนุน
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่อีกฝ่ายต้องการโค่นรัฐบาล
แมนจู โดยมี ดร.ซุนยัดเซน เป็นประธานาธิบดีคนแรก
ต่อมาเจียง ไค เช็ค เป็นผู้นาจีนได้ปราบปราม
คอมมิวนิสต์ หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒จีนคอมมิวนิสต์
สามารถยึดอานาจได้สาเร็จ และประกาศตั้งสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน โซเวียดได้ประกาศรองรับ เหมา เจ๋อ ตุง
ส่วน เจียง ไค เช็ค กับทหารและประชาชนได้หนีไปอยู่
เกาะไต้หวันโดยสหรัฐประกาศสนับสนุน
เหมา เจ๋อ ตุง
ความขัดแย้งระหว่างโลกเสรีกับคอมมิวนิสต์
ในยุคสงครามเย็น (ต่อ)
3. ความขัดแย้งในเกาหลี
• หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มหาอานาจได้ประชุมให้
อเมริกา เข้าปลดอาวุธญี่ปุ่นในเกาหลีตั้งแต่เส้นขนานที่
38 ลงมาทางใต้ และให้สหภาพโซเวียตเข้าปลดอาวุธ
ญี่ปุ่นตั้งแต่เส้นขนานที่ 38 ขึ้นไป ต่อมาประเทศทั้ง 2 ได้
จัดตั้งรัฐบาลขึ้น ตามระบอบการปกครองของตน ทาให้
เกิดเกาหลีใต้และเกาหลีเหนือ
• พ.ศ. 2493 เกาหลีเหนือได้รุกรานเกาหลีใต้ นับเป็นการ
เผชิญหน้ากันระหว่างกลุ่มคอมมิวนิสต์กับโลกเสรี
ในที่สุดทั้งสองฝ่ายได้ลงนามสงบศึกในปี พ.ศ. 2496
ความขัดแย้งระหว่างโลกเสรีกับคอมมิวนิสต์
ในยุคสงครามเย็น (ต่อ)
4. ความขัดแย้งในอินโดจีน
พ.ศ. 2498 สหรัฐอเมริกาเริ่มเข้าแทรกแซง
การเมืองภายในเวียดนาม โดยสนับสนุนให้
เวียตนามใต้ปกครองใต้ระบอบประชาธิปไตย
ส่งผลให้สหภาพโซเวียตและจีนสนับสนุนให้
เวียดนามเหนือปกครองด้วยระบบคอมมิวนิสต์
ความขัดแย้งทางอุดมการ์ทางการเมืองนาไป
สู่สงครามที่ขยายตัวภายในประเทศอินโดจีน
การสิ้นสุดสงครามเย็น
• สงครามเย็นสิ้นสุดลงจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต อันเนื่องมาจากสภาวะตกต่า
ทางเศรษฐกิจ เหตุการณ์ดังกล่าวมีผลทาให้ระบบคอมมิวนิสต์หมดความสาคัญลง
• ประเทศบริวารของสหภาพโซเวียต ในยุโรปตะวันออก ต่างแยกตัวเป็นอิสระและ
ท้ายที่สุดรัฐต่างๆ ในสหภาพโซเวียต ต่างแยกตัวเป็นประเทศอิสระปกครองตนเอง มีผล
ทาให้สหภาพโซเวียต ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1991
• จากการล่มสลายของระบบคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก ส่งผลให้มีการ สลายตัวของ
“กลุ่มโซเวียต” และ“องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอ” รวมทั้งองค์การโคมีคอน ซึ่งเป็น
องค์การร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สังคมนิยม ปรากฏการณ์นี้จึงทาให้การ
เผชิญหน้าระหว่าง ประเทศมหา อานาจตะวันออก–ตะวันตกได้สลายตัวลงด้วย
การสิ้นสุดสงครามเย็น (ต่อ)
• เหตุการณ์ที่เป็นนับว่าเป็นสัญลักษณ์ของการสิ้นสุดของ “สงครามเย็น” คือ การทาลายกาแพง
เบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1989 และการรวมประเทศ เยอรมนีทั้งสองเข้าเป็นประเทศเดียวกัน ในปี ค.ศ.
1990 การที่ทั้งสองฝ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดหย่อนท่าที และเงื่อนไขของฝ่ายรัสเซีย ยอมให้
ประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นจุดสาคัญของความขัดแย้งในยุโรป กลับมารวมกัน ได้ย่อมแสดงให้เห็น
ถึงความเข้าใจและมีไมตรีต่อกันที่กลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง
•
ผลของสงครามเย็น
เมื่อเกิดการเผชิญหน้ากันของประเทศมหาอานาจทั้ง 2 ฝ่าย ทาให้
สภาวการณ์เกิดการตึงเครียดจึงนาไปสู่เหตุการณ์ ดังนี้
1. การสะสมและเพิ่มอาวุธยุทโธปกรณ์ เช่น เครื่องบินรบ ปืนต่อสู้อากาศยาน
ตลอดจนอาวุธต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพการทาลายล้างสูง
2. การเพิ่มอัตรากาลังพล เพื่อแสดงศักยภาพของกองทัพให้พร้อมรบอยู่ตลอดเวลา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านกอง กาลังของกองทัพบกทั้งในยุโรปของประเทศ
ค่ายคอมมิวนิสต์และเสรีประชาธิปไตยเองก็ตาม
ผลของสงครามเย็น (ต่อ)
3. การสะสมอาวุธนิวเคลียร์
3.1 สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตทาการทดลองและสร้างอาวุธนิวเคลียร์
หลายชนิด ได้มีการนาอาวุธนิวเคลียร์ไปติดตั้งเผชิญหน้ากันจนกลายเป็นภาวะ
ตึงเครียด เช่น วิกฤติการณ์คิวบา จากสภาพการณ์ดังกล่าวได้นาไปสู่การสะสม
อาวุธ แม้ประเทศที่ยังไม่มีนิวเคลียร์ก็เร่งสร้างและผลิตนิวเคลียร์เพื่อนาไปเพิ่ม
สมรรถภาพทางด้านการทหารและยุทธศาสตร์ให้กับประเทศของตนทาให้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเกิดภาวะดุลแห่งความกลัว (Balance of Terror)
ซึ่งทาให้ประเทศมหาอาจไม่กล้าเสี่ยงที่จะทาสงครามนิวเคลียร์กัน
ผลของสงครามเย็น (ต่อ)
3.2 การประลองอานาจจึงถูกเลี่ยงไปแสดงออกในรูปอื่น ๆ เช่น สงครามย่อยๆ หรือ
สงครามตัวแทน (Proxy War) ในภูมิภาคต่าง ๆไม่ว่าจะเป็นสงคราม
เกาหลี สงครามเวียดนามในอินโดจีน หรือแม้กระทั่วสงครามอิสราเอลและ
ชาติอาหรับ
3.3 จากภาวะดังกล่าว จึงนาไปสู่การเจรจาเพื่อประสานประโยชน์ระหว่างประเทศใน
การลดกาลังรบ (Disarmament) คือ การจากัดอาวุธและกาลังพลในการรบ เพื่อ
ป้องกันภัยจากการรุกรานของประเทศอื่นๆ ที่มีแนวทางการปกครองที่ต่างกัน และ
เป็นการตระหนักถึงภัยของอานุภาพของการทาลายล้างจากอาวุธนานาชนิด
บทบาทประเทศมหาอานาจยุคหลังสงครามเย็น
1. สหรัฐอเมริกา
สหรัฐอเมริกาที่คอยให้การสนับสนุนประเทศผู้แพ้สงครามในการพัฒนาด้าน
เศรษฐกิจ โดยเฉพาะ ญี่ปุ่นและเยอรมนี จึงทาให้สองประเทศกลายเป็นประเทศ
มหาอานาจทางเศรษฐกิจเทียบเท่ากับสหรัฐ
จนส่งผลต่อเศรษฐกิจสหรัฐเอง โดยสหรัฐเริ่มเผชิญปัญหาขาดดุลการค้า นโยบาย
การค้าของสหรัฐจึงต้องมีความเปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะที่เอื้ออารี กลายเป็น
ยึดถือหลักความเป็นธรรม ควบคู่กับการค้าเสรี และกาหนดนโยบายกีดกันทาง
การค้า เช่นเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนของจีน เป็นต้น
บทบาทประเทศมหาอานาจยุคหลังสงครามเย็น (ต่อ)
2. สาธารณรัฐประชาชนจีน
หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดจีนเข้ามามีบทบาทในระบบเศรษฐกิจการเมืองโลก
อย่างต่อเนื่อง เนื่องมาจากศักยภาพในด้านความกว้างใหญ่ของพื้นที่และ
ประชากร ความสมบูรณ์ทางทรัพยากร โดยสิ่งหนึ่งที่ชี้วัดว่าจีนเป็นมหาอานาจ
ในเวทีโลกคือ จีนเป็น สมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่ง
สหประชาชาติ เป็น 1 ใน 5 มหาอานาจซึ่งมีอานาจยับยั้งมติใดๆ นอกจากนี้ยัง
เป็น 1 ใน 5 มหาอานาจที่มีอาวุธนิวเคลียร์
บทบาทประเทศมหาอานาจยุคหลังสงครามเย็น (ต่อ)
3. ญี่ปุ่ น
ญี่ปุ่นก้าวขึ้นมาเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจโลกอย่างรวดเร็วราว พ.ศ. 2520
เป็นผลมาจากความสามารถในการผลิตสินค้าเทคโนโลยีชั้นสูง ซึ่งทาให้ญี่ปุ่น
ได้เปรียบในการส่งออกสินค้า การส่งสินค้าออกที่เพิ่มขึ้นทาให้ญี่ปุ่นเพิ่มฐานการ
ผลิตนอกประเทศเพื่อหาแหล่งผลิตที่มีต้นทุนต่ากว่า
บทบาทประเทศมหาอานาจยุคหลังสงครามเย็น (ต่อ)
4. สหภาพยุโรป
สมาชิกสหภาพยุโรปที่เรียกว่า G-4 เป็นแบบอย่างของการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่
นับได้ว่าประสบความสาเร็จเป็นอย่างมากเพราะเปรียบเหมือนประเทศเดียวกัน
ก่อให้เกิดยุโรปตลาดเดียวมีการเคลื่อนไหวของสินค้าอิสระเงินทุน การบริการ
และการกาหนดสกุลเงินยูโรเป็นเงินสกุลเดียว
สภาพเศรษฐกิจยุคโลกาภิวัตน์
1. แนวคิดเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์เป็นสภาพที่สังคมโลกที่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันติดต่อเชื่อมโยง
ถึงกันผสมกลมกลืน และมีผลกระทบต่อกันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ว่าในจุดหนึ่งจุด
ใดของโลกย่อมถือว่าเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของโลกที่เกี่ยวข้องกับทุกๆส่วนของ
โลก ไม่สามารถแยกออกโดดเดี่ยวได้
สภาพเศรษฐกิจยุคโลกาภิวัตน์
2. ปัจจัยที่สนับสนุนการเกิดกระแสโลกาภิวัติ
2.1. การขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนเสรีนิยมมี
การติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้าบริการผ่านพรมแดนกัน
อย่างเสรี
2.2 ความเจริญก้าวหน้าเทคโนโลยีการสื่อสาร
โทรคมนาคมที่ทาให้การติดต่อสื่อสารระหว่าองค์การ
บุคคลที่อยู่คนละมุมโลกอย่างสะดวกรวดเร็วเหนือการ
ควบคุมของรัฐ
สภาพเศรษฐกิจยุคโลกาภิวัตน์
3. การแข่งขันด้านเศรษฐกิจ
การค้าเสรีทาให้เกิดการแข่งขันทาเศรษฐกิจ การลงทุนที่ไร้พรมแดนที่มิใช่การ
ลงทุนด้านอุตสาหกรรมเพื่อให้เกิดผลผลิตแต่เป็นการหากาไรจากตลาดหุ้นและ
ตลาดเงินนาไปสู่การปั่นหุ้น และการ ปั่นเงิน อันนาไปสู่การผันผวนของระบบ
การเงินทั่วโลก ซึ่งสงผลต่อผู้ผลิตสินค้าและการลงทุน
สังคมกับกระแสโลกาภิวัตน์
4. ความก้าวหน้าของเครื่องมือและการสื่อสาร
ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบการสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว
มีผลให้บุคคล กลุ่มบุคคล องค์กรสามารถติดต่อกันได้
โดยตรง การเผยแพร่ข้อมูลแนวคิด วัฒนธรรม การ
โฆษณา กว้างขวางขึ้น การควบคุมจากรัฐทาได้ลาบากขึ้น
5. วัฒนธรรมสากล
จากการที่ระบบการติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทา
ให้ข้อมูลข่าวสาร ความเชื่อ ค่านิยม ภาษา สัญลักษณ์ วิถี
ชีวิต สินค้าบริการทาได้อย่างสะดวกสบายมากขึ้น ง่ายต่อ
การรับวัฒนธรรมจากสังคมอื่นมาใช้ นาไปสูการรับ
วัฒนธรรมที่แตกต่างมาปรับใช้ในวัฒนธรรมของตน
สังคมกับกระแสโลกาภิวัตน์ (ต่อ)
6. สิทธิมนุษยชน
องค์การสหประชาติได้มีมติประกาศปฏิญญาสากลว่าด้วย
สิทธิมนุษยชน โดยมีสมาชิกทั้งหลายมีพันธะที่จะต้อง
เคารพและปฏิบัติตาม หากประเทศใดมีการละเมิด ก็จะถูก
บีบบังคับให้แก่ไขปรับปรุงโดยใช้มาตรการทางเศรษฐกิจ
และสังคมเป็นเครื่องมือในการลงโทษ
7. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติได้ถูกทาลายลงอย่างลวดเร็วเพราะ
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ไม่ว่าจะเป็นมลพิษ
การทาลายชั้นบรรยากาศ พลังงานที่ไม่สามารถทดแทนได้
อย่างน้ามันก็หมดลงเรื่อยๆ ส่งผลให้นานาชาติได้มีการ
ประชุมเพื่อวางแผนสภาพแวดล้อมของสังคมโลก

More Related Content

What's hot

บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
Pannaray Kaewmarueang
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 

What's hot (20)

โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 

Similar to สงครามเย็น

บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
supasit2702
 

Similar to สงครามเย็น (14)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3โจเซฟ สตาลิน 6.3
โจเซฟ สตาลิน 6.3
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
21
2121
21
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
บทบาทสหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลก2
 
The cold war
The cold warThe cold war
The cold war
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1
 

More from Taraya Srivilas

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

สงครามเย็น