SlideShare a Scribd company logo
1 of 96
Download to read offline
ambulatory
pediatric
Surgery
Sawanpracharak hospital
Nakhonsawan
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก
• การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก
• ambulatory pediatric surgery
• pediatric day surgery
• pediatric outpatient surgery
ผ่าตัดรักษาเรียบร้อยปลอดภัย
ไม่ต้องนอนค้างคืนในโรงพยาบาล
ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย
มีผลดีด้านจิตใจของเด็กและพ่อแม่
ประกอบด้วยกุมารศัลยแพทย์ วิสัญญีแพทย์
พยาบาล และเจ้าหน้าที่
Team
ขั้นตอนการเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด
• บิดามารดาเด็กจะได้รับคาแนะนาเรื่อง
การวินิจฉัยโรค การผ่าตัดรักษา
การให้ยาชาว่าเป็นการดมยาสลบ
หรือฉีดยาชาเฉพาะที่
ณ ห้องตรวจผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด
• งดให้อาหารทุกชนิดแก่เด็กอย่างน้อย 8
ชั่วโมง นมชงอย่างน้อย 6 ชั่วโมง นมแม่
อย่างน้อย 4 ชั่วโมง น้าหวาน น้า อย่างน้อย
2 ชั่วโมงก่อนการผ่าตัด
• ให้มาก่อนเวลานัดอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
• บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง ลงลายมือชื่อ
ยินยอมผ่าตัด
ขั้นตอนการเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด
• ถ้าเด็กมีไข้ ไอ น้ามูก หอบ มาก่อนประมาณ
3 วัน บิดา มารดา หรือผู้ปกครองควรแจ้ง
ให้แพทย์ พยาบาลทราบ เพราะมีความเสี่ยง
เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังดมยาผ่าตัด
อาจต้องเลื่อนการผ่าตัดไปจนกว่าเด็กปกติ
• ถ้ามีภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดใดๆที่จะเป็น
อันตราย อาจต้องนอนพักในร.พ.
หลังผ่าตัด
• เด็กส่วนใหญ่จะตื่นหลังดมยาผ่าตัดเสร็จ จะ
นอนพักในห้องพักฟื้นสังเกตอาการประมาณ
30 นาทีถึง 2 ชั่วโมงและให้คุณพ่อหรือคุณแม่
เข้าไปดูเด็ก โดยก่อนกลับบ้านต้องให้เด็ก
รู้สึกตัวดี ทานน้าหรือนมได้ปกติ
• พยาบาลจะให้คาแนะนาการดูแลหลังการ
ผ่าตัดสามารถซักถามได้
ห้องตรวจผู้ป่วยนอก
ห้องตรวจผู้ป่วยนอก
ด้านหน้าห้องผ่าตัด
หน้าห้องผ่าตัด
• เปลี่ยนชุด
• ป้ ายชื่อสวมข้อมือ
• ถอดสร้อยคอโลหะ
เจ้าหน้าที่พาเข้าห้องผ่าตัด
มารดาอาจอยู่ด้วยกับเด็กขณะเริ่มดมยาสลบ
ถ้ามารดามีครรภ์ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทราบด้วย
นพ.วิทยา ธราธรพิสุทธิกุล
ทีมวิสัญญีแพทย์
นพ.ธานินทร์ ภิญโญพรพาณิชย์
ทีมวิสัญญีแพทย์
นพ.เผด็จ บุญมาก
ทีมวิสัญญีแพทย์
พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข
ทีมวิสัญญีแพทย์
พญ.วนิดา โล้วพฤกษ์มณี
ทีมวิสัญญีแพทย์
พญ.อันทิกา มั่นต่าย
ทีมวิสัญญีแพทย์
พญ.อันทิกา มั่นต่าย
ทีมวิสัญญีแพทย์
พญ.สุนทรีรัตน์ อินทร์น้อย
ทีมวิสัญญีแพทย์
พญ.ศรีสุดา ไล้ทองคา
ทีมวิสัญญีแพทย์
Caudal block
กุสาวดี
ทัศนันท์
ศิริพรรณ
ปฏิญญา
พนมพร
ทีมห้องผ่าตัด
เตรียม scrub
ห้องพักฟื้น
การผ่าตัดโรคทางศัลยกรรมเด็ก
แบบผู้ป่วยนอกที่พบบ่อย
Most common Ambulatory pediatric surgery
ไส้เลื่อนขาหนีบ
Indirect inguinal hernia IIH
• พบบ่อย มีการผ่าตัดรักษามากที่สุดโรคหนึ่ง
ในศัลยกรรมเด็ก พบมากในเด็กอายุน้อย
กว่า 1 ปี พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
พบข้างขวามากกว่าข้างซ้าย พบสองข้างน้อย
• อาการสาคัญคือ จะมีก้อนนูนยุบได้เป็นๆ
หายๆ (bulging reducible mass)
ที่ขาหนีบหรืออัณฑะ ก้อนจะนูนเห็นชัดเวลา
ยืน ร้องไห้ เบ่ง ไอจาม
IIH
• ตรวจคลาพบส่วนของเส้นเลือดที่ไปเลี้ยง
อัณฑะหนาตัวบริเวณขาหนีบขอบกระดูก
หัวหน่าว (silk sign positive)
•แนะนาให้ปรึกษากุมารศัลยแพทย์เพื่อนัด
หมายการผ่าตัดรักษาไส้เลื่อน
(herniotomy)
IIH
• ควรได้รับการดูแลผ่าตัดรักษาทันที เพราะ
อาจมีอาการปวดก้อนที่ขาหนีบ อัณฑะไม่ยุบ
หายไปจากภาวะแทรกซ้อนไส้เลื่อนติดค้าง
ขาหนีบ (incarcerated IIH) , มีอาการ
ปวดท้อง อาเจียน ท้องอืดจากไส้เลื่อนอุดตัน
(obstructed IIH) , มีไข้สูง ปวดท้อง
ท้องอืด ถ่ายอุจจาระมีเลือดปนจากลาไส้เน่า
ตาย(strangulated IIH)
IIH
ถุงน้าอัณฑะ Hydrocele
• อาการสาคัญคือมีก้อนที่อัณฑะโตผิดปกติ
ไม่ยุบหรือยุบเล็กน้อย คลาก้อนได้คล้าย
ถุงน้า ไม่เจ็บปวด ใช้ไฟฉายส่องที่ก้อนพบ
การเรืองแสงของก้อน
(transillumination test ผลบวก)
Hydrocele
ชนิดของถุงน้าอัณฑะแบ่งเป็น
1. ชนิดถุงน้ามีทางเชื่อมต่อกับภายในช่องท้อง
(communicating hydrocele)
2. ชนิดที่ไม่มีทางเชื่อมต่อกับภายในช่องท้อง
(non-communicating hydrocele)
3. เป็นถุงน้าที่ spermatic cord
(Hydrocele of the cord)
• เป็นภาวะที่พบบ่อยในเด็กทารกแรกเกิด
เกิดจากมีการสะสมน้า(สีเหลืองใส)ที่ผลิต
จากเยื่อบุถุงน้าที่อยู่รอบอัณฑะ ส่วนใหญ่
ยุบหายเองได้ภายในอายุ 1 ปี ในรายที่ไม่
ยุบหรือโตมากขึ้นจึงพิจารณาให้การผ่าตัด
รักษา Hydrocelectomy
Hydrocele
อัณฑะไม่ลงถุงอัณฑะ
Undescended testis
• เป็นภาวะที่คลาไม่พบอัณฑะในถุงอัณฑะ
ตั้งแต่แรกเกิด พบบ่อยในเด็กทารกคลอด
ก่อนกาหนด อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง
เกิดจากการหยุดเคลื่อนตัวของอัณฑะ
ตามปกติ มักพบร่วมกับไส้เลื่อนขาหนีบ ควร
ได้รับการผ่าตัดรักษาภายในอายุ 1-2 ปีเพื่อ
ป้ องการภาวะมีบุตรยาก มีโอกาสเสี่ยงต่อการ
เกิดมะเร็งอัณฑะ
Undescended testis
Undescended testis ( )
- ร้อยละ 85 ของ undescended
testis จะสามารถคลาพบอัณฑะได้
บริเวณ inguinal canal หรือ
internal ring ถ้าคลาไม่พบส่งตรวจ
อัลตร้าซาวด์ เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ หรือ
MRI เพื่อหาอัณฑะ
- การรักษาคือ ผ่าตัด orchidopexy
Undescended testis
หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด
phimosis
หมายถึงภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลาย
อวัยวะเพศ (foreskin , prepuce)
กลับมาทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศได้
Phimosis
- มีอาการปัสสาวะลาบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ
- หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ
- หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสาร
คัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหลออกมาร่วด้วย (balanoposthitis)
- ลาปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง(true
phimosis)
- มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน
(urinary tract infection , UTI)
- มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (retained smegma)
- หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ
(preputial adhesions)
- รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้ (paraphimosis)
หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด
Physiologic phimosis
หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด
True phimosis
True phimosis
Paraphimosis
Retained smegma
Retained smegma
ฤAncient egyptian circumcission
ข้อบ่งชี้ในการขลิบหนังหุ้มปลายได้แก่
1. หนังหุ้มปลายไม่เปิดที่มีลักษณะของพังผืดบริเวณปลายชัดเจน
( True phimosis ) จนทาให้ปัสสาวะลาบาก มีอาการปวดเมื่อ
อวัยวะเพศแข็งตัว
2. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศเป็นๆหายๆ
( recurrent balanoposthitis )
3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ เป็นๆหายๆ ที่ไม่สามารถหาสาเหตุอื่นได้
( recurrent urinary tract infection ) , ท่อไตมี
ลักษณะผิดปกติ โดยมีปัสสาวะไหลย้อนกลับสู่ไตเมื่อถ่ายปัสสาวะ
ทั้งนี้เกิดจากรอยต่อของท่อไตส่วนปลายที่ต่อลงกระเพาะปัสสาวะมี
ลักษณะของหูรูดที่ไม่แข็งแรงพอ ซึ่งโดยปกติหูรูดส่วนนี้จะแข็งแรง
ไม่มีปัสสาวะไหลย้อนกลับในขณะเบ่งปัสสาวะ หากหนังหุ้มปลายไม่
เปิดและต้องออกแรงเบ่งปัสสาวะมากก็จะยิ่งทาให้ปัสสาวะไหล
ย้อนกลับมากขึ้น
4.ในหลายกลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
กลุ่มชาวยิว ชาวมุสลิมและชาวคริสต์บางนิกาย เช่นเดียวกับเผ่าหลาย
เผ่าในแอฟริกา ผู้ที่นับถือศาสนาอื่น นิยมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะ
เพศชาย เพื่อทาให้การดูแลทาความสะอาดง่ายขึ้น ช่วยลดโรคติดต่อ
ทางเพศ เช่น โรคหูดหงอนไก่ ( condyloma accuminata) ลด
การติดเอดส์ได้ถึง 60 เปอร์เซ็นต์ องค์การ WHO และ UN Aids
ได้แนะนาให้ผู้คนในประเทศที่มีผู้ติดเอดส์มาก ขลิบปลายหนังอวัยวะ
เพศ
ข้อบ่งชี้ในการขลิบหนังหุ้มปลายได้แก่
Circumcission
Post circumcission
ลิ้นติด Tongue tie
- เป็นภาวะผิดปกติแต่กาเนิดในช่องปาก ของเนื้อเยื่อที่ยึดเกาะ
ใต้ลิ้นกับพื้นล่างของช่องปาก(lingual frenulum) สั้นและ
หนาตัว หรืออาจเกาะออกไปตามพื้นล่างของลิ้นตรงกลาง บาง
รายเกาะไปถึงปลายลิ้น ดึงปลายลิ้นเป็นรูปตัว V หรือเป็นรูป
หัวใจ ทาให้ปลายลิ้นเคลื่อนไหวได้น้อยลง ในรายที่เป็นมาก
จะแลบลิ้นออกมาได้ไม่พ้นริมฝีปากหรือเหงือกบน และไม่
สามารถกระดกปลายลิ้นขึ้นไปสัมผัสเพดานปากได้ ไม่สามารถ
เคลื่อนไหวลิ้นไปด้านข้างได้ อาจมีผลเกี่ยวกับการดูดนม
แม่ การพูดไม่ชัด
- การรักษาคือ ผ่าตัด frenulectomy
ลิ้นติด Tongue tie
Mucocele
Dermoid cyst
Preauricular sinus
ซิสต์ทางเดินต่อมธัยรอยด์
Thyroglossal duct cyst
• เป็นซิสต์บริเวณคอตรงกลางของทางเดิน
ต่อมธัยรอยด์ที่หลงเหลืออยู่ มักพบ
บริเวณใกล้กระดูก hyoid
Thyroglossal duct cyst
การรักษาคือการผ่าตัด Sistrunk operation
Branchial fistula
ใช้ probe แยง branchial fistula
Excision branchial fistula
Excision branchial fistula
สะดือแฉะจาก Umbilical granuloma
Umbilical hernia
Wart
Corn
Vascular malformations
เป็นความเจริญเติบโตผิดปกติของโครงสร้างหลอด
เลือดฝอย ระบบหลอดเลือดดา หลอดเลือดแดง
Needle aspiration and
sclerosing agent injection
หลังทา Needle aspiration and
sclerosing agent injection
Lymphatic malformations
เป็นความเจริญเติบโตผิดปกติของโครงสร้าง
หลอดน้าเหลือง
Needle aspiration and
sclerosing agent injection
หลังทา Needle aspiration
and sclerosing agent injection
ขอขอบพระคุณ
รศ.นพ.สุเมธ ธีรรัตน์กุล
กุมารศัลยแพทย์
คณะแพทย์ศาสตร์
ร.พ. รามาธิบดี
ช่วยให้คาปรึกษา
เป็นกาลังใจมาตลอด

More Related Content

Viewers also liked

การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กการพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กSusheewa Mulmuang
 
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กแนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กPain clinic pnk
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ไทเก็ก นครสวรรค์
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
Urogyn pedia 2 rm 12 04 11
Urogyn pedia 2 rm 12 04 11Urogyn pedia 2 rm 12 04 11
Urogyn pedia 2 rm 12 04 11raymondteyrouz
 

Viewers also liked (8)

การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็กการพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดในเด็ก
 
Test
TestTest
Test
 
Hernia
HerniaHernia
Hernia
 
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กแนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Urogyn pedia 2 rm 12 04 11
Urogyn pedia 2 rm 12 04 11Urogyn pedia 2 rm 12 04 11
Urogyn pedia 2 rm 12 04 11
 

Similar to การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)

รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์techno UCH
 
Primate-15-ก.ย.64.pdf
Primate-15-ก.ย.64.pdfPrimate-15-ก.ย.64.pdf
Primate-15-ก.ย.64.pdfssuser93bc4c
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guideKaow Jaow
 
คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfpraphan khunti
 
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม. คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม. Utai Sukviwatsirikul
 
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อการใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อNakhon Pathom Rajabhat University
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)taem
 

Similar to การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery) (20)

Ambulatory pediatric surgery
Ambulatory pediatric surgeryAmbulatory pediatric surgery
Ambulatory pediatric surgery
 
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
 
Example osce
Example osceExample osce
Example osce
 
Circumcision
CircumcisionCircumcision
Circumcision
 
ระบบสืบพันธ์ุสตรี
ระบบสืบพันธ์ุสตรีระบบสืบพันธ์ุสตรี
ระบบสืบพันธ์ุสตรี
 
Fia
FiaFia
Fia
 
Primate-15-ก.ย.64.pdf
Primate-15-ก.ย.64.pdfPrimate-15-ก.ย.64.pdf
Primate-15-ก.ย.64.pdf
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
Hiv รพช2015 2.ppt
Hiv รพช2015  2.pptHiv รพช2015  2.ppt
Hiv รพช2015 2.ppt
 
Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guide
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม. คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค  สำนักการแพทย์ กทม.
คู่มือแนวทางการดําเนินงานด้านโรควัณโรค สำนักการแพทย์ กทม.
 
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
คูมูมอืือแนวทางการดําําเนนิินงานดานวัณั โรค คมู อื แนวทางการดาํ เนินงานด...
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination
 
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อการใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อ
การใช้เทคนิคปราศจากเชื้อและการกีดกั้นเชื้อ
 
Benign Ovarian Tumor
Benign Ovarian TumorBenign Ovarian Tumor
Benign Ovarian Tumor
 
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
TAEM11: รักษาทันที มีจริงหรือ (นพ.ไพโรจน์)
 

การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)