SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
น.ส.จิดาภา หาญอธิปเตยยะ ม.6.3 เลขที่ 6 
น.ส.ณัฐมน กาแพงเศรษฐ ม.6.3 เลขที่ 15 
เสนอ 
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณ
ประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของมนุษย์ 
ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่างกัน ประวัติศาสตร์มีแนวคิด 
ว่าในแต่ละช่วงเวลาสังคมมีความเปลี่ยนแปลงไปจากช่วงเวลาก่อนหน้า 
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งย่อมมีความแตกต่างกับเหตุการณ์ที่ 
เกิดขึ้นในอีกช่วงเวลาหนึ่ง เหตุการณ์ที่เกิดก่อนย่อมเป็นเหตุ และจะมีผล 
ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลัง
คุณค่าที่สาคัญของประวัติศาสตร์ 
คือ การสร้างความตระหนักว่า 
อดีตเป็นบทเรียนสาคัญสาหรับ 
ปัจจุบันและอนาคต
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ ช่วงเวลาที่มนุษย์ไม่รู้จักใช้ 
ตัวหนังสือ จึงยังไม่มีเอกสารใดๆที่จดบันทึกเรื่องราวให้มนุษย์ใน 
ยุคหลังทราบได้ การศึกษาเรื่องราวในสมัยก่อนประวัติศาสตร์จึง 
ต้องอาศัยการสันนิษฐาน และการตีความจากหลักฐานทาง 
โบราณคดีและหลักฐานทางสภาพแวดล้อม
ยุคหินเก่า ประมาณ 2,500,000 – 10,500 ปีมาแล้ว 
มนุษย์ในยุคนี้เริ่มทาเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยหินอย่างง่ายก่อน 
มนุษย์ใช้วัสดุจาพวกหินไฟ ในยุคนี้สามารถแบ่งเครื่องมือยุคหิน 
เก่าออกเป็น 3 ช่วง คือ 
ยุคหินเก่าตอนต้น ประมาณ 2,500,000 – 180,000 ปี 
มาแล้ว เครื่องมือเครื่องใช้ทาด้วยหินมีลักษณะ 
เป็นขวานกะเทาะแบบกา ปั้น
ยุคหินเก่าตอนกลาง ประมาณ 180,000 – 49,000 ปี 
มาแล้ว เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาด้วยหินมีลักษณะ 
แหลมคม มีด้ามยาวขึ้น และมีประโยชน์ในการใช้ 
สอยมากขึ้น 
ยุคหินเก่าตอนปลาย ประมาณ 49,000 – 10,500 ปีมาแล้ว 
เครื่องมือเครื่องใช้มีความหลากหลายกว่ายุคก่อน 
ได้แก่ เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาจากหินและกระดูกสัตว์ 
เช่น เข็มเย็บผ้า ฉมวก หัวลูกศร
ลักษณะสังคมในยุคหินเก่าเป็นสังคมล่าสัตว์ เนื่องจากมนุษย์ในยุคนี้ 
ดารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์และหาพืชผักผลไม้จากป่า และพบว่าในช่วงปลาย 
ยุคหินเก่ามนุษย์มีความสามารถทางด้านศิลปะ ซึ่งพบภาพวาดตามผนังถ้า 
ที่ใช้ฝุ่นสีภาพที่วาดส่วนใหญ่เป็นภาพสัตว์ป่า เช่น วัวกระทิง ม้าป่า กวางแดง 
และกวางเรนเดียร์
ยุคหินกลาง ประมาณ 10,500 – 10,000 ปี มนุษย์เริ่มทาเครื่องจักสาน 
เช่น ตะกร้าสาน ทารถลาก เครื่องมือเครื่องใช้ในยุคนี้มีความประณีตมากขึ้น 
และรู้จักนาสุนัขมาเป็นสัตว์เลี้ยง เริ่มมีการปลูกพืช แต่อาชีพหลักของมนุษย์ 
ยังคงเป็นการล่าสัตว์ มนุษย์มักอยู่ตามแหล่งน้าหรือชายฝั่งทะเล
ยุคหินใหม่ ประมาณ 10,000 
– 4,000 ปีมาแล้ว มนุษย์ในยุคนี้อาศัย 
อยู่รวมกันเป็นหมู่บ้าน ดารงชีวิตด้วย 
การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ การเพาะปลูก 
ทาให้เปลี่ยนวิถีชีวิตของมนุษย์จาก 
สังคมล่าสัตว์มาเป็นสังคมเกษตร ที่ต้งั 
ถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง มีการสร้างที่ 
พักอาศัยถาวรเป็นกระท่อมดินเหนียว 
และตั้งหลักแหล่งตามบริเวณลุ่มน้า
พืชเพาะปลูกที่สาคัญในยุคนี้คือ ข้าว ถั่ว ฟัก บวบ ส่วนสัตว์ 
เลี้ยงได้แก่ สุนัข แพะ แกะ และยังคงล่าสัตว์ เช่น กวาง กระต่าย เต่า 
ตะพาบ รวมท้งัยังทา การประมง
ยุคสาริด เริ่มต้นเมื่อ 4,000- 
2,700 ปีมาแล้ว สาริดเป็นโลหะผสม 
ระหว่างทองแดงกับดีบุก เครื่องมือ 
เครื่องใช้ในยุคสาริดที่นอกจากทาด้วย 
สาริดแล้ว ยังทาจากดินเผา หิน และแร่ 
เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาจากสาริด ได้แก่ 
ขวาน หอก ภาชนะ กา ไล ตุ้มหู ลูกปัด
ยุคเหล็ก ประมาณ2,700- 
2,000 ปีมาแล้ว เวลานี้เริ่มต้นจาก 
พัฒนา การของมนุษย์ที่สามารถ 
หลอมเหลวโลหะประเภทเหล็กขึ้นมา 
ทาเครื่องมือเครื่องใช้ได้ เหล็กมีความ 
แข็งแกร่งกว่าสาริดมาก แต่การผลิต 
เหล็กต้องใช้อุณหภูมิและมีกรรมวิธี 
ยุ่งยาก 
แหล่งอารยธรรมแห่งแรกที่ 
สามารถผลิตเหล็กได้ คือ แหล่งอารย 
ธรรมเมโสโปเตเมีย เมื่อประมาณ 
3,200 ปีมาแล้ว
ยุคเหล็กมีความแตกต่างจากยุคสาริดหลายประการ คือ การพัฒนา 
เทคโนโลยีการผลิตเหล็กทาให้เกิดการเพิ่มผลผลิต การผลิตเหล็กทาให้กองทัพ 
มีอาวุธที่แข็งแกร่งนาไปสู่การพัฒนาการทางสังคมจนกลายเป็นรัฐที่มีกา ลัง 
ทหารที่เข้มแข็ง เข้ายึดครองสังคมอื่นๆ ขยายเป็นอาณาจักรในเวลาต่อมา
สมัยประวัติศาสตร์เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ในสังคมนั้น 
รู้จักการเขียนมีตัวอักษรสาหรับช่วยจดบันทึก ทา ให้ชนรุ่นหลัง 
สามารถเข้าใจเรื่องราวต่างๆของมนุษย์ในอดีตได้ ทั้งนี้ในแต่ละ 
สังคมจะเริ่มต้นสมัยประวัติศาสตร์ไม่พร้อมกัน
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์ตะวันออก
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ 
เริ่มในสมัยราชวงศ์ซาง 
ประมาณ 1,570 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
- ค.ศ.220 เป็นช่วงเวลาที่จีนก่อตัว 
เป็นรัฐและมีการวางรากฐานด้าน 
การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม 
ในสมัยนี้มีการใช้อักษรจีนโบราณ 
เขียนลงบนกระดองเต่า 
สมัยนี้นักประวัติศาสตร์แบ่งออกเป็นสมัยย่อย ได้แก่ สมัยราชวงศ์โจว 
ตะวันตก และราชวงศ์โจวตะวันออก
เมื่อราชวงศ์โจวตะวันออกเสื่อมลง ก็เกิดสงครามระหว่างเจ้าผู้ครอง 
รัฐต่างๆ ในที่สุดรัฐฉินได้รวบรวมประเทศก่อตั้งราชวงศ์ฉิน 
สมัยราชวงศ์ฮั่นเป็นสมัยที่มีการรวมศูนย์กลางอานาจอย่างชัดเจน 
เป็นจักรวรรดิ โดยระบอบดังกล่าวใช้อยู่ในประเทศจีนนานกว่า 2,000 ปี
ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง ค.ศ.220-1368 เป็นช่วงเวลาของการ 
ปรับตัวของอารยธรรมจีนในการรับอิทธิพลต่างชาติเข้ามาผสมผสาน กับ 
อายธรรมจีน ที่สาคัญคือ พระพุทธศาสนา 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลางเริ่มต้นจากการล่มสลายของราชวงศ์ฮั่น 
เรียกว่า สมัยแตกแยกทางการเมือง และรวมประเทศได้ในสมัยราชวงศ์สุย
สมัยราชวงศ์ถัง ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ประเทศจีนมีความเจริญรุ่งเรือง 
สูงสุด แต่เมื่อราชวงศ์ถังสิ้นสุดลงก็เกิดความแตกแยกอีกครั้งในสมัยที่ 
เรียกว่า ห้าราชวงศ์กับสิบรัฐ 
ในสมัยราวงศ์ซ่ง สามารถรวมประเทศได้อีกครั้งจนกระทั่งชาว 
มองโกลสามารถยึดประเทศจีนและสถาปนาราชวงศ์หยวน
ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ ค.ศ.1368-1911 เมื่อชาวจีนได้ขับไล่พวก 
มองโกลออกไปแล้วสถาปนาราชวงศ์หมิงข้นึปกครองจีน หลังจากนั้นราชวงศ์ 
ชิงของพวกแมนจูโค่นล้มราชวงศ์แมนจู 
ในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิง เป็นช่วงเวลาที่ประเทศจีนถูกคุกคามจาก 
ชาติตะวันตกและจีนแพ้อังกฤษในสงครามฝิ่น ราชวงศ์ชิงสิ้นสุดใน พ.ศ.1911
ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน 
เริ่มต้นใน ค.ศ.1911 เมื่อจีนปฏิวัติ 
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ 
สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบ 
สาธารณรัฐโดย ดร.ซุน ยัตเซน ต่อมา 
พรรคคอมมิวนิสต์ได้ปฏิวัติและได้ 
ปกครองจีน จึงเปลี่ยนการปกครองเป็น 
ระบอบคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ ค.ศ.1949 
จนถึงปัจจุบัน
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์อินเดีย
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ 
เริ่มต้นในสมัยมหากาพย์ ซึ่งมี 
การใช้ตัวอักษรอินเดียโบราณในการ 
บันทึกเรื่องราว ต่อมาอินเดีย มีการรวม 
ตัวกันครั้งแรกในสมัยราชวงศ์มคธ และ 
มีการรวมตัวกันอย่างแท้จริงในสมัย 
ราชวงศ์เมารยะ ช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลา 
ที่อินเดียเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยัง 
ดินแดนต่างๆ
ต่อมาเมื่อจักรวรรดิเมาระยะล่มสลาย อินเดียก็เข้าสู่สมัยแห่ง 
ความแตกแยก และการรุกรานจากภายนอกทั้งจากพวกกรีกและพวก 
กุษาณะ ช่วงเวลาดังกล่าวนี้เป็นสมัยของการผสมผสานทางวัฒนธรรม 
ก่อนที่จะมีการรวมเป็นจักรวรรดิอีกครั้งโดยราชวงศ์คุปตะ
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง 
การสิ้นสุดของสมัยคุปตะถือ 
เป็นการสิ้นสุดสมัยโบราณ อินเดียได้ 
ย่างเข้าสู่สมัยกลาง (ค.ศ.535-1526) 
ซึ่งสมัยนี้เป็นช่วงเวลาของความ 
วุ่นวายทางการเมืองและการรุกราน 
จากต่างชาติ โดยเฉพาะชาวมุสลิม 
อารยธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพล 
ในสังคมอินเดีย
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ 
เมื่ออาณาจักรสุลต่านแห่งเดลีสิ้นล่มสลายลง พวกมุคัลได้ตั้ง 
ราชวงศ์มุคัล ถือเป็นการเริ่มต้นสมัยใหม่ของประวัติศาสตร์อินเดีย ช่วงนี้ 
เรียกว่า สมัยจักรวรรดิมุคัล อินเดียสมัยใหม่เป็นช่วงที่วัฒนธรรมต่างชาติ 
ได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย และวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพล 
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่สามารถแบ่งเป็นสมัยราชวงศ์มุคัล 
และสมัยอังกฤษปกครองอินเดีย
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยปัจจุบัน 
เป็นช่วงภายหลังได้รับเอกราช 
และถูกแบ่งแยกออกเป็นประเทศต่างๆ 
ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ 
การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์โดย 
ใช้หลักเกณฑ์พัฒนาการของอารยธรรม 
อินเดีย สามารถรวมสมัยสุลต่านแห่งเดลี 
เข้ากับสมัยราชวงศ์มุคุลซึ่งเป็นสมัยที่ 
วัฒนธรรมมุสลิมเข้าไปมีอิทธิพลในอารย 
ธรรมอินเดีย โดยเรียกรวมว่า สมัยมุสลิม
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์ตะวันตก
ประวัติศาสตร์ 
สมัยโบราณ 
(3,500 ปีก่อนค.ศ.- 
ค.ศ. 476) 
สมัยโบราณในประวัติศาสตร์ตะวันตก เริ่มต้นเมื่อ 3,500 ปีก่อนศริสต์ 
ศักราช รากฐานของอารยธรรมตะวันตกเริ่มต้นในลุ่มน้าไทกริส-ยูเฟรทสี ได้แก่ 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมอียิปต์โบราณ อารยธรรมกรีก และอารย 
ธรรมโรมัน เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลาย ถือเป็นการสิ้นสุดสมัยโบราณ
ประวัติศาสตร์ 
สมัยกลาง 
(ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453) 
เป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงทางอารยธรรมตะวันตกจากอารย 
ธรรมโรมันไปสู่อารยธรรมคริสต์ศาสนา ตะวันตกได้รับอิทธิพลอย่างมากจาก 
คริสต์ศาสนา ท้งัด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และศิลปะวัฒนธรรม
สังคมสมัยกลางยังมีลักษณะเป็นสังคมในระบบฟิวดัล (feudalism) 
ขุนนางแคว้นต่างๆมีอานาจครอบครองพื้นที่โดยประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะ 
เป็นข้าติดที่ดิน (serf) และดารงชีวิตอยู่ในเขตแมเนอร์(manor) ของขุนนาง 
ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของสังคมสมัยกลาง
นอกจากนี้ประวัติศาสตร์สมัยกลางยังเป็นสมัยที่คริสต์ศาสนาขัดแย้ง 
กับศาสนาอิสลามจนเกิดสงครามครูเสด (Crusades ค.ศ. 1096-1291) เป็น 
เวลาราว 200 ปี เป็นผลให้เกิดการค้นหาเส้นทางการค้าทางทะเลและวิทยาการ 
ด้านอื่นๆ
ประวัติศาสตร์ 
สมัยใหม่ 
(ค.ศ. 1453-1945) 
เป็นสมัยของความเจริญรุ่งเรืองทางศิลปวิทยาการของอารยธรรม 
ตะวันตก ท้งัด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อารยธรรมสมัยใหม่นี้เป็น 
รากฐานที่สาคัญของอารยธรรมตะวันตกในปัจจุบัน และช่วงเวลานี้ชาวยุโรป 
ได้แผ่อิทธิพลไปยังดินแดนอื่นๆ
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่เป็นช่วงที่มีการสารวจเส้นทางเดินเรือทะเล 
เพื่อการค้ากับโลกตะวันออก และการเผยแผ่คริสต์ศาสนา เริ่มต้งัแต่สมัยฟื้นฟู 
ศิลปวิทยาเข้าไปสู่ยุคสมัยแห่งการปฏิวัติวิทยาศาสตร์
ยุคภูมิธรรมหรือยุคแห่งการรู้แจ้ง สมัยประชาธิปไตย สมัยชาตินิยม 
สมัยจักรวรรดินิยมใหม่ และสมัยสงครามโลก การแผ่ขยายอานาจของยุโรป 
ในสมัยใหม่ทาให้เกิดความขัดแย้งก่อให้เกิดสงครามโลกครั้งที่1 และ 
สงครามโลกครั้งที่2 ประวัติศาสตร์สมัยใหม่สิ้นสุดลงเมื่อ ค.ศ. 1945 
เมื่อสงครามโลกครั้งที่2 ยุติลง
ประวัติศาสตร์ 
สมัยปัจจุบัน 
(ค.ศ. 1945-ปัจจุบัน) 
สมัยปัจจุบันเป็นช่วงสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีผลกระทบ 
รุนแรงทั่วโลก และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม 
การเมืองการปกครองต่อสังคมโลกในปัจจุบัน
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางJuno Nuttatida
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

What's hot (20)

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

Similar to การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางOmm Suwannavisut
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกKlangpanya
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยChalee Pop
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 

Similar to การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ (20)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
History 1
History 1History 1
History 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
Pawat
PawatPawat
Pawat
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์