Diese Präsentation wurde erfolgreich gemeldet.
Die SlideShare-Präsentation wird heruntergeladen. ×

Basic concept sararud

Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige

Hier ansehen

1 von 51 Anzeige

Weitere Verwandte Inhalte

Ähnlich wie Basic concept sararud (20)

Anzeige

Basic concept sararud

  1. 1. <ul><li>Sararud Vuthiarpa </li></ul><ul><li>Faculty of Nursing,Thammasat University e-mail : [email_address] </li></ul><ul><li>Tel: 0804511439 </li></ul><ul><li>Jan 10,2012 </li></ul>Basic Concepts to Psychiatric and Mental Health Nursing
  2. 2. Objective <ul><li>บอกความหมายของสุขภาพจิต การเจ็บป่วยทางจิตและกลไกทางจิตได้ถูกต้อง </li></ul><ul><li>อธิบายลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตดี ผู้ที่เจ็บป่วยทางจิตได้ถูกต้อง </li></ul><ul><li>บอกปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิตได้ถูกต้อง </li></ul><ul><li>บอกผลกระทบของปัญหาสุขภาพจิตต่อบุคคล ครอบครัวและชุมชนได้ </li></ul>
  3. 3. <ul><li>สุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิต ( Mental Health & Mental disorder) </li></ul><ul><li>กลไกทางจิต ( Defense Mechanism) </li></ul><ul><li>ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ( Factors affecting Mental Health and Mental disorder) </li></ul><ul><li>ผลกระทบ ( Impact of Mental disorder : Individual Family, and Social) </li></ul>Topic
  4. 4. <ul><li>ชีวิตที่มีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ มีสุขภาพดี มีสัมพันธภาพอันดีกับบุคคลอื่น ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัว ให้เข้ากับสังคมและเป็นที่ยอมรับในสังคม มีความคิดสร้างสรรค์ มีความดีงามภายในจิตใจ ทำประโยชน์แก่สังคม </li></ul>Mental Health
  5. 5. <ul><li>ภาวะสุขภาพจิตที่มีความแปรปรวนทางจิต ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของพันธุกรรม สารสื่อประสาท และการปรับตัว ต่อความ เครียดและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ซึ่งมีการรับรู้ความเป็นจริงและการรับรู้ตนเองผิดปกติรวมทั้งบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง </li></ul>Mental disorder
  6. 6. ภาวะสุขภาพและการเจ็บป่วย     ภาวะเจ็บป่วยรุนแรง ภาวะสุขภาพดีมาก ปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ  
  7. 7. สุขภาพจิตดี ( Mental Health ) เจ็บป่วยทางจิต ( Mental Disorder ) แผนภาพที่ 1 แสดงเส้นตรงภาวะสุขภาพจิตดี และการเจ็บป่วยทางจิต
  8. 8. สุขภาพจิต ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เจ็บป่วยทางจิต แผนภาพที่ 2 สุขภาพจิตเป็นแกนกลาง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องแวดล้อมแกนกลาง โดยการเจ็บป่วยทางจิตเป็นชั้นนอกสุด
  9. 9. สุขภาพจิตดี <ul><li>ความหมายระดับบุคคล หมายถึง บุคคลที่ไม่มีความเครียด หรือบุคคลที่มีความเครียด แต่สามารถควบคุมความเครียดได้ในระดับที่คนปกติทำได้ </li></ul><ul><li>ความหมายระดับชุมชน หมายถึง ชุมชนที่ไม่มีผู้ป่วยทางจิต หรือมีผู้ป่วยทางจิตแต่สามารถให้ความช่วยเหลือ บรรเทา ฟื้นฟู สุขภาพจิตได้เองภายในชุมชนเอง ในระดับที่เหมาะสมกับความสามารถ และความคาดหวังของชุมชน </li></ul>
  10. 10. บุคลิกภาพโดยทั่วไปของผู้มีสุขภาพจิตดี <ul><ul><ul><ul><li>จะต้องเป็นผู้ที่ไม่กระทำสิ่งใดๆ ที่ทำให้ตนเองหรือผู้อื่นเดือดร้อน </li></ul></ul></ul></ul><ul><ul><ul><ul><li>เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น สามารถใช้สติปัญญาแก้ไขปัญหา </li></ul></ul></ul></ul><ul><ul><ul><ul><li>ควรรู้จักมองตนเอง สำรวจหาจุดแข็ง จุดอ่อน ข้อบกพร่องของตนเอง ยอมรับพร้อมปรับปรุงแก้ไข </li></ul></ul></ul></ul><ul><ul><ul><ul><li>ไม่เป็นคนเจ้าคิดเจ้าแค้น รู้จักการให้อภัย มองคนรอบข้างในด้านดี </li></ul></ul></ul></ul><ul><ul><ul><ul><li>มีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวและเป็นที่พึ่งทางใจ </li></ul></ul></ul></ul>
  11. 11. <ul><li>มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง </li></ul><ul><li>มีพัฒนาการที่ดี ทั้งอารมณ์ บุคลิกภาพ </li></ul><ul><li>รั้งรอความต้องการหรือยับยั้งความต้องการได้ </li></ul><ul><li>มีเอกสิทธิ์ในตนเอง </li></ul><ul><li>หยั่งรู้ตนเอง </li></ul><ul><li>ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม </li></ul>ลักษณะผู้ที่มีสุขภาพจิตดี
  12. 12. <ul><li>องค์ประกอบของสุขภาพจิต </li></ul><ul><li>มีลักษณะทางกายภาพที่ทำหน้าที่ได้ </li></ul><ul><li>ไม่มีอาการและอาการแสดงของการเจ็บป่วยทางจิต </li></ul><ul><li>ปราศจากความบกพร่องทางจิตอารมณ์ที่มากเกินไป </li></ul><ul><li>มีความสามารถในการ </li></ul><ul><li>- รับรู้ตนเอง ผู้อื่น และเหตุการณ์ต่างๆ ได้ถูกต้อง </li></ul><ul><li>ตระหนักรู้ในจุดแข็ง จุดอ่อน ความสามารถ และข้อจำกัดของตน </li></ul><ul><li>แยกแยะความจริงกับความฝันได้ </li></ul><ul><li>คิดอย่างมีประสิทธิภาพ ด้าน การแก้ปัญหา การตัดสินใจ การให้เหตุผล และการสรุปอย่างสมเหตุผล </li></ul><ul><li>ผ่านขั้นตอนต่างๆ ของพัฒนาการได้อย่างเหมาะสม </li></ul>
  13. 13. <ul><li>องค์ประกอบของสุขภาพจิต </li></ul><ul><li>- บรรลุและคงไว้ซึ่งองค์ประกอบทางบวก ด้านการมองตนเอง ภาพลักษณ์ และการเห็นคุณค่าในตนเอง </li></ul><ul><li>ยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคล และความเหมือนในความเป็นมนุษย์ </li></ul><ul><li>ชื่นชมและประทับใจในชีวิต </li></ul><ul><li>แสวงหาความสวยงาม ความสนุกสนาน ความดีงามในตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม </li></ul><ul><li>มีความคิดสร้างสรรค์ </li></ul><ul><li>มองโลกในแง่ดี แต่อยู่ในโลกของความเป็นจริง </li></ul>
  14. 14. <ul><li>องค์ประกอบของสุขภาพจิต </li></ul><ul><li>ใช้พรสวรรค์อย่างเต็มความสามารถ </li></ul><ul><li>มีเป้าหมายการทำงานในชีวิตอย่างมีความหมาย </li></ul><ul><li>มีการเล่นสนุกสนาน </li></ul><ul><li>มีการพัฒนาและแสดงอารมณ์ขันอย่างเหมาะสม </li></ul><ul><li>มีการแสดงออกของอารมณ์ </li></ul><ul><li>มีการแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับสถานการณ์และเหมาะสม </li></ul><ul><li>รับผิดชอบต่อการกระทำของตน </li></ul><ul><li>มีการควบคุมสิ่งกระตุ้นและพฤติกรรม </li></ul><ul><li>มีพฤติกรรมที่น่าเชื่อถือ </li></ul>
  15. 15. <ul><li>องค์ประกอบของสุขภาพจิต </li></ul><ul><li>เคารพกฎระเบียบของสังคม </li></ul><ul><li>มีการเรียนรู้จากประสบการณ์ </li></ul><ul><li>คงไว้ซึ่งคุณค่าและความเชื่อแห่งตน </li></ul><ul><li>จัดการกับความเครียดอย่างมีประสิทธิภาพ </li></ul><ul><li>กลับเข้าสู่การทำหน้าที่ปกติหรือดีขึ้นภายหลังภาวะวิกฤติ </li></ul><ul><li>มีการชื่นชมตนเอง </li></ul><ul><li>ทำหน้าที่ต่างๆ ได้อย่างอิสระ </li></ul><ul><li>คงไว้ซึ่งความคาดหวังต่อตนเองและผู้อื่นอย่างเหมาะสม </li></ul><ul><li>มีการปรับตัวให้เข้ากับสังคม </li></ul>
  16. 16. <ul><li>องค์ประกอบของสุขภาพจิต </li></ul><ul><li>- มีสัมพันธภาพกับผู้อื่นโดย สร้างความสัมพันธ์ คงไว้ซึ่งสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด มีความหมาย มีความรัก และเหมาะสม เล่นและทำงานกับผู้อื่นได้ดี มีคู่ที่เหมาะสมและมีการเลือก ตอบสนองต่อความต้องการของผู้อื่น แสดงความรักและความเห็นใจต่อผู้อื่น มีการแสดงสัมพันธภาพที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมและสังคม มีการจัดการกับความขัดแย้ง มีการให้และการรับอย่างรู้ค่า เรียนรู้และสอนจากผู้อื่น </li></ul><ul><li>ค้นหาความสำเร็จในชีวิต </li></ul><ul><li>รู้ความหมายทางจิตวิญญาณแห่งตน </li></ul><ul><li>(Fortinash, Holoday, & Worret, 2000) </li></ul>
  17. 17. ความแตกต่างระหว่างสุขภาพจิตและการเจ็บป่วยทางจิต 1. Happiness Major Depressive Episode 2. Control over behavior Control Disorder 3. Appraisal Reality Schizophrenia Disorder 4. Effectiveness in Work Adjustment Disorder 5. A Healthy Self Concept Dependent Personality Disorder
  18. 18. Psychosis Neuroses 1. พฤติกรรมถดถอย 1. เป็นอาการ / กลุ่มอาการที่ผิดปกติก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน 2. การรับรู้ความเป็นจริงผิดปกติ 2. การรับรู้ความเป็นจริงปกติ 3. การตระหนักรู้ในตนเองลดลง ( insight ) 3. พฤติกรรมไม่ผิดปกติไปจากบรรทัดฐานของสังคม 4. การทำหน้าที่หรือกิจวัตรประจำวันบกพร่อง 4. ไม่ใช่ปฏิกิริยาชั่วคราวที่ตอบสนองต่อความเครียด 5. บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง 5. ไม่พบสาเหตุทางกาย
  19. 19. Phychosis VS Neuroses
  20. 20. Defense Mechanism <ul><li>เป็นวิธีการที่บุคคลใช้ในการปรับตัว เมื่อประสบปัญหาความคับข้องใจ การใช้กลไกป้องกันจะช่วยยืดเวลาในการแก้ปัญหา เพราะจะช่วยให้ผ่อนคลายความเครียด ความไม่สบายใจ ทำให้คิดหาเหตุผลหรือแก้ไขปัญหาได้ กลไกทางจิตส่วนใหญ่พบได้ในพฤติกรรมประจำวันของทุกคน </li></ul>
  21. 21. พยาบาลจำเป็นต้องรู้ เข้าใจ และประเมินวิธีการที่ผู้รับบริการใช้เพื่อปกป้องตนเอง ทั้งที่เป็นโดยอัตโนมัติหรือมีการวางแผน เพื่อใช้ในการวางแผนการดูแล
  22. 22. Defense Mechanism <ul><li>กลไกทางจิตชนิดหลงตัวเอง ( Narcissistic Defense) </li></ul><ul><li>กลไกทางจิตชนิดไม่บรรลุวุฒิภาวะ ( Immature Defense) </li></ul><ul><li>กลไกทางจิตแบบโรคประสาท ( Neurotic Defense) </li></ul><ul><li>กลไกทางจิตที่บรรลุวุฒิภาวะ ( Mature Defense) </li></ul>
  23. 23. Narcissistic Defense <ul><li>Denial การปฏิเสธการรับรู้ ปฏิเสธความจริงที่ทำให้ไม่สบายใจ </li></ul><ul><ul><li>ไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของแพทย์ว่าตนเองป่วย เช่น เป็นเอดส์ </li></ul></ul>
  24. 24. Projection การโทษคนอื่น เป็นการซัดทอดความคิด ความรู้สึก หรือแรงขับที่ไม่น่าพึงปรารถนาไปยังผู้อื่น เพื่อให้ตนพ้นผิด ตรงกับคำพังเพยว่า &quot; รำไม่ดี โทษปี่โทษกลอง &quot; - - ผู้ป่วยหวาดระแวง ( paranoid ) ใช้วิธีการโทษผู้อื่นบ่อยๆ ว่า ผู้อื่นเกลียดชัง / คิดร้ายกับตน
  25. 25. Distortion การบิดเบือนจากความจริง - การที่คิดว่าตนเองมีพลังวิเศษ ไม่อยู่ใน reality หรือคือเพ้อฝัน
  26. 26. Immature Defenses <ul><li>Acting out การแสดงออกของแรงขับมาเป็นการกระทำแทนที่จะเป็นคำพูด เป็นการกระทำทางเพศหรือความก้าวร้าวก็ได้ ความรู้สึกจะถูกโอนย้ายจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งที่อ่อนแอกว่า </li></ul><ul><ul><li>ผู้ป่วยโกรธแพทย์ แต่ไปชกต่อยกับเจ้าหน้าที่คนอื่นในโรงพยาบาล เป็นต้น </li></ul></ul><ul><ul><li>อารมณ์เสียแล้ว ก็เลยไปไล่เตะสุนัข </li></ul></ul>
  27. 27. <ul><li>Passive/Aggressive Behavior </li></ul><ul><li>เป็นความก้าวร้าวที่แสดงออกมาทางอ้อมและไม่มีผลมากนัก </li></ul><ul><ul><li>แพรริษยาฟ้าซึ่งเป็นเพื่อนที่ดีที่สุด เพราะว่าฟ้าได้ออกเดทกับชายหนุ่มที่เธออยากเดทด้วย เธอจึงนัดเพื่อนรักออกมารับประทานอาหารเที่ยง แต่เธอแกล้งไปช้า 1 ชั่วโมง เมื่อมาถึงก็ขอโทษอย่างมากมาย และขอให้เพื่อนให้อภัย </li></ul></ul>
  28. 28. <ul><ul><li>Regression การถดถอยกลับไปสู่ขั้นตอนการพัฒนาการของชีวิตในช่วงต้นๆ </li></ul></ul><ul><ul><li>เด็กวัยรุ่นเวลาเครียดจะเล่นบนเตียงกับตุ๊กตา ดูดนิ้วหัวแม่มือ ไม่พูดกับใคร </li></ul></ul><ul><ul><li>ผู้ป่วยจิตเวชรับใหม่วินิจฉัย Psychosis พบกำลังละเลงอุจจาระบนผนัง </li></ul></ul>
  29. 29. <ul><li>Introjection การโทษตัวเอง </li></ul><ul><li>- รู้สึกผิดตลอดเวลา </li></ul><ul><li>Projection การลดความวิตกกังวล โดยการป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น </li></ul><ul><li>Somatization การเปลี่ยนความขัดแย้งในใจออกมาเป็นแสดงออกทางกาย </li></ul><ul><ul><li>เมื่อเครียดแล้วมีอาการ ปวดหัว ปวดท้อง </li></ul></ul><ul><ul><li>ท้องเสีย </li></ul></ul>
  30. 30. <ul><ul><li>Against self </li></ul></ul><ul><ul><li>การแสดงอารมณ์โกรธหรืออารมณ์ทางเพศที่มีต่อบุคคลอื่นโดยกลับเข้าหาตนเอง จนเกิดพฤติกรรมการทำร้ายตัวเอง </li></ul></ul><ul><ul><li>การเกาผิวหนังจนเป็นแผลเวลาเครียด ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งของการใช้กลไกทางจิตนี้ </li></ul></ul><ul><ul><li>ทำคนอื่นไม่ได้ก็มาร้ายทำตัวเอง </li></ul></ul>
  31. 31. <ul><ul><li>Compensation การกระทำเพื่อทดแทนหรือลบล้างปมด้อย </li></ul></ul><ul><ul><li>เด็กหนุ่มไม่สามารถคัดตัวเป็นนักกีฬาได้ จึงเรียนอย่างหนัก จนได้รับการคัดเลือกกล่าวคำปราศรัยในวันจบการศึกษา </li></ul></ul>
  32. 32. Neurotic Defenses <ul><li>Displacement </li></ul><ul><li>การหาสิ่งมาแทนที่ เป็นการระบายอารมณ์โกรธหรือคับข้องใจต่อคน หรือสิ่งของที่ไม่ได้เป็นต้นเหตุ </li></ul><ul><ul><li>หลังจากที่แหนมโดนเจ้านายตำหนิต่อหน้าสาธารณะ เมื่อกลับบ้าน แหนมเริ่มทะเลาะกับเพื่อนบ้านเรื่องที่จอดรถ </li></ul></ul>
  33. 33. <ul><li>Rationalization </li></ul><ul><li>การหาเหตุผลเข้าข้างตัวเอง ทำให้ตัวเองรู้สึกดีขึ้น </li></ul><ul><ul><li>ชายหนุ่มจบใหม่ ไม่ได้รับการคัดเลือกเป็นทหารอันมีเกียรติ บอกว่าเขาไม่สามารถทนกับกฎระเบียบของทหารได้ </li></ul></ul>
  34. 34. <ul><li>Intellectualization </li></ul><ul><li>การหันเหความสนใจ ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับ Rationalization ต่างกันที่ Intellectualization มีการแยกอารมณ์ออกไปโดยใช้เหตุผล หรือความคิดเข้าแทนที่เพียงอย่างเดียว </li></ul><ul><ul><li>เป็นหมอแล้วทำคนเจ็บเลยหันมาเป็น อาจารย์แทน </li></ul></ul>
  35. 35. <ul><li>Identification </li></ul><ul><li>การเลียนแบบลักษณะ ท่าทาง บุคลิก อุปนิสัย ของคนบางคนมาเป็นของตัวเอง </li></ul><ul><li>- เด็กวัยรุ่นแต่งตัวตามแบบผู้นำ และขโมยสิ่งของอย่างที่ผู้นำกลุ่มทำ </li></ul><ul><li>Reaction formation </li></ul><ul><li>การแสดงออกของการกระทำที่ตรงกันข้ามกับแรงขับภายในที่ยอมรับไม่ได้ </li></ul><ul><ul><li>โดนโกงเงินแต่คิดว่าให้เขายืมเงินไปแล้วยังไม่ใช้แทน </li></ul></ul><ul><ul><li>นาย ก . เกลียดหัวหน้าตัวเองมาก แต่กลับแสดงออกมาในลักษณะที่ทำงานให้อย่างขยันขันแข็ง </li></ul></ul>
  36. 36. Mature Defense <ul><li>Altruism </li></ul><ul><li>การเสียสละ เป็นการทำงานอื่นๆ เพื่อประโยชน์ของสังคม </li></ul><ul><li>บุคลากรอาชีพต่างๆ ร่วมช่วยเหลือน้ำท่วมอย่างจริงใจ ไม่เห็นแก่ตัว และพอใจกับสิ่งที่ตัวเองให้ </li></ul>
  37. 37. <ul><ul><li>Anticipation </li></ul></ul><ul><ul><li>การคาดการณ์ล่วงหน้า เป็นการคาดเดา หรือการวางแผนการณ์ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล เพื่อเตรียมรับมือกับความไม่สบายใจที่เกิดขึ้น </li></ul></ul><ul><li>นักกฎหมายที่ทำงานเก่ง ถูกเรียกตัวไปสัมภาษณ์เพื่อเป็นหุ้นส่วนในบริษัทกฎหมาย เขาใช้เวลาทั้งวันในการซ้อมการสัมภาษณ์ </li></ul>
  38. 38. <ul><li>Sublimation </li></ul><ul><li>การเปลี่ยน Id มาใช้ในทางสร้างสรรค์ ให้ทุกคนยอมรับ การหาทางระบายแรงขับออกไปในทางที่สร้างสรรค์ </li></ul><ul><ul><li>ชายหนุ่มที่ก้าวร้าวกลายเป็นนักฮ็อคกี้ที่มีชื่อเสียง </li></ul></ul><ul><ul><li>หญิงสาวที่มีความต้องการทางเพศสูงกลายเป็นนักปั้นรูป </li></ul></ul>
  39. 39. <ul><ul><li>Suppression จัดการความขัดแย้งโดยการเก็บปัญหา </li></ul></ul><ul><ul><li>ชายหนุ่มซึ่งเคยถูกทารุณกรรมทางเพศตอนเด็กไม่เคยนึกถึงเหตุการณ์นี้ได้ </li></ul></ul><ul><ul><li>Asceticism การบังคับตนเองไม่ให้เป็นไปตามความอยากหรือไม่อยากจนเกินไป </li></ul></ul><ul><ul><li>- เช่น การถือสันโดษ เป็นต้น </li></ul></ul>
  40. 40. <ul><ul><li>วิธีการที่เหมาะสมในการปกป้องตนเอง </li></ul></ul><ul><ul><li>ออกกำลังกาย </li></ul></ul><ul><ul><li>คุยกับเพื่อน หรือบุคคลที่สำคัญกับเรา </li></ul></ul><ul><ul><li>ดูภาพยนตร์ </li></ul></ul><ul><ul><li>ร้องไห้ </li></ul></ul><ul><ul><li>รับประทาน </li></ul></ul><ul><ul><li>เต้นรำ </li></ul></ul><ul><ul><li>อ่านหนังสือ </li></ul></ul><ul><ul><li>ทำงานอาสาสมัคร </li></ul></ul>
  41. 41. <ul><ul><li>เขียนบันทึก </li></ul></ul><ul><ul><li>นอนหลับ </li></ul></ul><ul><ul><li>ฝึกทักษะการผ่อนคลาย </li></ul></ul><ul><ul><li>ไปวัดหรือโบสถ์ </li></ul></ul><ul><ul><li>เขียนจดหมายถึงเพื่อน ครอบครัว หรือคนอื่นๆ </li></ul></ul><ul><ul><li>ทำงาน </li></ul></ul>
  42. 42. Biological Psychological Social Predisposing ปัจจัยเสี่ยง <ul><li>กรรมพันธุ์ </li></ul><ul><li>สมาชิกเจ็บป่วย </li></ul><ul><li>โภชนาการ </li></ul><ul><li>บุคคลอันเป็นที่รักเสียชีวิต </li></ul><ul><li>ขาดแม่ / ผู้ดูแล </li></ul><ul><li>เขิน อายเมื่ออยู่กับผู้อื่น </li></ul><ul><li>แยกตัว </li></ul>Precipitating ปัจจัยกระตุ้น <ul><li>ใช้สารเสพติด </li></ul><ul><li>การนอนเปลี่ยนแปลง </li></ul><ul><li>โภชนาการไม่ดี </li></ul><ul><li>สอบตก เรียนไม่เก่ง </li></ul><ul><li>ความเครียด </li></ul><ul><li>ความคาดหวังในตนเองสูง </li></ul><ul><li>สัมพันธภาพล้มเหลว : แฟนทิ้ง / หย่า / แยกกันอยู่ </li></ul><ul><li>ยุ่งยากใจในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น </li></ul>Perpetuating ปัจจัยที่ทำให้ อาการคงอยู่ <ul><li>มีโรคอื่นที่เป็นอยู่และไม่ได้รับการรักษา </li></ul><ul><li>ไม่กินยา </li></ul><ul><li>S/E จากยาที่ได้รับ </li></ul><ul><li>ตอบสนองต่อยาไม่เต็มที่ </li></ul><ul><li>ความนับถือตนเองต่ำ </li></ul><ul><li>รู้สึกผิด … ( ในเรื่องที่ตนทำผิด ) </li></ul><ul><li>เพื่อนน้อย </li></ul><ul><li>ขาดแหล่งช่วยเหลือทางสังคม </li></ul><ul><li>ขาดการดูแลจากบุคลากรเฉพาะทาง </li></ul>Protective factor ปัจจัยป้องกัน <ul><li>ภาวะสุขภาพดี </li></ul><ul><li>EQ ดี </li></ul><ul><li>สนใจในเรื่องที่ควรสนใจ </li></ul><ul><li>เปิดใจรับความคิดใหม่ๆ </li></ul><ul><li>เปิดใจรับเพื่อนใหม่เข้ามาในชีวิต </li></ul><ul><li>IQ ดี </li></ul><ul><li>มีงานทำ </li></ul><ul><li>มีความสามารถในการสร้างสัมพันธภาพที่ดี </li></ul><ul><li>มีความสนใจหลากหลาย </li></ul>
  43. 43. ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตระดับบุคคล <ul><li>ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological factors) </li></ul><ul><li>1) พันธุกรรม </li></ul><ul><li>2) ชีวเคมี </li></ul><ul><li>โรคทางจิตเวชระดับของสารสื่อประสาท </li></ul>โรคจิตเภท (Schizophrenia) Dopamine  Norepinephrine  Serotonin  โรคซึมเศร้า (Depression) Norepinephrine  Serotonin  โรคแมเนีย (Mania) Serotonin 
  44. 44. 2. ปัจจัยด้านจิตใจ (Psychological factors) <ul><li>1. Learning theory ( ทฤษฎีการเรียนรู้ ) </li></ul><ul><li>2. Cognitive theory ( ทฤษฎีความคิด ) </li></ul><ul><li>3. Psychoanalytic theory ( ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ) </li></ul>
  45. 45. 4. Personality theory ( ทฤษฎีบุคลิกภาพ ) การที่บุคคลมีบุคลิกภาพบางรูปแบบ อาจมีโอกาสเกิดโรคทางจิตเวชง่ายขึ้น <ul><li>ปัจจัยด้านสังคม (Sociological factors) พบว่า ปัจจัยทางสังคมเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดอาการในผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค </li></ul>
  46. 46. ผลกระทบของปัญหาสุขภาพจิตต่อบุคคล ครอบครัวและชุมชน <ul><li>ผลกระทบต่อบุคล </li></ul><ul><ul><li>ด้านการดูแลตนเอง </li></ul></ul><ul><ul><li>ด้านการสื่อสาร </li></ul></ul><ul><ul><li>ด้านความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง </li></ul></ul><ul><ul><li>ด้านเพศสัมพันธ์ </li></ul></ul><ul><ul><li>ด้านสัมพันธภาพกับบุคลอื่น </li></ul></ul><ul><ul><li>ด้านการรับรู้และกระบวนการคิด </li></ul></ul><ul><ul><li>ด้านค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล </li></ul></ul><ul><ul><li>ด้านอาชีพ / การทำงาน </li></ul></ul>
  47. 47. ผลกระทบต่อครอบครัว <ul><li>1. Family structure </li></ul><ul><ul><ul><li>Communication Patterns </li></ul></ul></ul><ul><ul><ul><li>Power Structure </li></ul></ul></ul><ul><ul><ul><li>Role Structure </li></ul></ul></ul>
  48. 48. 2. Family Functioning <ul><ul><li>หน้าที่ด้านความรัก ความเอาใจใส่ (Affective Function) </li></ul></ul><ul><ul><li>หน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดู (Socialization Function) </li></ul></ul><ul><ul><li>หน้าที่ในการดูแลสุขภาพ (Health Care Function) </li></ul></ul><ul><ul><li>การเผชิญปัญหาของครอบครัว (Family Coping) </li></ul></ul>
  49. 49. ผลกระทบต่อสังคม <ul><li>ภาวะการเจ็บป่วยทางจิตเวชส่งผลให้รัฐบาลต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมาก </li></ul><ul><li>สูญเสียทรัพยากรบุคคลทางสังคมที่อาจจะสร้างประโยชน์ให้กับสังคม </li></ul><ul><li>สังคมเกิดความหวาดกลัวและระแวงในพฤติกรรมของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต เช่น กลัวถูกทำร้าย </li></ul>
  50. 50. <ul><ul><li>ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด </li></ul></ul><ul><ul><li>ความสุข การควบคุมพฤติกรรม ตรวจสอบความจริง ทำงานมีประสิทธิภาพ และรู้สึกดีเกี่ยวกับตนเอง เป็นวิธีการบอกภาวะสุขภาพจิต </li></ul></ul><ul><ul><li>กลไกปกป้องตนเองใช้กำจัดความวิตกกังวล ปรากฏในระดับ unconscious ปฏิเสธ หรือบิดเบือนจากความเป็นจริง </li></ul></ul>
  51. 51. <ul><li>บรรณานุกรม </li></ul><ul><li>มาโนช หล่อตระกูลและปราโมทย์ สุคนิชย์ . (2548). ตำราจิตเวชศาสตร์รามาธิบดี . กรุงเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์ รามาธิบดี . </li></ul><ul><li>ณัฐิยา พรหมบุตร . (2546). สุขภาพจิตของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท . การประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 2, สุขภาพจิตกับยาเสพติด ปี 2546, หน้า 169. ( วันที่ 19-21 สิงหาคม 2546 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร ) </li></ul><ul><li>พิเชฐ อุดมรัตน์ . ( บรรณาธิการ ). (2547). ระบาดวิทยาของปัญหาสุขภาพจิต และโรคทางจิตเวช ในประเทศไทย . ( พิมพ์ครั้งที่ 1). สงขลา : ลิมบราเดอร์ . รุจิรา </li></ul><ul><li>อำไพวรรณ พุ่มศรีสวัสดิ์ .(2543). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต . พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : ธรรมสาร จำกัด . </li></ul><ul><li>อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย .(2543). การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . </li></ul><ul><li>Fonagy, P. and Target, M. (2003). Psychoanalytic Theories: Perspectives from Developmental Psychopathology. London: Whurr Publishers. </li></ul><ul><li>Fontaine, Karen Lee. (2003). Mental Health Nursing . ( 5th ed.). New Jersey: Prentice Hall. </li></ul><ul><li>Freud, A. (1937). The Ego and the Mechanisms of Defence. London: Hogarth Press and Institute of Psycho- Analysis. </li></ul><ul><li>Miichelle Morrison-Valfre. (2005). Foundations of Mental Health Care . (3rd ed.). St. Louis: Mosby. </li></ul><ul><li>Stuart, G.W. & Laraia, M.T. (2005). Principles and practice of psychiatric nursing . (8th ed.). St. Louis: Mosby. </li></ul><ul><li>คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .(2553). วิชา พย . 323 การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช . </li></ul><ul><li>[ บทเรียน อิเลคทรอนิกส์ ]. วันที่ค้นข้อมูล 17 พฤษภาคม 2553, จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ </li></ul><ul><li>เวปไซด์ :http://e-learning.tu.ac.th/ </li></ul>

×