Diese Präsentation wurde erfolgreich gemeldet.
Die SlideShare-Präsentation wird heruntergeladen. ×

คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน

Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Anzeige
Nächste SlideShare
Who
Who
Wird geladen in …3
×

Hier ansehen

1 von 5 Anzeige

คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน

Herunterladen, um offline zu lesen

ในปี 2541 ผมเคยมีโครงการเขียนตำราเล่มหนึ่ง ชื่อว่า "คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน" ด้วยการตรวจร่างกายทางการแพทย์นั้นควรจะเป็นไปเพราะมีเหตุผลอันเหมาะสม มิใช่ว่ามีจังหวะดีสามารถตรวจได้ง่ายได้ถูกก็จะตรวจ เพราะการทดสอบแต่ละครั้งนั้นมีต้นทุนค่าใช้จ่ายเสมอ ถึงเราเบิกค่าใช้จ่ายจากหลวงได้ แต่ค่าน้ำยา ค่าไฟฟ้า ตลอดจนค่าจ้างเงินเดือนของเจ้าหน้าที่นั้น หลวงก็ยังคงต้องจ่ายอยู่ดี จึงมีแนวคิดที่จะอธิบายเหตุผลประกอบหลักการ "ไม่ดำเนินการทดสอบทางการแพทย์โดยไม่จำเป็น "

ในปี 2541 ผมเคยมีโครงการเขียนตำราเล่มหนึ่ง ชื่อว่า "คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน" ด้วยการตรวจร่างกายทางการแพทย์นั้นควรจะเป็นไปเพราะมีเหตุผลอันเหมาะสม มิใช่ว่ามีจังหวะดีสามารถตรวจได้ง่ายได้ถูกก็จะตรวจ เพราะการทดสอบแต่ละครั้งนั้นมีต้นทุนค่าใช้จ่ายเสมอ ถึงเราเบิกค่าใช้จ่ายจากหลวงได้ แต่ค่าน้ำยา ค่าไฟฟ้า ตลอดจนค่าจ้างเงินเดือนของเจ้าหน้าที่นั้น หลวงก็ยังคงต้องจ่ายอยู่ดี จึงมีแนวคิดที่จะอธิบายเหตุผลประกอบหลักการ "ไม่ดำเนินการทดสอบทางการแพทย์โดยไม่จำเป็น "

Anzeige
Anzeige

Weitere Verwandte Inhalte

Weitere von Surapol Imi (20)

Aktuellste (20)

Anzeige

คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน

  1. 1. คูมือแปลผลการตรวจรางกายฉบับประชาชน ในชวงหลายปที่ผานมานี้ ขาพเจามักจะถูกถามจากเพื่อนฝูงและผูใกลชิดอยูเสมอเกี่ยวกับการ ตรวจรางกายทางการแพทย เนื่องจากมีขาวสารประชาสัมพันธ และเชิญชวนใหไปตรวจสุขภาพผานเขามาใน หนวยงานเสมอ ๆ ซึ่งในแตละครั้งก็ดูนาสนอกสนใจเปนอยางมาก เพราะทางโรงพยาบาลจะเดินทางมา ใหบริการถึงที่ทํางานเลย ผูรับบริการไมตองเสียเวลาเดินทางไปโรงพยาบาลดวยตนเอง ไมตองไปนั่งรอเรียก ตรวจทีละครึ่งคอนวัน อีกทั้งยังสามารถเลือกรับการตรวจสุขภาพในหลายๆ แบบดวยราคาที่ถูกมากเมื่อเทียบกับ การไปรับบริการที่โรงพยาบาลดวยตนเอง เหตุผลที่ทางโรงพยาบาลสามารถคิดคาตรวจต่ํามาก นั้น สืบเนื่องจากเปนการตรวจสุขภาพพรอมกันทีละมากๆ การใช ทรัพยาการดานบุคลากร และดานน้ํายาหรือเครื่องมือทดสอบจึง ประหยัดลงไปตามขนาด ซึ่งก็จะมีผลใหทางโรงพยาบาลมีรายได เพิ่มขึ้นมาอีกทางหนึ่ง แถมยังชวยใหบริการตอสังคมอันเปนบุญเปน กุศลอีกตางหาก เพราะถาหากผูรับการตรวจมีความผิดปรกติทาง รางกายอยูบาง การไดรับรูถึงความผิดปรกติดังกลาวในระยะเริ่มๆ ตนของโรค ยอมจะชวยใหหาทางรับมือ และแกไขไดโดยไมยาก อยางไรก็ตาม แมวาจะมีโรงพยาบาลมาใหบริการตรวจรางกายถึงที่ทํางานอยูบอยๆ แต ขาพเจาเองกลับมิเคยไดเขารับบริการสักครั้งเดียว จึงออกจะเปนที่แปลกประหลาดใจแกเพื่อนรวมงานอยู พอควร เพราะตัวขาพเจานั้นสําเร็จการศึกษามาทางดานเทคนิคการแพทยโดยตรงทั้งในระดับปริญญาตรี และ ปริญญาโท เมื่อไดรับผลการตรวจก็สามารถจะวิเคราะหวินิจฉัยที่มาและที่ไปของผลดังกลาวไดดวยตนเอง เหตุผลที่ขาพเจามีใหกับตนเองก็คือ การตรวจรางกายทางการแพทยนั้นควรจะเปนไปเพราะมีเหตุผลอัน เหมาะสม มิใชวามีจังหวะดีสามารถตรวจไดงายไดถูกก็จะตรวจ เพราะการทดสอบแตละครั้งนั้นมีตนทุน คาใชจายเสมอ ถึงเราเบิกคาใชจายจากหลวงได แตคาน้ํายา คาไฟฟา ตลอดจนคาจางเงินเดือนของเจาหนาที่ นั้น หลวงก็ยังคงตองจายอยูดี แนวคิดที่จะไมดําเนินการทดสอบทางการแพทยโดยไมจําเปนของขาพเจานี้ พลอยถูกนําไปใช กับบุคคลใกลชิดของขาพเจาไปดวย เชน ในขณะภรรยาขาพเจาตั้งครรภออนๆ อยูนั้น ความที่มีอายุ คอนขางมากหนอยก็ออกจะเปนกังวลถึงเด็กในครรภไมได เมื่อแพทยเสนอใหทดสอบอุลตราซาวน เธอจึงมา สอบถามความเห็นขาพเจาวาควรจะทําดีหรือไม ซึ่งขาพเจาก็แสดงความคิดเห็นไปวานาจะยังไมถึงเวลา เพราะ ถาจะดูเพศก็ยังดูไมได (แตสุดทาย เธอก็ไปทดสอบดูอุลตราซาวนดวยตนเอง ซึ่งถึงจะแพงไปบางก็คุมคาในทาง จิตใจ เพราะเธอไดตื่นเตนกับการเห็นตัวออนเคลื่อไหวเปนเงารางๆ บนหนาจอ) ตอมา เมื่อขาพเจาไดพบกับรุนพี่ซึ่งมีงานวิจัยเกี่ยวของกับการวิเคราะหโครโมโซมในน้ําคร่ํา ก็ ไดรับขอเสนอวาจะทําการทดสอบน้ําคร่ําเพื่อตรวจดูโครโมโซมของโรคปญญาออน (โรคดาวน ซินโดรม เกิดจาก การมีโครโมโซมชุดที่ 21 ถึงสามแทง จากเด็กปรกติที่มี 2 แทง โดยโรค ดาวน ซินโดรม นี้มีโอกาสเกิดขึ้นใน
  2. 2. กรณีที่มารดาที่มีอายุมากๆ สูงกวาปรกติ) ใหโดยไมคิดคาใชจาย ขาพเจาก็ไดปฏิเสธความหวังดีดังกลาวไปดวย ความขอบคุณ เพราะไดตั้งใจไวแตแรกแลววาจะไมตรวจ ดวยถึงแมเด็กในครรภจะเคราะหรายถึงขนาดนั้น ขาพเจาและภรรยาคงไมใจแข็งพอจะทําแทงได จากสองเรื่องที่ไดยกตัวอยางมานั้น ขาพเจามิไดคิดวาการตรวจรางกายทางการแพทยเปนสิ่งไม มีประโยชน ไมควรกระทํา เพียงอยากจะเสนอวา การเลือกที่จะดําเนินการทดสอบทางการแพทยควรเปน ความตองการของผูรับการทดสอบเอง โดยอาศัยขอมูลประกอบการตัดสินใจที่มากพอ เพราะบางครั้งการ ตรวจรางกายโดยไมมีเปาหมายของการตรวจสอบอยางแนชัดอาจจะนําผลเสียทางสุขภาพของผูตรวจติดตามมา ดวย นอกเหนือไปจากการเสียเงินเสียทอง หรือในบางครั้ง หากศึกษาใหแนชัดลงไปจริงๆ ก็จะพบวาผลการ ตรวจรางกายอาจจะไมไดมีสวนชวยในการวิเคราะหวินิจฉัย และการใหการรักษาโรคที่กําลังดําเนินไปสักเทาใด เชน อาจจะสนองความอยากรูของแพทย หรือมีผลตอวงการศึกษา มากกวาที่จะมีประโยชนตอผูถูกทดสอบ ฯลฯ อยางไรก็ตาม การที่ประชาชนทั่วไปซึ่งไมไดผานการศึกษาทางการแพทยมากอน จะตัดสินใจ เลือกวารับ หรือไมรับการทดสอบอะไรบางจากโรงพยาบาลนั้น ดูออกจะเปนเรื่องที่เปนไปไดยากมากในทาง ปฏิบัติ เพราะหากเราไมมีความรู และไมมีขอมูลเกี่ยวกับวิธีการทดสอบทางการแพทยกันมาบาง เราก็คงไมรู วาการทดสอบดังกลาวจะจําเปนตอการรักษาหรือไมอยางไร เปรียบงายๆ เหมือนเรานํารถไปใหอูซอม หาก เราไมมีความรูเรื่องเครื่องยนต หรือรถยนตอยูเลย ชางจะทําอะไรหรือจะบอกอะไร เราก็คงตองเชื่อตามนั้น (รางกายมนุษยซับซอนกวารถยนตเปนรอยเปนพันเทา) ดังนั้น ผูเขียนจึงเกิดแนวความคิดที่จะเขียนตําราเกี่ยวกับการตรวจรางกายทางการแพทย ที่มี ลักษณะกระชับเขาใจงายๆ ขึ้นมาสําหรับผูอานที่มิไดศึกษาดานการแพทยมาโดยตรง เพื่อที่จะไดทราบถึง ประโยชนของการตรวจเหลานั้น มีประโยชน และมีขอจํากัดอะไรบาง และสามารถแปลผลการวิเคราะหที่ ไดรับอยางคราวๆ จะไดใชความรูเหลานี้เปนขอมูลประกอบการตัดสินใจวาจะปลอยใหแพทยผูรักษาทําอะไรกับ รางกายของตนไดบาง แนนอน ดวยความสลับซับซอนของอวัยวะในรางกายของเรา เราคงตองปลอยให บุคลากรทางการแพทยที่มีความชาญฉลาด และผานการอบรมกันมาอยางดี เปนผูตัดสินใจแกไขอาการของเรา ไปตามแตที่ทานเหลานั้นจะเห็นสมควร แตการไดมีความรูเรื่องการทดสอบทางการแพทยไวบางยอมจะชวยให การรักษาเปนไปอยางเหมาะสมสําหรับตัวเราเองมากยิ่งขึ้น การเขียนตํารา "คูมือการแปลผลการตรวจรางกายฉบับประชาชน" นี้ นอกจากจะมีประโยชน สําหรับประชาชนทั่วๆ ไปแลว ผูเขียนยังมีเจตจํานงแฝงอีกอยางหนึ่ง คือตั้งใจจะใชเปนตําราอานเสริม ประกอบการเรียนวิชา "อุปกรณการแพทย 2 438253" ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาควิชาฟสิกส อุตสาหกรรมและอุปกรณการแพทย อันเปนตนสังกัดของผูเขียนเอง ซึ่งจะสงผลใหการใชประโยชนจากตํารา เลมนี้เปนไปอยางคุมคามากที่สุด สมกับภาวะเศรษฐกิจที่ประเทศชาติของเรากําลังเผชิญอยู ดวยความรัก และศรัทธาในการเรียนรู สุรพล ศรีบุญทรง ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๑
  3. 3. พัฒนาการการทดสอบทางการแพทย เทคโนโลยีการตรวจรางกายทางการแพทย เปนหนึ่งในกลุมของเทคโนโลยีสมัยใหมที่ไดรับการ พัฒนาไปอยางรวดเร็ว ซึ่งถาเทียบจํานวนรูปแบบของการทดสอบที่มีอยูในปจจุบันกับการทดสอบในในอดีตเมื่อ สักยี่สิบปที่แลว เราจะพบวามันมีความแตกตางกันหลายเทาตัว จากป พ.ศ. 2520 ที่แพทยเคยมีรูปแบบการ ทดสอบใหเลือกใชไดไมเกิน 100 ชนิด ปจจุบัน มีรูปแบบการทดสอบทางการแพทยใหเลือกใชกับผูปวยนับได เปนจํานวนไมต่ํากวา 3,000 วิธี มีการประดิษฐ คิดคนเทคนิคใหมๆ ขึ้นมาอยางตอเนื่อง จนแทบจะ กลาวไดวามีมีเทคนิคการวิเคราะหโรคเกิดขึ้นใหมทุก วัน (กวาครึ่งหนึ่งของการทดสอบเปนการทดสอบ ที่กระทําตอเลือดของผูปวย) อยางไรก็ตาม แมวาจะมีเทคนิค การตรวจวิเคราะหทางการแพทยลักษณะใหมเกิด ขึ้นมาอยางมากมาย แตก็เปนที่นาสังเกตุวา ประโยชนที่ผูปวยจะไดรับจากการทดสอบทางการแพทยกลับมิได เพิ่มขึ้นไปในสัดสวนเดียวกันกับจํานวนการทดสอบที่เพิ่มขึ้นเลย เพราะในขณะที่จํานวนชนิดของการทดสอบ เพิ่มขึ้นในอัตราเปน 100 เปอรเซนต เปน 1,000 เปอรเซนต อัตราความแมนยํา และความจําเพาะของการ วินิจฉัยที่ไดรับเพิ่มขึ้นกลับมีเพิ่มขึ้นอยางมากไมเกิน 20 เปอรเซนต เชน อาจจะเพิ่มขึ้นจาก 80 เปอรเซนตไป เปน 90 เปอรเซนต ผลจากการมีเทคนิคการตรวจวิเคราะหใหเลือกใชทดสอบไดเปนจํานวนมาก สงผลใหปริมาณ การสงตรวจที่ถูกรองขอจากแพทยเจาของไขมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นไปดวยโดยปริยาย เพราะในทางทฤษฎี แพทย ยิ่งมีขอมูลเกี่ยวกับผูปวยมากเทาใด ก็ยิ่งจะสรุปถึงความผิดปรกติในตัวผูปวยไดอยางถูกตองแมนยํามากขึ้น เทานั้น และไมมีทางที่แพทยจะสรุปถึงความผิดปรกติของผูปวยไดจากการทดสอบชนิดหนึ่งชนิดใดเพียงอยาง เดียว ตองอาศัยผลจากการทดสอบหลายๆ อยางเขามาประกอบกัน ดังนั้น จึงยอมมิใชเรื่องนาแปลกใจอยางใด เลยที่ผลสํารวจของหนวยงานสาธารณสุขสหรัฐอเมริกาในชวงหลายปที่ผานมา จะไดขอสรุปออกมาวากวา ครึ่งหนึ่งของงบประมาณสาธารณสุขดานการรักษาพยาบาลไดถูกใชไปกับคาใชจายดานการทดสอบทางการแพทย กระนั้น การมีจํานวนการทดสอบใหเลือกใชไดเปนปริมาณมากๆ ไมไดเปนหลักประกันวา ผูปวยจะไดรับการรักษาพยาบาลที่ดีที่สุดเสมอไป ตราบใดที่เรายังไมสามารถจํากัดขอผิดพลาดตางๆ ในระหวาง การทดสอบออกไปใหหมดได ยกตัวอยางงายๆ เชนการหาปริมาณน้ําตาลในเลือดนั้น ก็อาจจะเกิดขอผิดพลาด ขึ้นไดในทุกขั้นตอน เริ่มดวยขั้นตอนการเจาะเลือด หากเปนการเจาะเลือดจากตําแหนงที่ตางกันผลลัพธที่ไดก็ จะแตกตางออกไปไดบางเล็กนอย หากใชสายยางรัดแขนนานเกินกวาปรกติ เลือดที่คั่งอยูปลายแขนก็จะมีความ เขมขนของน้ําตาลผิดปรกติไป การทดสอบในหลอดทดลองตางหลอดก็ใหผลตางไป การที่ผูปวยรับประทาน อาหารหรือยาอะไรมากอนลวงหนาก็อาจจะรบกวนผลการตรวจ รวมตลอดถึงการเทียบผลกับคามาตรฐานในการ ทดสอบแตละครั้งก็ยังมีโอกาสคลาดเคลื่อนไปไดบางเล็กนอย ฯลฯ
  4. 4. นอกจากนี้ เราอาจจะพบวามีบอยครั้งที่แพทยสั่งใหมีการทดสอบบางอยางโดยไมไดคํานึงถึง ผลประโยชนสูงสุดของผูปวยเปนหลัก เชน ในสถาบันที่มีโรงเรียนแพทย มีงานวิจัยทางการแพทยมากๆ นั้น แพทยอาจจะสั่งใหดําเนินการทดสอบกับผูปวยเพียงเพราะอยากรูวาจะไดผลตามตํารา หรือตามสมมติฐานของ งานวิจัยหรือไม ? หรืออยางในประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีกฏหมายเขมงวดมากๆ แพทยอาจจะสั่งใหมีการ ทดสอบทางการแพทยหลายๆ อยางทั้งที่ไมจําเปน เพียงเพื่อจะเก็บไวเปนหลักฐานปองกันตัว ในกรณีที่ผูปวย อาจจะยอนกลับฟองรองเรียกคาเสียหายภายหลัง หากเกิดความผิดพลาดขึ้นในขั้นตอนการรักษา (ในกรณีที่ แพทยมีจริยธรรมไมสูงนัก การสั่งใหดําเนินการทดสอบทางการแพทยบางอยางก็อาจจะเปนวิธีการแสวงหา รายไดอีกทางหนึ่ง เพราะบางครั้งอาจมีการเสนอผลประโยชนใหกับแพทยผูสั่งตรวจในอัตรา 20 % - 30 % ของอัตราคาตรวจ) ในการรับการทดสอบรางกายทางการแพทยทุกครั้ง ผูรับการตรวจควรตระหนักไวในใจเสมอ วา ไมมีการทดสอบใดที่ใหผลลัพธถูกตองสมบูรณแบบ 100 % ทั้งในแงของความไว (Sensitivity) และ ความจําเพาะ (Specificity) ฉนั้นการที่ใครสักคนหนึ่งอยูดีๆ แลวลุกขึ้นตรวจรางกายอยางนั้นอยางนี้อาจจะไม เปนการฉลาดนัก เพราะไมเพียงแตจะเจ็บตัว เสียเงินเปลา และ ตรวจไมพบโรคที่กําลังดําเนินไปเทานั้น แต ยังอาจจะทําใหเกิดผลกระทบในแงสุขภาพกาย และสุขภาพใจติดตามมาดวย หากเปนไปได ผูปวยควรจะไดรับการตรวจรางกายทางกายภาพ (Physcal examination) แบบพื้นฐานในลักษณะ คลํา ดู เคาะ ฟง รวมไปกับการสอบถามประวัติจากแพทยผูเชี่ยวชาญเสียกอน กอนที่ จะเริ่มเขาสูขั้นตอนการทดสอบทางการแพทยอื่นๆ ยกเวนการทดสอบแบบคราวๆ Screening อยางการใช แถบทดสอบปสสาวะ การทดสอบการตั้งครรภ หรือการทดสอบน้ําตาลในปสสาวะ ที่ผูปวยอาจจะลองทดสอบได ดวยตนเองโดยไมตองอาศัยบุคลากรทางการแพทย แตก็อีกนั่นแหละ หากผลการทดสอบดวย Screening test ออกมาวาผิดปรกติก็อยาเพิ่งตกอกตกใจไป เพราะน้ํายา Screening มักมีความไวสูงมาก จึงอาจจะให ผลบวกปลอม (False positive) ได ตองดําเนินการทดสอบยืนยัน ดวยเทคนิคการวิเคราะหที่มีความจําเพาะ (Specificity) มากขึ้น ตามปรกติ การทดสอบทางการแพทยแตละอยางมัก มีเทคนิควิเคราะหใหเลือกใชไดหลายๆ เทคนิค และเทคนิคที่มีความ ไวสูงมากๆ (High sensitivity) ก็มักจะมีขอดอยในแงที่อาจจะให ผลบวกปลอม (False positive) คือใหผลวิเคราะหเปนบวกทั้งที่ ผูรับการทดสอบมิไดปวยเปนโรคขึ้นไดบางในบางโอกาส ในทาง กลับกัน เทคนิคการวิเคราะหบางอยางที่มีความจําเพาะสูงมาก (High Specificity) ก็อาจจะใหผลลบปลอม (Flase Negative) ได บางเชนกัน ดังนั้น ในทางปฏิบัติจึงมักจะเลือกเอาการทดสอบที่มีความไวสูงๆ มาใชเปนการทดสอบเบื้องตน คราวๆ (Screening test) และถาหากผลการทดสอบเบื้องตนดังกลาวใหผลบวก จึงคอยสงผูปวยไปตรวจ วิเคราะหดวยเทคนิคที่มีความจําเพาะมากยิ่งขึ้น เพื่อเปนการยืนยัน (Confirmation test)
  5. 5. ยกตัวอยางเชน กาทดสอบหาภูมิตานทานตอเชื้อไวรัสเอดสนั้น เบื้องตนก็จะใชเทคนิคการ วิเคราะหแบบอีไลซาที่มีคงามไวสูงๆ กอน หากตรวจพบวาสิ่งสงตรวจรายใดใหผลบวก จึงคอยสงไปทดสอบ ดวยเทคนิคเวสเธิรน บลอต เพื่อยืนยันผล อยางไรก็ตาม แนวคิดที่จะใชเทคนิควิเคราะหความไวสูงเปนการทดสอบเบื้องตน และใชเทคนิค การวิเคราะหความจําเพาะสูงเปนการทดสอบยืนยันนี้ มิไดเปนจริงเสมอไปทุกสถานการณ ยังมีปจจัยอื่นๆ เขา มาเกี่ยวของกับการตัดสินใจของผูบริหารงานสาธารณสุขอีกหลายปจจัย อยางปจจัยที่วาดวยการเปนโรคติดตอ ซึ่งตองไดรับการควบคุม หรือปจจัยที่วาดวยโรคซึ่งจะมีผลกระทบทางจิตใจมากๆ อยางกรณีของโรคระบาดนั้น เราคงตองยอมใหเกิดผลบวกปลอมบาง เพื่อที่จะตัดโอกาสการแพรกระจายของเชื้อโรคจากผูปวยซึ่งมีผลลบ ปลอม ในทางกลับกัน กรณีของโรคมะเร็งที่ผลกระทบทางจิตใจรุนแรงมากๆ นั้น หากปลอยใหมีผลบวกปลอม เกิดขึ้น ก็จะเปนการทําบาปทํากรรมตอผูรับการทดสอบอยางมหาศาล

×