SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
#include ......... <stdio.h>
void main()
{
statement;
………………………….;
}
1
โครงสร้างภาษาซี
Main () function ส่วนฟังก์ชันหลัก
 ทุก ๆ โปรแกรมจะต้องมี
 โปรแกรมเริ่มทำงำนจำกคำสั่งแรกถัดจำก
main()
 แต่ละประโยคต้องจบด้วย ;
 เริ่มต้นด้วย main() ตำมด้วย { และจบด้วย }
2
3
statement
• กาหนดค่าคงที่ต่างๆ
เช่น a = 0; b = 500;
• การกาหนดตัวแปรต่างๆ
เช่น int a,b; float a,b;
• คาสั่งการทางานของโปรแกรม
เช่น printf(“My name is”);
ชนิดตัวแปร
Int = จำนวนเต็ม + , -
float = เลขทศนิยม
char = ตัวอักษร
bool = ค่ำลอจิก ถูก/ผิด
การกาหนดชนิดข้อมูลที่จะใช้ในโปรแกรมซึ่งตัวแปรหรือข้อมูล
ต่าง ๆ นั้นจะต้องถูกประกาศในส่วนนี้ก่อน จึงจะสามารถนาไปใช้
ในโปรแกรมได้ เช่น
เป็ นการกาหนดว่าตัวแปร stdno เป็ นข้อมูลชนิดจานวนเต็ม
หรือ interger ซึ่งอาจได้แก่ค่า 0,4,-1,-3,…. เป็ นต้น
เป็ นการกาหนดว่าตัวแปร score เป็ นข้อมูลชนิดเลขมีจุด
ทศนิยม (floating point)ซึ่งอาจมีค่า 0.23, 1.34 เป็ นต้น
ประกาศตัวแปร
int stdno;
float score;
กำรแสดงผลและรับค่ำข้อมูลเข้ำ
6
ฟังก์ชันแสดงผลข้อมูล
1. printf()
2. putchar()
3. puts()
1. ฟังก์ชัน printf();
 เป็นฟังก์ชันในกำรพิมพ์ข้อควำมต่ำง ๆ ออกทำง
จอภำพ
 ต้องทำกำร #include “stdio.h”
รูปแบบ
7
printf(“ข้อความ รหัส”,ตัวแปร);
ฟังก์ชัน printf : ตัวอย่ำง
8
printf(“Computer Programming 1”);
printf(“ComputernProgramming 1”);
printf(“Result is %f”,area);
printf(“Result isn%f”,area);
#include “stdio.h”
void main()
{
printf(“Hello World”);
//พิมพ์คำว่ำ Hello World ออกมำ
}
9
Hello World
#include “stdio.h”
void main()
{
printf(“Hellon”);
printf(“World”);
}
10
Hello
World
#include “stdio.h”
void main()
{
printf(“Hellon”);
printf(“Worldn”);
}
11
Hello
World

ฟังก์ชัน printf : รหัสแบ็กสแลช
12
รหัสแบ็กสแลช อักขระ
a bell (กระดิ่ง )
b backspace
t แท็บตามแนวนอน
n ขึ้นบรรทัดใหม่
v แท็บตามแนวตั้ง
f ขึ้นหน้าใหม่
r ปัดแคร่
” อัญประกาศ
’ อะโพสโตรฟิ
? เครื่องหมายคาถาม
 แบ็กสแลช
0 นัล
ฟังก์ชัน printf : รหัสควบคุมกำรพิมพ์
13
2. ฟังก์ชัน putchar()
 เป นฟ งก ชันที่มีกำรแสดงผลทำงจอภำพครั้งละ
1 ตัวอักษร
 ต้องทำกำร #include “stdio.h”
รูปแบบ
14
putchar(variable);
ฟังก์ชัน putchar : ตัวอย่ำง
15
#include “stdio.h”
void main ( ) {
char s;
s = ‘A’;
putchar(s);
}
A
3. ฟังก์ชัน puts()
 เป นฟ งก ชันที่มีกำรแสดงผลทำงจอภำพ
 ใช้เมื่อต องกำรแสดงผลของข อมูลที่เป นตัวอักษร
ควำมยำวมำกกว ำ 1 ตัว
 variable หมำยถึง ข อมูลที่ต องกำรแสดงผล จะต
องเป น
ข อมูลชนิดตัวอักษรควำมยำวตั้งแต 1 ตัวอักษร
รูปแบบ
16
puts(variable);
ฟังก์ชัน puts : ตัวอย่ำง
17
#include “stdio.h”
#include<string.h>
void main ( ) {
char str[30];
str = “C Programming”;
strcpy(str,”C programming”);
puts(str);
printf(“nOutput = %sn”,str);
}
C Programming
ฟังก์ชัน clrscr();
18
 เป็นฟังก์ชันในเคลียร์จอภำพ
 ต้องทำกำร #include “conio.h”
รูปแบบ
#include <conio.h>
void main()
{
clrscr();
...............
}
กำรแสดงผลและรับค่ำข้อมูลเข้ำ
19
ฟังก์ชันรับข้อมูลเข้ำ
1. scanf()
2. getchar()
3. getch(), getche()
4. gets()
1. ฟังก์ชัน scanf()
 เป็นฟังก์ชันในกำรอ่ำนค่ำจำกกำรกดคีย์บอร์ดไป
เก็บในตัวแปรที่กำหนด
 หลังจำกกด Enter ข อมูลจะถูกเก็บไว ในตัว
แปร และเคอร เซอร จะขึ้นบรรทัดใหม่
 ต้องทำกำร include “stdio.h”
รูปแบบ
20
scanf(“Control String”,arg1,arg2,arg3,..);
21
scanf(“%d%f”,&a,&b);
%d%f a,b
22 30a b…22 30….
Input Stream
int a;
float b;
scanf(“%d%f”,&a,&b);
ฟังก์ชัน Scanf : ตัวอย่ำง
22
int num;
scanf(“%d”,&num);
printf(“the value in num variable is %d”,num);
char str[80];
printf(“Enter a string : ”);
scanf(“%s”,str);
printf(“Here ‘s your string : %s”, str);
#include < stdio.h >
void main ( ) {
int years;
printf (“How long have you been here? ”);
scanf (“%d”, &years);
printf (“You’ve been here for %d years.”, years);
printf (“tReally?”);
}
23
How long have you been here? 20
You’ve been here for 20 years. Really?
2. ฟังก์ชัน getchar()
 เป็นฟังก์ชันใช สำหรับป อนตัวอักษรผ ำนทำงแป
นพิมพ โดยจะรับตัวอักษร 1 ตัวเท ำนั้น และ
แสดงตัวอักษรบนจอภำพ
 เมื่อโปรแกรมทำงำนถึงคำสั่งนี้ จะหยุดเพื่อให ป
อนตัวอักษร 1 ตัว หลังจำกกด Enter ตัวอักษรป อน
จะถูกเก็บไว ในตัวแปร ซึ่งเป นชนิดตัวอักษร
และเคอร เซอร จะขึ้นบรรทัดใหม
รูปแบบ
24
ch = getchar();
ฟังก์ชัน getchar : ตัวอย่ำง
25
#include “stdio.h”
void main ( ) {
char ch;
ch = getchar();
printf(“The Character you typed is %cn”, ch);
}
d
The Character you typed is d
 เป นฟ งก ชันในกำรรับข อมูล 1 อักษรโดยจะ
ปรำกฎตัวอักษรให เห็นในกำรป อนข อมูล และ
ไม ต องกด Enter
รูปแบบ
3. ฟังก์ชัน getch(),getche()
 เป นฟ งก ชันในกำรรับข อมูล 1 อักษรโดยไม
ปรำกฎอักษรให เห็นในกำรป อนข อมูล และ
ไม ต องกด Enter
รูปแบบ
26
ch = getch();
ch = getche();
ต้องกำหนด #include<conio.h>
ฟังก์ชัน getch : ตัวอย่ำง
27
#include “stdio.h”
#include “conio.h”
void main ( ) {
char ch;
ch = getch();
printf(“The Character you typed is %cn”, ch);
}
The Character you typed is d
4. ฟังก์ชัน gets()
 เป นฟ งก ชันในกำรรับข อมูลชนิดสตริงก
หรือข อควำมซึ่งป อนทำงแป นพิมพ
 เมื่อโปรแกรมทำงำนถึงคำสั่งนี้ จะหยุดเพื่อให ป
อน
ข อควำม หลังจำกกด Enter ข อควำมทั้งหมดจะถูก
เก็บไว ในตัวแปรที่เป นอำร เรย สตริงก
และเคอร เซอร จะขึ้นบรรทัดใหม
รูปแบบ
28
gets(variable);
ฟังก์ชัน gets : ตัวอย่ำง
29
#include “stdio.h”
void main ( ) {
char str[51];
gets(str);
printf(“The Message you typed is %sn”, str);
}
test
The Message you typed is test
เครื่องหมายที่ใช้คานวณในภาษาซีเรียกว่า
ตัวดาเนินการ (Operator) มีดังนี้
เครื่องหมายที่ใช้คานวณในภาษาซี
ตัวดำเนินกำร ควำมหมำย ตัวอย่ำง ผลลัพธ์
+ กำรบวก 6 + 8 14
- กำรลบ 7 – 5 2
* กำรคูณ 3 * 4 12
/ กำรหำร 8/2 4
- ลบ (ยูนำรีเครื่องหมำยลบ) -5 -5
% โมดูลัส
(หำเศษเหลือจำกกำรหำร)
7 % 2 1
4 % 2 0
ทาได้โดยระบุชนิดที่ต้องการเปลี่ยนภายใน
เครื่องหมาย ( ) แล้ววางหน้าตัวแปรหรือข้อมูล
ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงชนิด
ตัวอย่าง ถ้าในโปรแกรมภาษาซีมีการประกาศ
ตัวแปรเป็ น
ต้องการเปลี่ยนตัวแปร float ไปเป็ น integer
ทาได้ดังนี้
การเปลี่ยนชนิดของข้อมูล
float money;
(int) money;
นิพจน์กาหนดค่า (Assignment expression)
เครื่องหมายที่ใช้กาหนดค่าคือ = โดยเป็ นการ
กาหนดค่าทางขวาของเครื่องหมาย ให้กับตัวแปร
ที่อยู่ทางซ้าย เช่น
นิพจน์กาหนดค่า
j = 7+2;
k = k + 4;
หรือ
นิพจน์กาหนดค่า
สัญลักษณ์ ความหมาย
> มากกว่า
< น้อยกว่า
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
== เท่ากับ
!= ไม่เท่ากับ
ความแตกต่างของเครื่องหมาย = และ ==
o เครื่องหมาย = เป็ นตัวกาหนดค่า
o เครื่องหมาย == เป็ นเครื่องหมายเปรียบเทียบ
ตัวอย่างเช่น
หมายถึง เป็ นการกาหนดค่าให้กับตัวแปร point
ให้มีค่าเท่ากับ 44
หมายถึง เป็ นการตรวจสอบว่าค่า point มีค่า
เท่ากับ 44 หรือไม่
นิพจน์กาหนดค่า
point = 44;
point == 44;
เครื่องหมายและนิพจน์เปรียบเทียบแบบ
ตรรกศาสตร์
&& หมายถึง และ (and)
| | หมายถึง หรือ (or)
! หมายถึง ไม่ (not)
ตัวอย่างเช่น
จะได้ค่าความจริงเป็ นจริงก็ต่อเมื่อ a และ
b เป็ นจริงทั้งคู่
จะได้ค่าความจริงเป็ นเท็จก็ต่อเมื่อ a และ
b เป็ นเท็จทั้งคู่
เครื่องหมายและนิพจน์แบบตรรกศาสตร์
a && b
a || b
สามารถใช้เครื่องหมายต่อไปนี้แทนการเพิ่มหรือ
ลดค่าของตัวแปร
++ เป็ นการเพิ่มค่าให้กับตัวแปรทีละ 1
-- เป็ นการลดค่าตัวแปรทีละ 1
ตัวอย่างเช่น
++n เป็ นการเพิ่มค่า n อีก 1
--n เป็ นการลดค่า n ลง 1
ความแตกต่างระหว่าง n++ และ ++n เช่น
n = 5;
x = n++; จะได้ค่า x เท่ากับ 5
แล้วค่า n เท่ากับ 6
แต่ถ้า x = ++n; จะได้ค่า x เท่ากับ 6
การเพิ่มค่าและลดค่าตัวแปร

More Related Content

What's hot

capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2Thamon Monwan
 
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1Thamon Monwan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
capture แต่ล่ะ week  59170060 group1capture แต่ล่ะ week  59170060 group1
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1Thamon Monwan
 
59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกาBeam Suna
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6Ploy StopDark
 
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.Ploy StopDark
 
นางสาวภูริชา พลนิกร-59170111-กลุ่ม1-งานเดี่ยว
นางสาวภูริชา พลนิกร-59170111-กลุ่ม1-งานเดี่ยวนางสาวภูริชา พลนิกร-59170111-กลุ่ม1-งานเดี่ยว
นางสาวภูริชา พลนิกร-59170111-กลุ่ม1-งานเดี่ยวหน่อย หน่อย
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีmycomc55
 
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีคำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีSupaksorn Tatongjai
 

What's hot (20)

3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2
 
C lang
C langC lang
C lang
 
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
แคปเจอร์ คอม 59170031 group1
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
02 basic
02 basic02 basic
02 basic
 
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
capture แต่ล่ะ week  59170060 group1capture แต่ล่ะ week  59170060 group1
capture แต่ล่ะ week 59170060 group1
 
Python101
Python101Python101
Python101
 
59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน มาตรฐาน 6
 
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ 6.
 
power point.
power point.power point.
power point.
 
นางสาวภูริชา พลนิกร-59170111-กลุ่ม1-งานเดี่ยว
นางสาวภูริชา พลนิกร-59170111-กลุ่ม1-งานเดี่ยวนางสาวภูริชา พลนิกร-59170111-กลุ่ม1-งานเดี่ยว
นางสาวภูริชา พลนิกร-59170111-กลุ่ม1-งานเดี่ยว
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซีคำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
คำสั่งในโปรแกรมภาษาซี
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
12
1212
12
 

Similar to 7 2โครงสร้าง

การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกคอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกSumalee Sonamthiang
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C ProgrammingWarawut
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีPatipat04
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadIMC Institute
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูลteedee111
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 

Similar to 7 2โครงสร้าง (20)

การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกคอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
เริ่มต้นกับภาษาซี
เริ่มต้นกับภาษาซีเริ่มต้นกับภาษาซี
เริ่มต้นกับภาษาซี
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
ฟังก์ชั่น Switch
ฟังก์ชั่น Switchฟังก์ชั่น Switch
ฟังก์ชั่น Switch
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Tec4
Tec4Tec4
Tec4
 
Lab intro-5-1
Lab intro-5-1Lab intro-5-1
Lab intro-5-1
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 

More from Supaksorn Tatongjai (20)

Work30243 new58
Work30243 new58Work30243 new58
Work30243 new58
 
7 3 condition
7 3 condition7 3 condition
7 3 condition
 
7 1 dev c++
7 1 dev c++7 1 dev c++
7 1 dev c++
 
Work20253
Work20253Work20253
Work20253
 
Week4-16
Week4-16Week4-16
Week4-16
 
Week4-1
Week4-1Week4-1
Week4-1
 
Week3-14
Week3-14Week3-14
Week3-14
 
Week3-13
Week3-13Week3-13
Week3-13
 
Week3-2
Week3-2Week3-2
Week3-2
 
Week3-1
Week3-1Week3-1
Week3-1
 
Week2-13
Week2-13Week2-13
Week2-13
 
Week2-12
Week2-12Week2-12
Week2-12
 
Week2-2
Week2-2Week2-2
Week2-2
 
Week2-1
Week2-1Week2-1
Week2-1
 
Week1-11
Week1-11Week1-11
Week1-11
 
Week1-1
Week1-1Week1-1
Week1-1
 
M1-Programs1
M1-Programs1M1-Programs1
M1-Programs1
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 
Week4-46
Week4-46Week4-46
Week4-46
 
Week4-1
Week4-1Week4-1
Week4-1
 

7 2โครงสร้าง