SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
พระภัทรธร ยโสธโร
น.ธ.ตรี, สศ.บ (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย)

แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่ม๑
ี
คาว่าปัญญานั้น แปลว่า ความรู้แบ่งออกเป็นสองอย่าง คือ ปัญญาทางโลก และปัญญาทาง
ธรรม ปัญญาทางโลก คือ ความจริงที่เกิดขึ้นจากการรับรู้ของร่างกายและจิตใจ จากการเปรียบเทียบ
ปัญญาทางโลกนั้นนาพาความสุขทางกายและทางใจ ในระยะเวลาสั้นชั่วครั้ง ชั่วคราว ทาให้มนุษย์
หลงใหลในโลกียะสุข เป็นปัญญาที่เกิดจากการแสวงหาไม่มีที่สิ้นสุด
ส่วนปัญญาทางธรรมนั้น คือ ปัญญาที่เกิดจากการฝึกอบรมสมาธิภาวนา จนถึงขั้นเกิดญาณ
หยั่งรู้สภาพความเป็นไปของชีวิตตามความเป็นจริง เป็นปัญญาที่เกิดความดับทุกข์ และชีวิตหลุดพ้น
จากการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์ ปัญญาทางธรรม มีอยู่ ๕ อย่างคือ
๑. ทางไปอบายภูมิ ๔
๒. ปัญญารู้จักทางไปมนุษย์
๓. ปัญญารู้จักทางไปสวรรค์
๔. ปัญญารู้จักทางไปพรหม
๕. ปัญญารู้จักทางไปนิพพาน
๑. อบายภู มิ แปลว่ า ภู มิ ต่ า ภู มิ เ ลว สั ต ว์ เ ดรั จ ฉาน ทั้ ง ๔ ภู มิ นี้ ความโลภ ความ
โกรธ ความหลง เป็นผู้นาไป คือ
ก. โดยส่วนมาก ความโลภ นาไปเป็น เปรต กับ อสุรกาย
ข. โดยส่วนมาก ความโกรธ นาไปเป็น สัตว์นรก
๑

ปรับปรุงจากบทเทศน์วันพระในพรรษา ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ณ วัดป่าโยธาประสิทธิ์ จังหวัดสุรินทร์ เมื่อวันพฤหัสบดี
กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

ที่ ๑๙ เดือน
ค. โดยส่วนมาก ความหลง นาไปเป็น สัตว์เดรัจฉาน
๒. ทางไปมนุษย์นั้น ได้แก่ ศีล ๕ ผู้ใดมีศีล ๕ บริบูรณ์ ผู้นั้นชื่อว่า มนุษย์สภูโต แปลว่า
เป็ น คนเต็ ม คน ถ้ า ผู้ ใ ดมี ศี ล ๕ บริ บู ร ณ์ แ ล้ ว ยั ง ได้ แ สวงหาบุ ญ กุ ศ ลต่ อ ไปอี ก เช่ น ให้ ท าน ฟั ง
ธรรม เรียนธรรม ปฏิบัติธรรม เพื่อหวังผลอันไพบูลย์ยิ่งๆ ขึ้นไป ผู้นั้นชื่อว่า มนุษย์สเทโว แปลว่า
มนุษย์เทวดา คือตัวเป็นคนแต่ใจเป็นเทวดา เพราะใจสูง ใจประเสริฐ ใจมีศีลมีธรรม ใจมีวัฒนธรรมอัน
สูง
๓. ทางไปสวรรค์นั้ น ได้ แ ก่ มหากุศล มีใ ห้ทาน รั กษาศีล ฟั ง ธรรม เรีย นธรรม ปฏิ บั ติ
ธรรม สร้างโรงเรียน สร้างโรงพยาบาล สร้างโบสถ์ สร้างวิหาร สร้างศาลาการเปรียญ สร้างพระ
ประธาน บวชลูกบวชหลาน บวชตัวเอง ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เป็นต้น
๔. ทางไปพรหมนั้ น ได้ แ ก่ อารมณ์ ของสมถกรรมฐาน ๔๐ อย่ า ง มีกสิ ณ ๑๐ อสุ ภ ะ
๑๐ อนุสสติ ๑๐ เป็นต้น พวกใดได้เจริญสมถกรรมฐานข้อใดข้อหนึ่ง เช่น เพ่งดิน น้า ลม ไฟ เป็น
ต้น จนได้บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ตลอดถึงอรูปฌาน เมื่อตายแล้ว ผู้นั้น
ย่อมได้ไปเกิดในพรหมโลก
ทางสายที่ ๑ ถึง สายที่ ๔ นี้ แม้พระพุทธเจ้าจะมาอุบัติตรัสในโลกก็ตาม ไม่มาตรัสก็ตามมี
สอนกันอยู่ก่อนแล้ว เช่น อาฬารดาบส อุทกดาบส เป็นตัวอย่าง ผู้ที่จะพิสูจน์ได้ว่า อบายภูมิ ๔ มีจริง
หรือไม่ สวรรค์มีจริงหรือไม่ พรหมโลกมีจริงหรือไม่ มรรคผล นิพพานมีจริงหรือไม่นั้น ต้องพิสูจน์ได้
ด้วยการปฏิบัติ คือต้องเดินทางสายที่ ๕ ได้แก่ทางไปนิพพาน
๕. ทางไปนิพพานนั้น ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔ หรือวิปัสสนากรรมฐาน ซึ่งเหมาะแก่บุคคลทุก
เพศ ทุกวัย สาหรับ ผู้มีเวลาน้อยก็ปฏิบัติได้ทั้งนั้น มีวิธีปฏิบัติย่อๆ ดังนี้คือ
ก่อนจะนอน ถ้ามีเวลาให้ไหว้พระเสียก่อน แล้วนั่งขัดสมาธิ กาหนดลมหายใจเข้าพร้อมกับ
ภาวนาในใจว่า พุท กาหนดหายใจออกพร้อมกับภาวนาในใจว่า โธ ให้ภาวนาในใจกลับไปกลับมาอยู่
อย่างนี้ แม้เวลานอนก็ให้ว่า พุทโธ จนหลับไปด้วย
ภาวนาโดยใช้เวลาสักวันละ ๑ ชั่วโมง แล้วให้ปฏิบัติอย่างนี้สืบไปเป็นกิจวัตร ถ้าได้มากกว่านี้
ยิ่งเป็นการดี ถ้าใครปฏิบัติอย่างนี้ เรียกว่า เจริญสติปัฏฐาน ๔ คือเจริญวิปัสสนากรรมฐาน นั่นเอง
ทางนี้แหละเป็นทางสายเอก เป็นไปพร้อมเพื่อความบริสุทธิ์หมดจดของคนทั้งหลาย เพื่อล่วง
ความโศกเศร้าเสียใจปริเทวนาการต่างๆ เพื่อดับทุกข์ โทมนัส เพื่อดับกิเลสตัณหา ดับความเดือดร้อน
นานาประการ เพื่อบรรลุมรรค ผล นิพพาน ดังพุทธบรรหารว่า
เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มรรคโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา เป็นต้น แปลว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
ทางสายนี้เป็นทางสายเอก เป็นไปพร้อมเพื่อความบริสุทธิ์หมดจดของสัตว์ทั้งหลาย ดังนี้เป็นต้น
การปฏิบัติอย่างนี้ เป็นการบาเพ็ญศีล สมาธิ ปัญญา เช่น ขณะที่นั่งภาวนาว่า พุทโธ อยู่นั้น
กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ มโนกรรม ๓ บริสุทธิ์ดี จัดเป็นศีล
ใจไม่เผลอจากพุทโธคือใจอยู่กับรูปกับนาม เรียกว่า สมาธิ เมื่อเห็นพุทโธเห็นรูปนาม เห็นพระ
ไตรลักษณ์ ตามความเป็นจริง ตลอดจนเห็นอริยสัจจธรรมทั้ง ๔ เรียกว่า ปัญญา
การปฏิบัติอย่างนี้ เป็นการปฏิบัติตามอัฏฐังคิกมรรคทั้ง ๘ อันเป็นมัชฌิมา ปฏิปทา คือทาง
สายกลาง กลางอยู่ ที่ รู ป นาม กลางอยู่ ที่ พุ ท โธนั่ น เอง เพราะศี ล สมาธิ ปั ญ ญา ได้ รู ป นามเป็ น
อารมณ์ ทางสายนี้มีปรากฏอยู่เฉพาะในพระพุทธศาสนาเท่านั้น
การปฏิบัติอย่างนี้ ชื่อว่าได้บูชาพระพุทธเจ้า ด้วยการปฏิบัติบูชา ซึ่งพระพุทธองค์ทรงยกย่อง
ว่าเป็นการบูชาอย่างสูงที่สุดในพระพุทธศาสนา
เมื่อปฏิบัติถูกต้องตามทางสายนี้ จะได้ผลวิเศษ โดยย่อๆ เป็น ๔ อย่างคือ
๑. จะได้ปัจจุบันธรรม
๒. จะได้เห็นรูปนาม
๓. จะได้เห็นพระไตรลักษณ์
๔. จะได้บรรลุมรรค ผล นิพพาน
ถ้าจะกล่าวโดยส่วนกลาง ผู้ปฏิบัติจะได้บรรลุ วิสุทธิมรรค ๗ มีศีลอันบริสุทธิ์หมดจด เป็นต้น
ถ้าจะกล่าวโดยส่วนพิสดาร ผู้ปฏิบัติจะได้บรรลุญาณ ๑๖ มีนามรูปปริเฉสญาณ คือปัญญา
กาหนดรู้รูปนาม เป็นต้น
เมื่ อ ผ่ า นการปฏิ บั ติ แ ละได้ ผ ลประจั ก ษ์ ชั ด อย่ า งนี้ แ ล้ ว จึ ง จะพิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ า บุ ญ บาปมี
จริง นรก สวรรค์ พรหมโลก มีจริง มรรค ผล นิพพาน มีจริงหายข้องใจสงสัยอย่างเด็ดขาด ถ้ายังไม่
ผ่านอย่างนี้ ความสงสัยลังเลใจยังมีอยู่ เพราะวิจิกิจฉายังไม่สิ้นไป พระพุทธศาสนางามในเบื้องต้น
ด้วยศีล งามในท่ ามกลางด้วยสมาธิ งามในที่สุดด้วยปัญญา งามในเบื้องต้นด้วยปริยัติ งามใน
ท่ามกลางด้วยปฏิบัติ งามในที่สุดด้วยปฏิเวธ
ดังนั้น เมื่อพิสูจน์แล้วจึงจะรู้ได้ว่าปัญญาเป็นแสงสว่างในโลกจริง คือส่องสว่างทั้งโลกนี้ ทั้ง
โลกหน้า จนกระทั่งถึงโลกุตระธรรมนาสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์ ประสบสุขอันไพบูลย์ กล่าวคือ มรรค ผล
นิพพาน ดังพุทธบรรหารว่า
นตฺถิ ปญฺญา สมาอาภา แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี

More Related Content

What's hot

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธreemary
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิTeacher Sophonnawit
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึกWataustin Austin
 

What's hot (20)

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 

Similar to แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdfอานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdfTotsaporn Inthanin
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 

Similar to แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี (20)

บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdfอานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
อานาปานสติ 16 ขั้น สอนโดย พระมหาวรพรต กิตฺติวโร (ป.ธ.6).pdf
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 

More from Kiat Chaloemkiat

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นKiat Chaloemkiat
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมKiat Chaloemkiat
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมKiat Chaloemkiat
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมKiat Chaloemkiat
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรมKiat Chaloemkiat
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกKiat Chaloemkiat
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์Kiat Chaloemkiat
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔Kiat Chaloemkiat
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกKiat Chaloemkiat
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาKiat Chaloemkiat
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่Kiat Chaloemkiat
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโลKiat Chaloemkiat
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณKiat Chaloemkiat
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดKiat Chaloemkiat
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)Kiat Chaloemkiat
 

More from Kiat Chaloemkiat (17)

กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่นกระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
กระแสโลกกับความอยู่รอดของท้องถิ่น
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
แผนการจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรม
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรม
 
เทวตาธรรม
เทวตาธรรมเทวตาธรรม
เทวตาธรรม
 
เมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลกเมตตาค้ำจุ่นโลก
เมตตาค้ำจุ่นโลก
 
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
การประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์
 
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
ทุกข์ในอริยสัจจ์ ๔
 
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลกศีลเป็นเยี่ยมในโลก
ศีลเป็นเยี่ยมในโลก
 
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนาร่มเงาพระพุทธศาสนา
ร่มเงาพระพุทธศาสนา
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
 
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโลคำสอนของหลวงปู่ดูลย์  อตุโล
คำสอนของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล
 
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณพระกู้เกียรติ  กิตฺติโสภโณ
พระกู้เกียรติ กิตฺติโสภโณ
 
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุดการบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
การบูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นมงคลสูงสุด
 
โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘โลกธรรม ๘
โลกธรรม ๘
 
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
ธัมมะฐิตะกะถา (เทศน์ทำบุญอุทิศให้ยายยาน มาลีหวล)
 

แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี

  • 1. พระภัทรธร ยโสธโร น.ธ.ตรี, สศ.บ (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่ม๑ ี คาว่าปัญญานั้น แปลว่า ความรู้แบ่งออกเป็นสองอย่าง คือ ปัญญาทางโลก และปัญญาทาง ธรรม ปัญญาทางโลก คือ ความจริงที่เกิดขึ้นจากการรับรู้ของร่างกายและจิตใจ จากการเปรียบเทียบ ปัญญาทางโลกนั้นนาพาความสุขทางกายและทางใจ ในระยะเวลาสั้นชั่วครั้ง ชั่วคราว ทาให้มนุษย์ หลงใหลในโลกียะสุข เป็นปัญญาที่เกิดจากการแสวงหาไม่มีที่สิ้นสุด ส่วนปัญญาทางธรรมนั้น คือ ปัญญาที่เกิดจากการฝึกอบรมสมาธิภาวนา จนถึงขั้นเกิดญาณ หยั่งรู้สภาพความเป็นไปของชีวิตตามความเป็นจริง เป็นปัญญาที่เกิดความดับทุกข์ และชีวิตหลุดพ้น จากการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์ ปัญญาทางธรรม มีอยู่ ๕ อย่างคือ ๑. ทางไปอบายภูมิ ๔ ๒. ปัญญารู้จักทางไปมนุษย์ ๓. ปัญญารู้จักทางไปสวรรค์ ๔. ปัญญารู้จักทางไปพรหม ๕. ปัญญารู้จักทางไปนิพพาน ๑. อบายภู มิ แปลว่ า ภู มิ ต่ า ภู มิ เ ลว สั ต ว์ เ ดรั จ ฉาน ทั้ ง ๔ ภู มิ นี้ ความโลภ ความ โกรธ ความหลง เป็นผู้นาไป คือ ก. โดยส่วนมาก ความโลภ นาไปเป็น เปรต กับ อสุรกาย ข. โดยส่วนมาก ความโกรธ นาไปเป็น สัตว์นรก ๑ ปรับปรุงจากบทเทศน์วันพระในพรรษา ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ณ วัดป่าโยธาประสิทธิ์ จังหวัดสุรินทร์ เมื่อวันพฤหัสบดี กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ ๑๙ เดือน
  • 2. ค. โดยส่วนมาก ความหลง นาไปเป็น สัตว์เดรัจฉาน ๒. ทางไปมนุษย์นั้น ได้แก่ ศีล ๕ ผู้ใดมีศีล ๕ บริบูรณ์ ผู้นั้นชื่อว่า มนุษย์สภูโต แปลว่า เป็ น คนเต็ ม คน ถ้ า ผู้ ใ ดมี ศี ล ๕ บริ บู ร ณ์ แ ล้ ว ยั ง ได้ แ สวงหาบุ ญ กุ ศ ลต่ อ ไปอี ก เช่ น ให้ ท าน ฟั ง ธรรม เรียนธรรม ปฏิบัติธรรม เพื่อหวังผลอันไพบูลย์ยิ่งๆ ขึ้นไป ผู้นั้นชื่อว่า มนุษย์สเทโว แปลว่า มนุษย์เทวดา คือตัวเป็นคนแต่ใจเป็นเทวดา เพราะใจสูง ใจประเสริฐ ใจมีศีลมีธรรม ใจมีวัฒนธรรมอัน สูง ๓. ทางไปสวรรค์นั้ น ได้ แ ก่ มหากุศล มีใ ห้ทาน รั กษาศีล ฟั ง ธรรม เรีย นธรรม ปฏิ บั ติ ธรรม สร้างโรงเรียน สร้างโรงพยาบาล สร้างโบสถ์ สร้างวิหาร สร้างศาลาการเปรียญ สร้างพระ ประธาน บวชลูกบวชหลาน บวชตัวเอง ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เป็นต้น ๔. ทางไปพรหมนั้ น ได้ แ ก่ อารมณ์ ของสมถกรรมฐาน ๔๐ อย่ า ง มีกสิ ณ ๑๐ อสุ ภ ะ ๑๐ อนุสสติ ๑๐ เป็นต้น พวกใดได้เจริญสมถกรรมฐานข้อใดข้อหนึ่ง เช่น เพ่งดิน น้า ลม ไฟ เป็น ต้น จนได้บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ตลอดถึงอรูปฌาน เมื่อตายแล้ว ผู้นั้น ย่อมได้ไปเกิดในพรหมโลก ทางสายที่ ๑ ถึง สายที่ ๔ นี้ แม้พระพุทธเจ้าจะมาอุบัติตรัสในโลกก็ตาม ไม่มาตรัสก็ตามมี สอนกันอยู่ก่อนแล้ว เช่น อาฬารดาบส อุทกดาบส เป็นตัวอย่าง ผู้ที่จะพิสูจน์ได้ว่า อบายภูมิ ๔ มีจริง หรือไม่ สวรรค์มีจริงหรือไม่ พรหมโลกมีจริงหรือไม่ มรรคผล นิพพานมีจริงหรือไม่นั้น ต้องพิสูจน์ได้ ด้วยการปฏิบัติ คือต้องเดินทางสายที่ ๕ ได้แก่ทางไปนิพพาน ๕. ทางไปนิพพานนั้น ได้แก่ สติปัฏฐาน ๔ หรือวิปัสสนากรรมฐาน ซึ่งเหมาะแก่บุคคลทุก เพศ ทุกวัย สาหรับ ผู้มีเวลาน้อยก็ปฏิบัติได้ทั้งนั้น มีวิธีปฏิบัติย่อๆ ดังนี้คือ ก่อนจะนอน ถ้ามีเวลาให้ไหว้พระเสียก่อน แล้วนั่งขัดสมาธิ กาหนดลมหายใจเข้าพร้อมกับ ภาวนาในใจว่า พุท กาหนดหายใจออกพร้อมกับภาวนาในใจว่า โธ ให้ภาวนาในใจกลับไปกลับมาอยู่ อย่างนี้ แม้เวลานอนก็ให้ว่า พุทโธ จนหลับไปด้วย ภาวนาโดยใช้เวลาสักวันละ ๑ ชั่วโมง แล้วให้ปฏิบัติอย่างนี้สืบไปเป็นกิจวัตร ถ้าได้มากกว่านี้ ยิ่งเป็นการดี ถ้าใครปฏิบัติอย่างนี้ เรียกว่า เจริญสติปัฏฐาน ๔ คือเจริญวิปัสสนากรรมฐาน นั่นเอง ทางนี้แหละเป็นทางสายเอก เป็นไปพร้อมเพื่อความบริสุทธิ์หมดจดของคนทั้งหลาย เพื่อล่วง ความโศกเศร้าเสียใจปริเทวนาการต่างๆ เพื่อดับทุกข์ โทมนัส เพื่อดับกิเลสตัณหา ดับความเดือดร้อน นานาประการ เพื่อบรรลุมรรค ผล นิพพาน ดังพุทธบรรหารว่า เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มรรคโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา เป็นต้น แปลว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทางสายนี้เป็นทางสายเอก เป็นไปพร้อมเพื่อความบริสุทธิ์หมดจดของสัตว์ทั้งหลาย ดังนี้เป็นต้น
  • 3. การปฏิบัติอย่างนี้ เป็นการบาเพ็ญศีล สมาธิ ปัญญา เช่น ขณะที่นั่งภาวนาว่า พุทโธ อยู่นั้น กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ มโนกรรม ๓ บริสุทธิ์ดี จัดเป็นศีล ใจไม่เผลอจากพุทโธคือใจอยู่กับรูปกับนาม เรียกว่า สมาธิ เมื่อเห็นพุทโธเห็นรูปนาม เห็นพระ ไตรลักษณ์ ตามความเป็นจริง ตลอดจนเห็นอริยสัจจธรรมทั้ง ๔ เรียกว่า ปัญญา การปฏิบัติอย่างนี้ เป็นการปฏิบัติตามอัฏฐังคิกมรรคทั้ง ๘ อันเป็นมัชฌิมา ปฏิปทา คือทาง สายกลาง กลางอยู่ ที่ รู ป นาม กลางอยู่ ที่ พุ ท โธนั่ น เอง เพราะศี ล สมาธิ ปั ญ ญา ได้ รู ป นามเป็ น อารมณ์ ทางสายนี้มีปรากฏอยู่เฉพาะในพระพุทธศาสนาเท่านั้น การปฏิบัติอย่างนี้ ชื่อว่าได้บูชาพระพุทธเจ้า ด้วยการปฏิบัติบูชา ซึ่งพระพุทธองค์ทรงยกย่อง ว่าเป็นการบูชาอย่างสูงที่สุดในพระพุทธศาสนา เมื่อปฏิบัติถูกต้องตามทางสายนี้ จะได้ผลวิเศษ โดยย่อๆ เป็น ๔ อย่างคือ ๑. จะได้ปัจจุบันธรรม ๒. จะได้เห็นรูปนาม ๓. จะได้เห็นพระไตรลักษณ์ ๔. จะได้บรรลุมรรค ผล นิพพาน ถ้าจะกล่าวโดยส่วนกลาง ผู้ปฏิบัติจะได้บรรลุ วิสุทธิมรรค ๗ มีศีลอันบริสุทธิ์หมดจด เป็นต้น ถ้าจะกล่าวโดยส่วนพิสดาร ผู้ปฏิบัติจะได้บรรลุญาณ ๑๖ มีนามรูปปริเฉสญาณ คือปัญญา กาหนดรู้รูปนาม เป็นต้น เมื่ อ ผ่ า นการปฏิ บั ติ แ ละได้ ผ ลประจั ก ษ์ ชั ด อย่ า งนี้ แ ล้ ว จึ ง จะพิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ า บุ ญ บาปมี จริง นรก สวรรค์ พรหมโลก มีจริง มรรค ผล นิพพาน มีจริงหายข้องใจสงสัยอย่างเด็ดขาด ถ้ายังไม่ ผ่านอย่างนี้ ความสงสัยลังเลใจยังมีอยู่ เพราะวิจิกิจฉายังไม่สิ้นไป พระพุทธศาสนางามในเบื้องต้น ด้วยศีล งามในท่ ามกลางด้วยสมาธิ งามในที่สุดด้วยปัญญา งามในเบื้องต้นด้วยปริยัติ งามใน ท่ามกลางด้วยปฏิบัติ งามในที่สุดด้วยปฏิเวธ ดังนั้น เมื่อพิสูจน์แล้วจึงจะรู้ได้ว่าปัญญาเป็นแสงสว่างในโลกจริง คือส่องสว่างทั้งโลกนี้ ทั้ง โลกหน้า จนกระทั่งถึงโลกุตระธรรมนาสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์ ประสบสุขอันไพบูลย์ กล่าวคือ มรรค ผล นิพพาน ดังพุทธบรรหารว่า นตฺถิ ปญฺญา สมาอาภา แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี