SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
รายงาน
เรื่อ ง…การสื่อ สารผ่า นอิน เตอร์เ น็ต

                   เสนอ
        คุณ ครูจ ฑ ารัต น์ ใจบุญ
                 ุ

              จัด ทำา โดย
       นางสาวสุด ารัต น์ เมือ งสุข
           ม.6/2 เลขที่ 28

รายงานชิ้น นี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของวิช า
  การงานอาชีพ และเทคโนโลยี

 โรงเรีย นรัษ ฎานุป ระดิษ ฐ์อ นุส รณ์




                       คำา นำา
รายงานฉบับ นี้จ ด ทำา ขึ้น เพื่อ ประกอบการเรีย น
                   ั
วิช า... โดยมีจ ุด ประสงค์เ พื่อ ให้ผ ู้จ ด ทำา ได้ฝ ึก
                                          ั
การศึก ษาค้น คว้า และนำา สิง ที่ไ ด้ศ ึก ษาค้น คว้า
                               ่
มาสร้า งเป็น ชิ้น งานเก็บ ไว้เ ป็น ประโยชน์ต ่อ
การเรีย นการสอนของตนเองและครูต ่อ ไป
        ทั้ง นี้ เนื้อ หาได้ร วบรวมมาจาก
อิน เตอร์เ น็ต ขอขอบพระคุณ อาจารย์จ ุฑ ารัต น์
ใจบุญ อย่า งสูง ที่ก รุณ าตรวจ ให้ค ำา แนะนำา
เพื่อ แก้ไ ข ให้ข อ เสนอแนะตลอดการทำา งาน ผู้
                        ้
จัด ทำา หวัง ว่า รายงานฉบับ นีค งมีป ระโยชน์ต อ ผู้
                                   ้            ่
ที่น ำา ไปใช้ใ ห้เ กิด ผลสัม ฤทธิ์ต ามความคาด
หวัง




                                     ผู้จ ด ทำา
                                          ั




                    สารบัญ
เรื่อ ง
      หน้า
 การสื่อ สารผ่า นอิน เตอร์เ น็ต
           1-19
อ้า งอิง
      20




           การสื่อ สารผ่า นอิน เตอร์เ น็ต

   ในปัจ จุป ัน การใช้อ ิน เทอร์เ น็ต มีบ ทบาทกับ ชีว ิต
ประจำา วัน มากขึ้น และใช้ง านกัน อย่า งกว้า งขวาง
โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ความจำา เป็น ที่จ ะต้อ งติด ต่อ
สื่อ สาร อิน เตอร์เ น็ต จึง ได้ร ับ การพัฒ นาโครงสร้า ง
พื้น ฐานเพื่อ รองรับ การสื่อ สารรูป แบบต่า งๆ เช่น
การใช้จ ดหมายอิน เล็ก ทรอนิก ส์ การติด ต่อ ด้ว ย
เสีย ง ระบบ VDO Conference การใช้โ ทรศัพ ท์บ น
เครือ ข่า ย ซึ่ง ก็ม ีว ิว ัฒ นาการตามลำา ดับ เบื้อ งต้น ดัง นี้

E-mail
หรือ จดหมายอิเ ล็ก ทรอนิค ส์เ ป็น บริก ารอย่า งหนึ่ง ที่
นิย มใช้ก ัน อย่า งแพร่ห ลายมาก จนทำา ให้บ างคนคิด
ว่า E-mail คือ อิน เตอร์เ น็ต และอิน เตอร์เ น็ต คือ E-
mail วิธ ีใ ช้ง านอีเ มลล์ก ็ง ่า ยและมีป ระโยชน์ม าก
การทำา งานของ E-mail มีล ัก ษณะคล้า ยกับ ระบบ
ไปรษณีย ์ป กติ (หมายถึง ระบบที่ใ ช้ก ระดาษในการ
เขีย นจดหมาย ) กล่า วคือ ในระบบไปรษณีย ์ป กติม ี
หน่ว ยงานที่ท ำา หน้า ที่ใ นการรับ ส่ง จดหมายคือ เป็น
บรุษ ไปรษณีย ์ (ในกรณีข องประเทศไทยคือ การ
สื่อ สารแห่ง ประเทศไทย ) ถ้า เป็น ในอิน เตอร์เ น็ต สิ่ง
ที่ท ำา หน้า ที่ค อยรับ ส่ง จดหมายคือ บรรดา
คอมพิว เตอร์ท ั้ง หลายที่ท ำา หน้า ที่เ ป็น E-mail
Server (คอมพิว เตอร์ท ี่ท ำา หน้า ที่ใ ห้บ ริก ารด้า นจด
หมายอิเ ล็ก ทรอนิค ส์)

Chat
คือ การส่ง ข้อ ความสั้น ๆ ระหว่า งบุค คลที่อ ยู่ห น้า
เครื่อ งคอมพิว เตอร์ใ นเวลาเดีย วกัน และสามารถ
เขีย นโต้ต อบกัน ไปมาคล้า ยกับ การคุย กัน ซึง ก็ไ ด้ม ี
                                                ่
การพัฒ นโปรแกรมสำา หรับ หาร Chat ออกมา
มากมายที่เ ป็น ที่น ิย มและใช้ก ัน อย่า งแพร่ห ลายก็ค ือ
MSN Messenger
และสิ่ง หนึ่ง ที่ม ีก ารพัฒ นาต่อ มา คือ ระบบการสื่อ สาร
ด้ว ยเสีย งผ่า นเครือ ข่า ย IP ที่เ รีย กว่า เทคโนโลยี
Voice over IP หรือ ที่ร ู้จ ัก กัน โดยทั่ว ไปว่า “VoIP”
จนสามารถใช้ง านได้ด ีข ึ้น เพื่อ ให้ไ ด้ร ับ ประโยชน์
และมีค วามสะดวกมากที่ส ุด VoIP ถูก เริ่ม ต้น ใช้ง าน
กัน อย่า งกว้า งขวาง เพื่อ ให้เ ครื่อ งคอมพิว เตอร์ส ่ว น
บุค คลสามารถสนทนา ระหว่า งกัน ได้ รวมถึง การ
สนทนากับ โทรศัพ ท์พ ื้น ฐานอีก ด้ว ยโดยไม่เ สีย ค่า
บริก ารแต่อ ย่า งได และคุณ ภาพของบริก ารก็ถ ูก
พัฒ นาขึ้น มาเรื่อ ยๆจนเทีย บเท่า ระบบ โทรศัพ ท์พ ื้น
ฐาน

ซึ่ง VoIP สามารถแบ่ง ได้เ ป็น 3 ลัก ษณะคือ
1. คอมพิว เตอร์ส ่ว นบุค คล ไปยัง คอมพิว เตอร์ส ่ว น
บุค คล ( PC to PC )
PC มีก ารติด ตั้ง sound card และไมโครโฟน ที่
เชื่อ มต่อ อยู่ก ับ เครือ ข่า ย IP การประยุก ต์ใ ช้ PC
และ IP-enabled telephones สามารถสื่อ สารกัน
ได้แ บบจุด ต่อ จุด หรือ แบบจุด ต่อ หลายจุด โดย
อาศัย software ทางด้า น IP telephony




2. คอมพิว เตอร์ส ่ว นบุค คล ไปยัง โทรศัพ ท์พ ื้น ฐาน (
PC to Phone )
เป็น การเชื่อ มเครือ ข่า ยโทรศัพ ท์เ ข้า กับ เครือ ข่า ย
IP ทำา ให้โ ดยอาศัย Voice trunks ที่ส นับ สนุน
voice packet ทำา ให้ส ามารถใช้ PC ติด ต่อ กับ
โทรศัพ ท์ร ะบบปกติไ ด้




3. โทรศัพ ท์ก ับ โทรศัพ ท์ ( Telephony )
เป็น การใช้โ ทรศัพ ท์ธ รรมดา ติด ต่อ กับ โทรศัพ ท์
ธรรมดา แต่ใ นกรณีน ี้จ ริง ๆแล้ว ประกอบด้ว ยขั้น
ตอนการส่ง เสีย งบนเครือ ข่า ย Packet ประเภท
ต่า งๆซึ่ง ทั้ง หมดติด ต่อ กัน ระหว่า งชุม สายโทรศัพ ท์
(PSTN) การติด ต่อ กับ PSTN หรือ การใช้โ ทรศัพ ท์
ร่ว มกับ เครือ ข่า ยข้อ มูล จำา เป็น ต้อ งใช้ gateway




บทที่ 2 - Voice over IP (VoIP) คือ อะไร
ก่อนที่เราจะรู้ว่า VoIP คือออะไร สิ่งที่เราควรจะต้องรู้ก่อน
ก็คือ เครือข่าย IP มีหลักการพื้นฐานอย่างไร แล้วจึง
พัฒนาไปเป็น VoIP ได้อย่างไร
หลัก การพื้น ฐานของเครือ ข่า ย IP

เครือข่ายไอพี (Internet Protocol) มีพัฒนามาจาก
รากฐานระบบการสื่อสารแบบ Packet โดยระบบมีการ
กำาหนด Address ที่เรียกว่า IP Address จาก IP
Address หนึ่ง ถ้าต้องการส่งข่าวสารไปยังอีก IP
Address หนึ่ง ใช้หลักการบรรจุข้อมูลใส่ใน Packet
แล้วส่งไปในเครือข่าย ระบบการจัดส่ง Packet กระทำา
ด้วยอุปกรณ์สื่อสารจำาพวก Router โดยมีหลักพื้นฐานการ
ส่งเป็นแบบ DATAGRAM หรือ Packet ซึงมีความหมาย่
ว่า "เป็นที่เก็บข้อมูลที่เป็นอิสระ ซึงมีสารสนเทศเพียงพอใน
                                     ่
การเดินทางจากแหล่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง
โดยปราศจากความเชื่อมั่นของการเปลี่ยนครั้งก่อน
ระหว่างแหล่งข้อมูลกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง และเครือ
ข่ายการส่งข้อมูล"




ซึ่งจะเห็นว่าการส่งแบบ Packet เข้าไปในเครือข่ายนั้น จะ
ไม่มีการประกันว่า Packet นั้นจะถึงปลายทางเมื่อไร ดัง
นั้นรูปแบบของเครือข่ายไอพีจึงไม่เหมาะสมกับการสื่อสาร
แบบต่อเนื่องเช่น การส่งสัญญาณเสียง หรือวิดีโอ เมื่อเครือ
ข่าย IP กว้างขวางและเชื่อมโยงกันมากขึ้น ความต้องการ
ส่งสัญญาณข้อมูลเสียงที่ได้คุณภาพจึงเกิดขึ้น ก็เลยมีการ
พัฒนาเป็น VoIP
แล้ว Voice over IP (VoIP) คือ อะไร

VoIP-Voice Over IP หรือที่เรียกกันว่า “VoIP
Gateway” หมายถึง การส่งเสียงบนเครือข่ายไอพี เป็น
ระบบที่แปลงสัญญาณเสียงในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามา
เปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอล คือ นำาข้อมูลเสียงมาบีบอัด
และบรรจุลงเป็นแพ็กเก็ต ไอพี (IP) แล้วส่งไปโดยมีเรา
เตอร์ (Router) ที่เป็นตัวรับสัญญาณแพ็กเก็ต และแก้
ปัญหาบางอย่างให้ เช่น การบีบอัดสัญญาณเสียง ให้มี
ขนาดเล็กลง การแก้ปัญหาเมื่อมีบางแพ็กเก็ตสูญหาย หรือ
ได้มาล่าช้า (delay)

การสื่อสารผ่านทางเครือข่ายไอพีต้องมีเราเตอร์ (Router)
ที่ทำาหน้าที่พิเศษเพื่อประกันคุณภาพช่องสัญญาณไอพีนี้
เพื่อให้ขอมูลไปถึง ปลายทางหรือกลับมาได้อย่างถูกต้อง
          ้
และอาจมีการให้สิทธิพิเศษก่อนแพ็กเก็ตไอพีอื่น (Quality
of Service : QoS) เพื่อการให้บริการที่ทำาให้เสียงมี
คุณภาพ




นอกจากนั้น Voice over IP (VoIP) ยังเป็นการส่งข้อมูล
เสียงแบบ 2 ทางบนระบบเครือข่ายแบบ packet-
switched IP network. ซึ่งข้อมูลนี้จะถูกส่งผ่านเครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ตสาธารณะ เพื่อสื่อสารระหว่าง VoIP ด้วย
กัน โดยที่ยังคงความเป็นส่วนตัวไว้ได้

สำาหรับการใช้งานเทคโนโลยี VoIP นั้น จริงๆ แล้วทุกๆ
องค์กรสามารถนำาเทคโนโลยีนี้มาประยุกต์ใช้งานได้ แต่
สำาหรับกลุ่มเป้าหมายที่ตรงและน่าจะได้รับประโยชน์จาก
การนำาเทคโนโลยี VoIP มาประยุกต์ใช้งานมากที่สุด
ได้แก่... กลุ่มธุรกิจขนาดย่อม หรือ SME
(Small/Medium Enterprise) รวมถึงกลุ่ม ISP
(Internet Service Provider) ต่างๆ สำาหรับกลุ่มธุรกิจ
SME อาจจะต้องเป็นกลุ่มที่มีระบบเครือข่ายข้อมูลของ
ตนเองอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นเครือข่าย Leased Line,
Frame Relay, ISDN หรือแม้กระทั่งเครือข่าย E1/T1
ก็ตาม รวมถึงมีระบบตู้สาขาโทรศัพท์ในการใช้งานด้วย
การนำาเทคโนโลยี VoIP มาใช้งานนั้นจะทำาให้องค์กรลด
ค่าใช้จ่ายในการใช้งานการสื่อสารสัญญาณเสียงไปได้
อย่างมาก และเนื่องด้วยในปัจจุบันการขยายตัวของระบบ
เครือข่ายสัญญาณข้อมูล หรือ Data Network มีอัตรา
การเติบโตที่รวดเร็วกว่าการขยายตัวของเครือข่าย
สัญญาณเสียงค่อนข้างมาก จึงทำาให้มีการนำาเทคโนโลยีที่
สามารถนำาสัญญาณเสียงเหล่านั้นมารวมอยู่บนระบบเครือ
ข่ายของสัญญาณข้อมูลและมีการรับ-ส่งสัญญาณทั้งคู่ได้
ในเวลาเดียวกัน เพื่อเป็นการสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย
ไม่ว่าจะเป็นค่าโทรศัพท์ทางไกลต่างจังหวัด หรือรวมถึงค่า
โทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศด้วยถ้าหากองค์กรนั้นมีสาขา
อยู่ในต่างประเทศด้วย

สำาหรับกลุ่มธุรกิจ ISP นั้นสามารถที่จะนำาเทคโนโลยี VoIP
นี้มาประยุกต์ใช้งานเพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสในธุรกิจของ
ตนเองมากยิ่งขึ้น โดยทาง ISP ต่างๆ นั้นสามารถให้บริการ
VoIP เพื่อเป็นบริการเสริมเพิ่มเติมขึ้นมาจากการให้บริการ
ระบบเครือข่าย Internet แบบปกติธรรมดา หรือที่เรา
เรียกว่า Value Added Services ซึงถือว่าเป็นการสร้าง
                                      ่
ความแตกต่างและเพิ่มทางเลือกในการให้บริการกับกลุ่ม
ลูกค้าด้วย

บทที่ 3 - เทคโนโลยีแ ละการทำา งานของ VoIP
Standard of VoIP Technology

สำาหรับมาตรฐานที่มีการใช้งานอยู่บนเทคโนโลยี VoIP
นั้น โดยทั่วไปจะมีอยู่ 2 มาตรฐานด้วยกัน ได้แก่...
มาตรฐาน H.323 และมาตรฐาน SIP มาตรฐานเหล่านี้
เราสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า “Call Control
Technologies” ซึ่งถือว่าเป็นส่วนประกอบสำาคัญสำาหรับ
การนำาเทคโนโลยี VoIP มาใช้งาน

H.323 Standard
สำาหรับมาตรฐาน H.323 นั้น จริงๆ แล้วไม่ได้ถูกออกแบบ
มาให้ใช้งานกับระบบเครือข่ายที่ใช้ Internet Protocol
(IP) นอกจากนั้นมาตรฐาน H.323 ยังมีการทำางานที่ค่อน
ข้างช้า โดยปกติแล้วเราจะเสนอการใช้งานมาตรฐาน
H.323 ให้กับลูกค้าก็ต่อเมื่อในระบบเดิมของลูกค้ามีการ
ใช้งานมาตรฐาน H.323 อยู่แล้วเท่านั้น
 มาตรฐาน H.323 เป็นมาตรฐานภายใต้ ITU-T
(International Telecommunications Union)
Standard
 ในตอนแรกนั้น มาตรฐาน H.323 ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา
เพื่อเป็นมาตรฐานสำาหรับการทำา Multimedia
Conferencing บนระบบเครือข่าย LAN เป็นหลัก แต่มา
ในตอนหลังจึงถูกพัฒนาให้ครอบคลุมถึงการทำางานกับ
เทคโนโลยี VoIP ด้วย
  มาตรฐาน H.323 สามารถรองรับการทำางานได้ทั้งแบบ
Point-to-Point Communications และแบบ Multi-
Point Conferences
 อุปกรณ์ต่างๆ จากหลากหลายยี่ห้อ หรือหลายๆ
Vendors นั้นสามารถที่จะทำางานร่วมกัน (Inter-
Operate) ผ่านมาตรฐาน H.323 ได้

SIP (Session Initiation Protocol) Standard
มาตรฐาน SIP นั้นถือเป็นมาตรฐานใหม่ในการใช้งาน
เทคโนโลยี VoIP โดยที่มาตรฐาน SIP นั้น ได้ถูกออกแบบ
มาให้ใช้งานกับระบบ IP โดยเฉพาะ ซึงโดยปกติแล้วเราจะ
                                      ่
แนะนำาให้ลูกค้าใหม่ที่จะมีการใช้งาน VoIP ให้มีการใช้
งานอยู่บนมาตรฐาน SIP...
มาตรฐาน SIP นั้นเป็นมาตรฐานภายใต้ IETF Standard
ซึ่งถูกออกแบบมาสำาหรับการเชื่อมต่อ VoIP
 มาตรฐาน SIP นั้นจะเป็นมาตรฐาน Application
Layer Control Protocol สำาหรับการเริ่มต้น
(Creating), การปรับเปลี่ยน (Modifying) และการสิ้น
สุด (Terminating) ของ Session หรือการติดต่อสื่อสาร
หนึ่งครั้ง
 มาตรฐาน SIP จะมีสถาปัตยกรรมการทำางานคล้ายคลึง
การทำางานแบบ Client-Server Protocol
เป็นมาตรฐานที่มี Reliability ที่ค่อนข้างสูง




How VoIP Works…
ในส่วนนี้เราจะมาทำาความรู้จักเกี่ยวกับการทำางานของ
เทคโนโลยี VoIP กันนะครับ แต่ก่อนอื่นที่เราจะไปรู้จักกับ
กระบวนการต่างๆ ของเทคโนโลยี VoIP นั้น ผมขอนำาทุก
ท่านมารู้จักรูปแบบของโปรโตคอล IP กันอย่างคร่าวๆ
ก่อนนะครับ

Internet Protocol (IP)
Internet Protocol หรือ IP จะเป็นโปรโตคอลที่ใช้ใน
การสื่อสารข้อมูลในระบบ Internet ซึ่งในส่วนของการ
ทำางานคร่าวๆ ของโปรโตคอล IP นี้สามารถสรุปอย่างย่อ
ได้ดังต่อไปนี้...
• ข้อมูลจะถูกแบ่งย่อยออกเป็นส่วนๆ
• แต่ละส่วนของข้อมูลจะถูกส่งออกไปในเส้นทางที่อาจจะ
แตกต่างกันบนระบบ Internet
• ข้อมูลย่อยแต่ละส่วนนั้นจะไปถึงยังปลายทางในเวลา
และลำาดับที่ไม่พร้อมเพรียงกัน
• หลังจากนั้นจะมีโปรโตคอลอีกหนึ่งตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง
คือ Transmission Control Protocol (TCP) ซึ่ง TCP
นี้จะเข้ามาช่วยเกี่ยวกับการเรียงลำาดับข้อมูลที่มาถึงยัง
ปลายทางนี้ให้อยู่ในลำาดับและรูปแบบที่ถูกต้องเหมือน
ข้อมูลต้นแบบก่อนที่จะถูกส่งออกมา
• โปรโตคอล IP นี้จะเป็นโปรโตคอลในการสื่อสารแบบที่
เรียกว่า Connectionless Protocol ซึงเป็นการสื่อสารที่
                                         ่
จุดต้นทางและปลายของการสื่อสารไม่จำาเป็นที่จะต้องสร้าง
การเชื่อมต่อ (Connection) ขึนมา ณ เวลาที่ต้องการ
                               ้
ทำาการสื่อสาร

หลังจากได้ทราบคร่าวๆ เกี่ยวกับโปรโตคอล IP กันไปแล้ว
เราก็จะมาคุยกันถึงกระบวนการทำางานของเทคโนโลยี
VoIP กัน ซึงมีขั้นตอนอยู่พอสมควรดังต่อไปนี้...
           ่

Conversion to PCM (Pulse Code Modulation)
ในขั้นตอนแรกจะเป็นการแปลงสัญญาณ Analog ให้ไป
อยู่ในรูปแบบสัญญาณ Digital หรือที่เรียกว่า PCM

Removal of Echo




ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการมีการแยกสัญญาณออกเป็นส่วนๆ
เพื่อทำาการตัดสัญญาณ Echo ออก ซึ่งกระบวนการนี้จะถูก
จัดการโดย DSP (Digital Signal Processors)

Framing




ในส่วนของสัญญาณที่เหลือนั้น ก็จะถูกแบ่งและจัดรูปแบบ
ขึ้นมาใหม่ในรูปของ Frame ซึ่งกระบวนการนี้จะถูก
จัดการโดยรูปแบบการบีบอัดที่เรียกว่า CODEC หลังจาก
กระบวนการนี้แล้ว Frame ของสัญญาณเสียงจะถูกสร้าง
ขึ้น

Packetisation
ในกระบวนการนี้จะเป็นการแปลง Frame ของสัญญาณ
ให้มาอยู่ในรูปของ Packet ซึ่งจะมีการเพิ่ม Header
เข้าไปใน Packet โดยในส่วนของ Header นั้น ก็จะ
ประกอบไปด้วยข้อมูลที่เรียกว่า Sequence Number
และ Time Stamp หลังจากนั้น Packet นี้จะถูกส่งต่อไป
ที่ Host Processor

Address and Delivery




หลังจากที่ได้แปลงสัญญาณให้อยูในรูปของ Packet แล้ว
                                ่
ข้อมูลนั้นจะถูกนำามาวิเคราะห์และใส่ค่า IP Address
ปลายทาง

Conversion to Analog




หลังจากที่ได้ทำาการใส่ค่าของ IP Address ปลายทางไป
ใน Header ของ Packet แล้วนั้น เมื่อ Packet เหล่านั้น
ไปถึงด้านปลายทาง ข้อมูล Header เหล่านี้จะถูกแยกออก
เพื่อให้เหลือแค่ Voice Frame หลังจากนั้นก็จะทำาการ
แปลงสัญญาณ Digital PCM ให้กลับมาเป็นสัญญาณรูป
แบบ Analog ที่เป็นสัญญาณเสียงที่เราได้ยินกันอีกครั้ง
หนึ่ง

Error Correction
กระบวนการนี้จะเป็นกระบวนการที่ใช้ในการตรวจสอบ
และแก้ไขข้อผิดพลาดซึ่งอาจจะเกิดขึ้นระหว่างการส่ง
สัญญาณและนำามาซึ่งความผิดเพี้ยนหรือความเสียหาย
ของสัญญาณจนทำาให้เราไม่สามารถทำาการสื่อสารอย่าง
ถูกต้องได้

ระบบของ VoIP สามารถแบ่ง ได้เ ป็น 4 ส่ว นคือ

2.1 Voice Processing module
ทำาการสุ่มตัวอย่างสัญญาณเสียงเพื่อส่งผ่านเครือข่าย IP
ซอฟต์แวร์นี้โดยทั่วไปทำางานบน DSP (Digital Signal
Processing) Voice Processing module จะต้อง
ประกอบด้วยโปรแกรมซึ่งทำาหน้าที่ดังต่อไปนี้

2.1.1 PCM Interface
รับตัวอย่าง (สัญญาณสุ่ม) จาก telephony (PCM)
interface และส่งต่อให้กับ VoIP Software module
ปฏิบัติการต่อ PCM Interface จะทำาการสุ่มตัวอย่างเฟส
อีกครั้งจากตัวอย่างที่เป็นผลลัพธ์ของ analog interface
ซึ่งจะมีการทำาการบีบอัดเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน และ
ทำาการแปลงสัญญาณ Analog เพื่อไปเป็น Digital

2.1.2 Echo Cancellation Unit
เป็นหน่วยกำาจัดการสะท้อนของสัญญาณข้อมูลเสียงที่ถูก
สุ่มตัวอย่าง และรูปแบบของการสื่อสารเป็นแบบ full
duplex ตามมาตรฐานของ ITU G.165 หรือ G.168
echo cancellation จำาเป็นกรณีที่ความล่าช้า 1 รอบของ
VoIP มีค่ามากกว่า 50 ms

2.1.3 Voice Activity/Idle Noise Detector
มีหน้าที่ระงับการส่ง Packet เมื่อไม่มีสัญญาณเสียง ทำาให้
ประหยัดแถบความถี่ ถ้าตรวจจับได้ว่าไม่มีกิจกรรมเกิดขึ้น
ในช่วงเวลาหนึ่ง ผลลัพธ์ของ voice encoder จะถูก
ระงับไม่ให้ส่งผ่านเครือข่าย ระดับของเสียงว่างเปล่า (idle
noise) จะถูกวัดและแจ้งให้ปลายทางทราบเพื่อที่จะแทรก
"comfortable noise" เข้าไปในสายเพื่อไม่ให้คนฟังได้
รับสายเงียบในโทรศัพท์

2.1.4 Tone Detector
ทำาหน้าที่ตรวจจับการได้รับ DTMF tones (Dial Tone
Multi-Frequency; กลุ่มของ tones ที่ตรงตามมาตรฐาน
และถูกเขียนทับ ใช้ในสัญญาณโทรศัพท์ซงกำาเนิดโดย
                                     ึ่
touch tone pad) และแยกสัญญาณว่าเป็นเสียง หรือ
แฟกซ์

2.1.5 Tone Generator
มีหน้าที่กำาเนิด DTMF tones และ call progress
tones ภายใต้คำาสั่งของระบบปฏิบัติการ(OS)

2.1.6 Facsimile Processing module
มีหน้าที่ถ่ายถอดแฟกซ์โดย Stimulate สัญญาณ PCM
และแยกข่าวสารออกมา และบรรจุข้อมูลที่สแกนแล้วลงใน
Packet

2.1.7 Packet Voice Protocol module
มีหน้าที่รวบรวมสัญญาณเสียงที่ถูกบีบอัด และข้อมูลแฟกซ์
เพื่อส่งผ่านเครือข่ายข้อมูล แต่ละ Packet มีลำาดับเลขที่
ทำาให้ Packet ที่ได้รับถูกส่งเรียงกามลำาดับถูกต้อง และ
สามารถตรวจจับ Packet ที่หายได้

2.1.8 Voice Playout module ที่ปลายทาง ทำาหน้าที่
บัฟเฟอร์ Packet ที่ได้รับ และส่งต่อให้กับเครื่องเข้ารหัส
เสียง เพื่อเล่นเสียงออกมา




   รูปที่ 1 Block diagram ของ Voice Processing
                       Module




 รูปที่ 2 โครงสร้างภายในตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
                       ( DSP )
2.2 The Call Processing module
ทำาหน้าที่เป็น signaling gateway ยอมให้มีการสร้าง
call ผ่านเครือข่าย Packet ซอฟต์แวร์นี้ support E&M
(Ear & Mouth Signaling; สายส่งสัญญาณระหว่าง
PBX และ CO ใช้ในการจองสาย, ส่งต่อดิจิต และ เลิก
สาย) และ loop, Call Processing module จะตรวจจับ
สัญญาณเรียกใหม่ที่เกิดขึ้น และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับที่อยู่
ทำางานอ้างอิงตาม protocol H.323 มีฟังก์ชันที่ต้อง
ปฏิบัติดังนี้

2.2.1 ตรวจสอบ interface ที่ต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์
เพื่อรับคำาสั่ง และผลตอบที่จะเข้ามา

2.2.2 แยกข่าวสารออกมา และสิ้นสุดขั้นตอนการเข้า
สัญญาณ (terminate signaling protocols เช่น
E&M)

2.2.3 จัดการกับข่าวสารให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถเปิด
การประชุม (session) ผ่านเครือข่าย Packet แปลงเบอร์
โทรศัพท์เป็น IP address ขั้นตอนการหมุนเรียก
(dialing) มี 2 วิธีคือ
(1) single stage หมุนเรียกเบอร์ของปลายทาง และ ใช้
วิธีเลือกเส้นทางแบบอัตโนมัติ
(2) two stage หมุนเรียกเบอร์ของ VoIP gateway แล้ว
หมุนเรียกปลายทางจริง

2.3 Packet Processing module
เป็นขั้นตอนการบรรจุสัญญาณข้อมูลเสียงลงใน Packet
เพิ่ม transport headers ก่อนส่ง Packet ผ่านเครือข่าย
IP (หรือเครือ Packet อื่นๆ) แปลงข่าวสารของสัญญาณ
จาก telephony protocol เป็น packet signaling
protocol

VoIP ทำางานโดยอาศัย protocol ทีชื่อว่า H.323 ซึ่งเป็น
                                  ่
ชุดของมาตรฐานที่เกี่ยวกับหลายเรื่องรวมกัน โดยคลอบ
คลุมทั้งการสื่อสารแบบ จุดต่อจุด และหลายจุดพร้อมๆกัน

(1) Terminal คือ client หรือจุดทีข้อมูล H.323 ถูก
                                    ่
สร้างหรือขึ้น หรือสิ้นสุดการเดินทาง ซึ่งอาจจะเป็น PC
หรือว่า เครื่องโทรศัพท์ที่สนับสนุน เครือข่าย IP ซึ่งอาจจะ
สนับสนุนสัญญาณวีดีโอด้วยก็ได้ Gateway คือ ใช้
สำาหรับเชื่อมต่อเครือข่ายที่ต่างชนิดกัน เพื่อทำาการแปลง
ชนิดของข้อมูลให้เข้ากันได้กับเครือข่ายที่จะเชื่อมต่อ

(2) Gatekeeper เป็นตัวช่วยบริการต่างๆในแต่ละฝั่งของ
เครือข่าย ซึงมีหน้าที่ในการ แปลง address ระหว่าง
            ่
หมายเลขโทรศัพท์ กับหมายเลข IP , จำากัดการใช้งาน
ของแต่ละ terminal , บริหาร bandwidth และจัดการ
เกี่ยวกับการหาเส้นทางให้กับ Packet
Multipoint Control Unit (MCU) ใช้ในการติดต่อแบบ
หนึ่งจุดกับหลายจุด โดยจะทำาการสร้างวงจรเสมือน ขึนมา
                                                 ้
ให้กับ terminal แต่ละตัวที่ทำาการสนทนากันอยู่

2.3.1 Procedures ของ H.323
 Audio Codecs
G.711 PCM สำาหรับย่านความถี่เสียงพูด
G.722 7kHz audio coding ที่ 64kb/s
G.723.1 dual rate speech coders สำาหรับส่งข้อมูล
multimedia ที่ 5.3 และ 6.3 kb/s
G.728 Coding สำาหรับเสียงพูดที่ 16 kb/s ใช้ Linear
prediction
G.729 Coding สำาหรับเสียงพูดที่ 16 kb/s ใช้
conjugate-structure algebraic code excite
linear prediction
 Video codes
H.261 Coding สำาหรับ ภาพและเสียง ที่ p*64 kb/s
H.263 Coding สำาหรับ ภาพและเสียง ที่ bit rate ตำ่า
 Data conferencing
H.120 Data protocol สำาหรับ multimedia
conferencing
 Control
H.245 กำาหนด message ที่ใช้เปิด channel ของ
media stream รวมไปถึงคำาสั่ง(command), คำาขอ
ร้อง(request), และสัญญาณบอกสถานะ(indication)
อื่นๆ
H.225.0 กำาหนด message ที่ใช้ควบคุมการเรียก หรือ
ขอติดต่อไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง (call control) รวมทั้ง
สัญญาณที่ใช้ (signaling), การตอบรับ (registration
และ admission) รวมทั้งการแบ่ง Packet และควบคุม
จังหวะการทำางานให้ตรงกัน ของข้อมูลที่ส่ง
(packetization/synchronization of media
stream)

 Real time transport
RTP/RTCP คือ IETF RFC1889 ใช้สำาหรับส่งข้อมูลเวลา
จริง
 Security
H.235 กำาหนดแนวทางของระบบรักษาความปลอดภัย
การ Encryptions ตลอดจนตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อมูลในระบบ H.323 ทั้งหมด
 Supplementary Services
H.450.1 กำาหนดแนวทางสำาหรับบริการเสริม
กระบวนการและสัญญาณที่ใช้สำาหรับ ให้บริการ ในรูป
แบบที่คล้ายกับโทรศัพท์ธรรมดา
H.450.2 และ 450.3 ใช้ในการบริการที่เกี่ยวข้องกับการ
โอนสาย

2.3.2 ลำาดับชั้นของ H.323 Terminal




2.4 Network management
จะควบคุมการจัดส่งข้อมูลไปให้ถึงปลายทาง สำาหรับการ
สนทนาด้วยเสียงนั้นจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งข้อมูลแบบ
เวลาจริง แต่สำาหรับ TCP/IP นั้น ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้
ทำาเช่นนั้นได้ เราทำาได้เพียงกำาหนดนโยบายเพื่อให้
Packet ของ H.323 ผ่าน router แต่ละตัวไปให้เร็วที่สุด
ซึ่งสามารถทำาได้ดังนี้

2.4.1 TOS ซึงอยู่ใน header ของ IP Protocol จะถูก
               ่
กำาหนดให้เป็น high เพื่อระบุให้ Packet นั้นเป็น Packet
ที่มีความสำาคัญสูง ยิงให้ความสำาคัญสูง Packet ยิงใกล้ถูก
                     ่                          ่
ส่งออกไปใกล้เวลาจริงยิงขึ้น
วิธีการจัดแถวคอยของ Packet

1) FIFO ( First in First Out) เป็นการส่งต่อ Packet
ตามลำาดับก่อน-หลัง ซึงเป็นวิธีที่ไม่ดีมากนัก
                     ่

2) WFQ (Weighted Fair Queuing) วิธีนี้จะกำาหนดให้
มีความเสมอภาคกันของแต่ละ service เพื่อไม่ให้มี
service ตัวใดตัวหนึ่งใช้ช่องสัญญาณมากเกินไป

3) CQ (Custom Queuing) วิธีนี้ให้ผู้ใช้งานเป็นผู้
กำาหนดความสำาคัญของ Packet แต่ละชนิดด้วยตัวเอง

4) PQ(Priority Queuing) วิธีนี้จะสร้างแถวคอยขึ้นมา
มากกว่า 1 แถว ซึงแต่ละแถวจะมีความสำาคัญที่แตกต่าง
                 ่
กัน โดยการส่งต่อ จะเริ่มส่งที่ละแถว เมื่อแถวที่มีความ
สำาคัญสูงสุดหมดแล้ว จึงจะเริ่มส่งแถวที่มีความสำาคัญน้อย
ลงมา ตามลำาดับ

5) CB-WFQ (Class Based Weighted Fair
Queuing) วิธีการนี้จะมีความคล้ายคลึงกับ WQF แต่ต่าง
กันที่ ได้มีการเพิ่มคุณสมบัติของ class เข้าไป โดยให้ค่า
ของ bandwidth เป็นคุณสมบัติของแต่ละ class

2.4.2 ทำาการกำาหนดขนาด และจำากัด bandwidth ของ
แต่ละ terminal เพื่อรักษา bandwidth ให้ คงที่อยู่
ตลอดเวลา ซึงทำาได้โดยการ จำากัด Bandwidth ของการ
           ่
download และการ upload

2.4.3 มีการตรวจสอบเพื่อบ้องกันการคับคั่งของข้อมูล ซึง
                                                    ่
อาจจะใช้วิธี RED (Random Early Detection) เพื่อ
ตรวจสอบ ปริมาณข้อมูล

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตburin rujjanapan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1prawetsab
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Was ist angesagt? (14)

บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
จริยธรรมและความปลอดภัย (Ethics)
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Ähnlich wie การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต

งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02nantiya2010
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตguest832105
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บtanongsak
 

Ähnlich wie การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต (20)

งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
07
0707
07
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
07
0707
07
 
07
0707
07
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
้html
้html้html
้html
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
Unit1new
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 

Mehr von อิ่' เฉิ่ม

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อิ่' เฉิ่ม
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบลอิ่' เฉิ่ม
 
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbงานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbอิ่' เฉิ่ม
 

Mehr von อิ่' เฉิ่ม (20)

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงาน
 
การพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงาน
 
13
1313
13
 
ดาวน์
ดาวน์ดาวน์
ดาวน์
 
ดาวน์
ดาวน์ดาวน์
ดาวน์
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
3
33
3
 
89
8989
89
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
99
9999
99
 
88
8888
88
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
 
งานนำเสนอ1.ไทย23256
งานนำเสนอ1.ไทย23256งานนำเสนอ1.ไทย23256
งานนำเสนอ1.ไทย23256
 
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbbงานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
งานนำเสนอไทยหมิว23256bbb
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต

  • 1. รายงาน เรื่อ ง…การสื่อ สารผ่า นอิน เตอร์เ น็ต เสนอ คุณ ครูจ ฑ ารัต น์ ใจบุญ ุ จัด ทำา โดย นางสาวสุด ารัต น์ เมือ งสุข ม.6/2 เลขที่ 28 รายงานชิ้น นี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของวิช า การงานอาชีพ และเทคโนโลยี โรงเรีย นรัษ ฎานุป ระดิษ ฐ์อ นุส รณ์ คำา นำา รายงานฉบับ นี้จ ด ทำา ขึ้น เพื่อ ประกอบการเรีย น ั วิช า... โดยมีจ ุด ประสงค์เ พื่อ ให้ผ ู้จ ด ทำา ได้ฝ ึก ั การศึก ษาค้น คว้า และนำา สิง ที่ไ ด้ศ ึก ษาค้น คว้า ่
  • 2. มาสร้า งเป็น ชิ้น งานเก็บ ไว้เ ป็น ประโยชน์ต ่อ การเรีย นการสอนของตนเองและครูต ่อ ไป ทั้ง นี้ เนื้อ หาได้ร วบรวมมาจาก อิน เตอร์เ น็ต ขอขอบพระคุณ อาจารย์จ ุฑ ารัต น์ ใจบุญ อย่า งสูง ที่ก รุณ าตรวจ ให้ค ำา แนะนำา เพื่อ แก้ไ ข ให้ข อ เสนอแนะตลอดการทำา งาน ผู้ ้ จัด ทำา หวัง ว่า รายงานฉบับ นีค งมีป ระโยชน์ต อ ผู้ ้ ่ ที่น ำา ไปใช้ใ ห้เ กิด ผลสัม ฤทธิ์ต ามความคาด หวัง ผู้จ ด ทำา ั สารบัญ
  • 3. เรื่อ ง หน้า การสื่อ สารผ่า นอิน เตอร์เ น็ต 1-19 อ้า งอิง 20 การสื่อ สารผ่า นอิน เตอร์เ น็ต ในปัจ จุป ัน การใช้อ ิน เทอร์เ น็ต มีบ ทบาทกับ ชีว ิต
  • 4. ประจำา วัน มากขึ้น และใช้ง านกัน อย่า งกว้า งขวาง โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ความจำา เป็น ที่จ ะต้อ งติด ต่อ สื่อ สาร อิน เตอร์เ น็ต จึง ได้ร ับ การพัฒ นาโครงสร้า ง พื้น ฐานเพื่อ รองรับ การสื่อ สารรูป แบบต่า งๆ เช่น การใช้จ ดหมายอิน เล็ก ทรอนิก ส์ การติด ต่อ ด้ว ย เสีย ง ระบบ VDO Conference การใช้โ ทรศัพ ท์บ น เครือ ข่า ย ซึ่ง ก็ม ีว ิว ัฒ นาการตามลำา ดับ เบื้อ งต้น ดัง นี้ E-mail หรือ จดหมายอิเ ล็ก ทรอนิค ส์เ ป็น บริก ารอย่า งหนึ่ง ที่ นิย มใช้ก ัน อย่า งแพร่ห ลายมาก จนทำา ให้บ างคนคิด ว่า E-mail คือ อิน เตอร์เ น็ต และอิน เตอร์เ น็ต คือ E- mail วิธ ีใ ช้ง านอีเ มลล์ก ็ง ่า ยและมีป ระโยชน์ม าก การทำา งานของ E-mail มีล ัก ษณะคล้า ยกับ ระบบ ไปรษณีย ์ป กติ (หมายถึง ระบบที่ใ ช้ก ระดาษในการ เขีย นจดหมาย ) กล่า วคือ ในระบบไปรษณีย ์ป กติม ี หน่ว ยงานที่ท ำา หน้า ที่ใ นการรับ ส่ง จดหมายคือ เป็น บรุษ ไปรษณีย ์ (ในกรณีข องประเทศไทยคือ การ สื่อ สารแห่ง ประเทศไทย ) ถ้า เป็น ในอิน เตอร์เ น็ต สิ่ง ที่ท ำา หน้า ที่ค อยรับ ส่ง จดหมายคือ บรรดา คอมพิว เตอร์ท ั้ง หลายที่ท ำา หน้า ที่เ ป็น E-mail Server (คอมพิว เตอร์ท ี่ท ำา หน้า ที่ใ ห้บ ริก ารด้า นจด หมายอิเ ล็ก ทรอนิค ส์) Chat คือ การส่ง ข้อ ความสั้น ๆ ระหว่า งบุค คลที่อ ยู่ห น้า เครื่อ งคอมพิว เตอร์ใ นเวลาเดีย วกัน และสามารถ เขีย นโต้ต อบกัน ไปมาคล้า ยกับ การคุย กัน ซึง ก็ไ ด้ม ี ่ การพัฒ นโปรแกรมสำา หรับ หาร Chat ออกมา มากมายที่เ ป็น ที่น ิย มและใช้ก ัน อย่า งแพร่ห ลายก็ค ือ MSN Messenger
  • 5. และสิ่ง หนึ่ง ที่ม ีก ารพัฒ นาต่อ มา คือ ระบบการสื่อ สาร ด้ว ยเสีย งผ่า นเครือ ข่า ย IP ที่เ รีย กว่า เทคโนโลยี Voice over IP หรือ ที่ร ู้จ ัก กัน โดยทั่ว ไปว่า “VoIP” จนสามารถใช้ง านได้ด ีข ึ้น เพื่อ ให้ไ ด้ร ับ ประโยชน์ และมีค วามสะดวกมากที่ส ุด VoIP ถูก เริ่ม ต้น ใช้ง าน กัน อย่า งกว้า งขวาง เพื่อ ให้เ ครื่อ งคอมพิว เตอร์ส ่ว น บุค คลสามารถสนทนา ระหว่า งกัน ได้ รวมถึง การ สนทนากับ โทรศัพ ท์พ ื้น ฐานอีก ด้ว ยโดยไม่เ สีย ค่า บริก ารแต่อ ย่า งได และคุณ ภาพของบริก ารก็ถ ูก พัฒ นาขึ้น มาเรื่อ ยๆจนเทีย บเท่า ระบบ โทรศัพ ท์พ ื้น ฐาน ซึ่ง VoIP สามารถแบ่ง ได้เ ป็น 3 ลัก ษณะคือ 1. คอมพิว เตอร์ส ่ว นบุค คล ไปยัง คอมพิว เตอร์ส ่ว น บุค คล ( PC to PC ) PC มีก ารติด ตั้ง sound card และไมโครโฟน ที่ เชื่อ มต่อ อยู่ก ับ เครือ ข่า ย IP การประยุก ต์ใ ช้ PC และ IP-enabled telephones สามารถสื่อ สารกัน ได้แ บบจุด ต่อ จุด หรือ แบบจุด ต่อ หลายจุด โดย อาศัย software ทางด้า น IP telephony 2. คอมพิว เตอร์ส ่ว นบุค คล ไปยัง โทรศัพ ท์พ ื้น ฐาน ( PC to Phone ) เป็น การเชื่อ มเครือ ข่า ยโทรศัพ ท์เ ข้า กับ เครือ ข่า ย
  • 6. IP ทำา ให้โ ดยอาศัย Voice trunks ที่ส นับ สนุน voice packet ทำา ให้ส ามารถใช้ PC ติด ต่อ กับ โทรศัพ ท์ร ะบบปกติไ ด้ 3. โทรศัพ ท์ก ับ โทรศัพ ท์ ( Telephony ) เป็น การใช้โ ทรศัพ ท์ธ รรมดา ติด ต่อ กับ โทรศัพ ท์ ธรรมดา แต่ใ นกรณีน ี้จ ริง ๆแล้ว ประกอบด้ว ยขั้น ตอนการส่ง เสีย งบนเครือ ข่า ย Packet ประเภท ต่า งๆซึ่ง ทั้ง หมดติด ต่อ กัน ระหว่า งชุม สายโทรศัพ ท์ (PSTN) การติด ต่อ กับ PSTN หรือ การใช้โ ทรศัพ ท์ ร่ว มกับ เครือ ข่า ยข้อ มูล จำา เป็น ต้อ งใช้ gateway บทที่ 2 - Voice over IP (VoIP) คือ อะไร ก่อนที่เราจะรู้ว่า VoIP คือออะไร สิ่งที่เราควรจะต้องรู้ก่อน ก็คือ เครือข่าย IP มีหลักการพื้นฐานอย่างไร แล้วจึง พัฒนาไปเป็น VoIP ได้อย่างไร
  • 7. หลัก การพื้น ฐานของเครือ ข่า ย IP เครือข่ายไอพี (Internet Protocol) มีพัฒนามาจาก รากฐานระบบการสื่อสารแบบ Packet โดยระบบมีการ กำาหนด Address ที่เรียกว่า IP Address จาก IP Address หนึ่ง ถ้าต้องการส่งข่าวสารไปยังอีก IP Address หนึ่ง ใช้หลักการบรรจุข้อมูลใส่ใน Packet แล้วส่งไปในเครือข่าย ระบบการจัดส่ง Packet กระทำา ด้วยอุปกรณ์สื่อสารจำาพวก Router โดยมีหลักพื้นฐานการ ส่งเป็นแบบ DATAGRAM หรือ Packet ซึงมีความหมาย่ ว่า "เป็นที่เก็บข้อมูลที่เป็นอิสระ ซึงมีสารสนเทศเพียงพอใน ่ การเดินทางจากแหล่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง โดยปราศจากความเชื่อมั่นของการเปลี่ยนครั้งก่อน ระหว่างแหล่งข้อมูลกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง และเครือ ข่ายการส่งข้อมูล" ซึ่งจะเห็นว่าการส่งแบบ Packet เข้าไปในเครือข่ายนั้น จะ ไม่มีการประกันว่า Packet นั้นจะถึงปลายทางเมื่อไร ดัง นั้นรูปแบบของเครือข่ายไอพีจึงไม่เหมาะสมกับการสื่อสาร แบบต่อเนื่องเช่น การส่งสัญญาณเสียง หรือวิดีโอ เมื่อเครือ ข่าย IP กว้างขวางและเชื่อมโยงกันมากขึ้น ความต้องการ ส่งสัญญาณข้อมูลเสียงที่ได้คุณภาพจึงเกิดขึ้น ก็เลยมีการ พัฒนาเป็น VoIP
  • 8. แล้ว Voice over IP (VoIP) คือ อะไร VoIP-Voice Over IP หรือที่เรียกกันว่า “VoIP Gateway” หมายถึง การส่งเสียงบนเครือข่ายไอพี เป็น ระบบที่แปลงสัญญาณเสียงในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามา เปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอล คือ นำาข้อมูลเสียงมาบีบอัด และบรรจุลงเป็นแพ็กเก็ต ไอพี (IP) แล้วส่งไปโดยมีเรา เตอร์ (Router) ที่เป็นตัวรับสัญญาณแพ็กเก็ต และแก้ ปัญหาบางอย่างให้ เช่น การบีบอัดสัญญาณเสียง ให้มี ขนาดเล็กลง การแก้ปัญหาเมื่อมีบางแพ็กเก็ตสูญหาย หรือ ได้มาล่าช้า (delay) การสื่อสารผ่านทางเครือข่ายไอพีต้องมีเราเตอร์ (Router) ที่ทำาหน้าที่พิเศษเพื่อประกันคุณภาพช่องสัญญาณไอพีนี้ เพื่อให้ขอมูลไปถึง ปลายทางหรือกลับมาได้อย่างถูกต้อง ้ และอาจมีการให้สิทธิพิเศษก่อนแพ็กเก็ตไอพีอื่น (Quality of Service : QoS) เพื่อการให้บริการที่ทำาให้เสียงมี คุณภาพ นอกจากนั้น Voice over IP (VoIP) ยังเป็นการส่งข้อมูล เสียงแบบ 2 ทางบนระบบเครือข่ายแบบ packet- switched IP network. ซึ่งข้อมูลนี้จะถูกส่งผ่านเครือ ข่ายอินเตอร์เน็ตสาธารณะ เพื่อสื่อสารระหว่าง VoIP ด้วย
  • 9. กัน โดยที่ยังคงความเป็นส่วนตัวไว้ได้ สำาหรับการใช้งานเทคโนโลยี VoIP นั้น จริงๆ แล้วทุกๆ องค์กรสามารถนำาเทคโนโลยีนี้มาประยุกต์ใช้งานได้ แต่ สำาหรับกลุ่มเป้าหมายที่ตรงและน่าจะได้รับประโยชน์จาก การนำาเทคโนโลยี VoIP มาประยุกต์ใช้งานมากที่สุด ได้แก่... กลุ่มธุรกิจขนาดย่อม หรือ SME (Small/Medium Enterprise) รวมถึงกลุ่ม ISP (Internet Service Provider) ต่างๆ สำาหรับกลุ่มธุรกิจ SME อาจจะต้องเป็นกลุ่มที่มีระบบเครือข่ายข้อมูลของ ตนเองอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นเครือข่าย Leased Line, Frame Relay, ISDN หรือแม้กระทั่งเครือข่าย E1/T1 ก็ตาม รวมถึงมีระบบตู้สาขาโทรศัพท์ในการใช้งานด้วย การนำาเทคโนโลยี VoIP มาใช้งานนั้นจะทำาให้องค์กรลด ค่าใช้จ่ายในการใช้งานการสื่อสารสัญญาณเสียงไปได้ อย่างมาก และเนื่องด้วยในปัจจุบันการขยายตัวของระบบ เครือข่ายสัญญาณข้อมูล หรือ Data Network มีอัตรา การเติบโตที่รวดเร็วกว่าการขยายตัวของเครือข่าย สัญญาณเสียงค่อนข้างมาก จึงทำาให้มีการนำาเทคโนโลยีที่ สามารถนำาสัญญาณเสียงเหล่านั้นมารวมอยู่บนระบบเครือ ข่ายของสัญญาณข้อมูลและมีการรับ-ส่งสัญญาณทั้งคู่ได้ ในเวลาเดียวกัน เพื่อเป็นการสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะเป็นค่าโทรศัพท์ทางไกลต่างจังหวัด หรือรวมถึงค่า โทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศด้วยถ้าหากองค์กรนั้นมีสาขา อยู่ในต่างประเทศด้วย สำาหรับกลุ่มธุรกิจ ISP นั้นสามารถที่จะนำาเทคโนโลยี VoIP นี้มาประยุกต์ใช้งานเพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสในธุรกิจของ ตนเองมากยิ่งขึ้น โดยทาง ISP ต่างๆ นั้นสามารถให้บริการ VoIP เพื่อเป็นบริการเสริมเพิ่มเติมขึ้นมาจากการให้บริการ ระบบเครือข่าย Internet แบบปกติธรรมดา หรือที่เรา เรียกว่า Value Added Services ซึงถือว่าเป็นการสร้าง ่
  • 10. ความแตกต่างและเพิ่มทางเลือกในการให้บริการกับกลุ่ม ลูกค้าด้วย บทที่ 3 - เทคโนโลยีแ ละการทำา งานของ VoIP Standard of VoIP Technology สำาหรับมาตรฐานที่มีการใช้งานอยู่บนเทคโนโลยี VoIP นั้น โดยทั่วไปจะมีอยู่ 2 มาตรฐานด้วยกัน ได้แก่... มาตรฐาน H.323 และมาตรฐาน SIP มาตรฐานเหล่านี้ เราสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า “Call Control Technologies” ซึ่งถือว่าเป็นส่วนประกอบสำาคัญสำาหรับ การนำาเทคโนโลยี VoIP มาใช้งาน H.323 Standard สำาหรับมาตรฐาน H.323 นั้น จริงๆ แล้วไม่ได้ถูกออกแบบ มาให้ใช้งานกับระบบเครือข่ายที่ใช้ Internet Protocol (IP) นอกจากนั้นมาตรฐาน H.323 ยังมีการทำางานที่ค่อน ข้างช้า โดยปกติแล้วเราจะเสนอการใช้งานมาตรฐาน H.323 ให้กับลูกค้าก็ต่อเมื่อในระบบเดิมของลูกค้ามีการ ใช้งานมาตรฐาน H.323 อยู่แล้วเท่านั้น มาตรฐาน H.323 เป็นมาตรฐานภายใต้ ITU-T (International Telecommunications Union) Standard ในตอนแรกนั้น มาตรฐาน H.323 ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อเป็นมาตรฐานสำาหรับการทำา Multimedia Conferencing บนระบบเครือข่าย LAN เป็นหลัก แต่มา ในตอนหลังจึงถูกพัฒนาให้ครอบคลุมถึงการทำางานกับ เทคโนโลยี VoIP ด้วย มาตรฐาน H.323 สามารถรองรับการทำางานได้ทั้งแบบ Point-to-Point Communications และแบบ Multi- Point Conferences อุปกรณ์ต่างๆ จากหลากหลายยี่ห้อ หรือหลายๆ
  • 11. Vendors นั้นสามารถที่จะทำางานร่วมกัน (Inter- Operate) ผ่านมาตรฐาน H.323 ได้ SIP (Session Initiation Protocol) Standard มาตรฐาน SIP นั้นถือเป็นมาตรฐานใหม่ในการใช้งาน เทคโนโลยี VoIP โดยที่มาตรฐาน SIP นั้น ได้ถูกออกแบบ มาให้ใช้งานกับระบบ IP โดยเฉพาะ ซึงโดยปกติแล้วเราจะ ่ แนะนำาให้ลูกค้าใหม่ที่จะมีการใช้งาน VoIP ให้มีการใช้ งานอยู่บนมาตรฐาน SIP... มาตรฐาน SIP นั้นเป็นมาตรฐานภายใต้ IETF Standard ซึ่งถูกออกแบบมาสำาหรับการเชื่อมต่อ VoIP มาตรฐาน SIP นั้นจะเป็นมาตรฐาน Application Layer Control Protocol สำาหรับการเริ่มต้น (Creating), การปรับเปลี่ยน (Modifying) และการสิ้น สุด (Terminating) ของ Session หรือการติดต่อสื่อสาร หนึ่งครั้ง มาตรฐาน SIP จะมีสถาปัตยกรรมการทำางานคล้ายคลึง การทำางานแบบ Client-Server Protocol เป็นมาตรฐานที่มี Reliability ที่ค่อนข้างสูง How VoIP Works… ในส่วนนี้เราจะมาทำาความรู้จักเกี่ยวกับการทำางานของ
  • 12. เทคโนโลยี VoIP กันนะครับ แต่ก่อนอื่นที่เราจะไปรู้จักกับ กระบวนการต่างๆ ของเทคโนโลยี VoIP นั้น ผมขอนำาทุก ท่านมารู้จักรูปแบบของโปรโตคอล IP กันอย่างคร่าวๆ ก่อนนะครับ Internet Protocol (IP) Internet Protocol หรือ IP จะเป็นโปรโตคอลที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูลในระบบ Internet ซึ่งในส่วนของการ ทำางานคร่าวๆ ของโปรโตคอล IP นี้สามารถสรุปอย่างย่อ ได้ดังต่อไปนี้... • ข้อมูลจะถูกแบ่งย่อยออกเป็นส่วนๆ • แต่ละส่วนของข้อมูลจะถูกส่งออกไปในเส้นทางที่อาจจะ แตกต่างกันบนระบบ Internet • ข้อมูลย่อยแต่ละส่วนนั้นจะไปถึงยังปลายทางในเวลา และลำาดับที่ไม่พร้อมเพรียงกัน • หลังจากนั้นจะมีโปรโตคอลอีกหนึ่งตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง คือ Transmission Control Protocol (TCP) ซึ่ง TCP นี้จะเข้ามาช่วยเกี่ยวกับการเรียงลำาดับข้อมูลที่มาถึงยัง ปลายทางนี้ให้อยู่ในลำาดับและรูปแบบที่ถูกต้องเหมือน ข้อมูลต้นแบบก่อนที่จะถูกส่งออกมา • โปรโตคอล IP นี้จะเป็นโปรโตคอลในการสื่อสารแบบที่ เรียกว่า Connectionless Protocol ซึงเป็นการสื่อสารที่ ่ จุดต้นทางและปลายของการสื่อสารไม่จำาเป็นที่จะต้องสร้าง การเชื่อมต่อ (Connection) ขึนมา ณ เวลาที่ต้องการ ้ ทำาการสื่อสาร หลังจากได้ทราบคร่าวๆ เกี่ยวกับโปรโตคอล IP กันไปแล้ว เราก็จะมาคุยกันถึงกระบวนการทำางานของเทคโนโลยี VoIP กัน ซึงมีขั้นตอนอยู่พอสมควรดังต่อไปนี้... ่ Conversion to PCM (Pulse Code Modulation)
  • 13. ในขั้นตอนแรกจะเป็นการแปลงสัญญาณ Analog ให้ไป อยู่ในรูปแบบสัญญาณ Digital หรือที่เรียกว่า PCM Removal of Echo ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการมีการแยกสัญญาณออกเป็นส่วนๆ เพื่อทำาการตัดสัญญาณ Echo ออก ซึ่งกระบวนการนี้จะถูก จัดการโดย DSP (Digital Signal Processors) Framing ในส่วนของสัญญาณที่เหลือนั้น ก็จะถูกแบ่งและจัดรูปแบบ ขึ้นมาใหม่ในรูปของ Frame ซึ่งกระบวนการนี้จะถูก จัดการโดยรูปแบบการบีบอัดที่เรียกว่า CODEC หลังจาก กระบวนการนี้แล้ว Frame ของสัญญาณเสียงจะถูกสร้าง ขึ้น Packetisation
  • 14. ในกระบวนการนี้จะเป็นการแปลง Frame ของสัญญาณ ให้มาอยู่ในรูปของ Packet ซึ่งจะมีการเพิ่ม Header เข้าไปใน Packet โดยในส่วนของ Header นั้น ก็จะ ประกอบไปด้วยข้อมูลที่เรียกว่า Sequence Number และ Time Stamp หลังจากนั้น Packet นี้จะถูกส่งต่อไป ที่ Host Processor Address and Delivery หลังจากที่ได้แปลงสัญญาณให้อยูในรูปของ Packet แล้ว ่ ข้อมูลนั้นจะถูกนำามาวิเคราะห์และใส่ค่า IP Address ปลายทาง Conversion to Analog หลังจากที่ได้ทำาการใส่ค่าของ IP Address ปลายทางไป ใน Header ของ Packet แล้วนั้น เมื่อ Packet เหล่านั้น ไปถึงด้านปลายทาง ข้อมูล Header เหล่านี้จะถูกแยกออก
  • 15. เพื่อให้เหลือแค่ Voice Frame หลังจากนั้นก็จะทำาการ แปลงสัญญาณ Digital PCM ให้กลับมาเป็นสัญญาณรูป แบบ Analog ที่เป็นสัญญาณเสียงที่เราได้ยินกันอีกครั้ง หนึ่ง Error Correction กระบวนการนี้จะเป็นกระบวนการที่ใช้ในการตรวจสอบ และแก้ไขข้อผิดพลาดซึ่งอาจจะเกิดขึ้นระหว่างการส่ง สัญญาณและนำามาซึ่งความผิดเพี้ยนหรือความเสียหาย ของสัญญาณจนทำาให้เราไม่สามารถทำาการสื่อสารอย่าง ถูกต้องได้ ระบบของ VoIP สามารถแบ่ง ได้เ ป็น 4 ส่ว นคือ 2.1 Voice Processing module ทำาการสุ่มตัวอย่างสัญญาณเสียงเพื่อส่งผ่านเครือข่าย IP ซอฟต์แวร์นี้โดยทั่วไปทำางานบน DSP (Digital Signal Processing) Voice Processing module จะต้อง ประกอบด้วยโปรแกรมซึ่งทำาหน้าที่ดังต่อไปนี้ 2.1.1 PCM Interface รับตัวอย่าง (สัญญาณสุ่ม) จาก telephony (PCM) interface และส่งต่อให้กับ VoIP Software module ปฏิบัติการต่อ PCM Interface จะทำาการสุ่มตัวอย่างเฟส อีกครั้งจากตัวอย่างที่เป็นผลลัพธ์ของ analog interface ซึ่งจะมีการทำาการบีบอัดเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน และ ทำาการแปลงสัญญาณ Analog เพื่อไปเป็น Digital 2.1.2 Echo Cancellation Unit เป็นหน่วยกำาจัดการสะท้อนของสัญญาณข้อมูลเสียงที่ถูก สุ่มตัวอย่าง และรูปแบบของการสื่อสารเป็นแบบ full duplex ตามมาตรฐานของ ITU G.165 หรือ G.168
  • 16. echo cancellation จำาเป็นกรณีที่ความล่าช้า 1 รอบของ VoIP มีค่ามากกว่า 50 ms 2.1.3 Voice Activity/Idle Noise Detector มีหน้าที่ระงับการส่ง Packet เมื่อไม่มีสัญญาณเสียง ทำาให้ ประหยัดแถบความถี่ ถ้าตรวจจับได้ว่าไม่มีกิจกรรมเกิดขึ้น ในช่วงเวลาหนึ่ง ผลลัพธ์ของ voice encoder จะถูก ระงับไม่ให้ส่งผ่านเครือข่าย ระดับของเสียงว่างเปล่า (idle noise) จะถูกวัดและแจ้งให้ปลายทางทราบเพื่อที่จะแทรก "comfortable noise" เข้าไปในสายเพื่อไม่ให้คนฟังได้ รับสายเงียบในโทรศัพท์ 2.1.4 Tone Detector ทำาหน้าที่ตรวจจับการได้รับ DTMF tones (Dial Tone Multi-Frequency; กลุ่มของ tones ที่ตรงตามมาตรฐาน และถูกเขียนทับ ใช้ในสัญญาณโทรศัพท์ซงกำาเนิดโดย ึ่ touch tone pad) และแยกสัญญาณว่าเป็นเสียง หรือ แฟกซ์ 2.1.5 Tone Generator มีหน้าที่กำาเนิด DTMF tones และ call progress tones ภายใต้คำาสั่งของระบบปฏิบัติการ(OS) 2.1.6 Facsimile Processing module มีหน้าที่ถ่ายถอดแฟกซ์โดย Stimulate สัญญาณ PCM และแยกข่าวสารออกมา และบรรจุข้อมูลที่สแกนแล้วลงใน Packet 2.1.7 Packet Voice Protocol module มีหน้าที่รวบรวมสัญญาณเสียงที่ถูกบีบอัด และข้อมูลแฟกซ์ เพื่อส่งผ่านเครือข่ายข้อมูล แต่ละ Packet มีลำาดับเลขที่ ทำาให้ Packet ที่ได้รับถูกส่งเรียงกามลำาดับถูกต้อง และ
  • 17. สามารถตรวจจับ Packet ที่หายได้ 2.1.8 Voice Playout module ที่ปลายทาง ทำาหน้าที่ บัฟเฟอร์ Packet ที่ได้รับ และส่งต่อให้กับเครื่องเข้ารหัส เสียง เพื่อเล่นเสียงออกมา รูปที่ 1 Block diagram ของ Voice Processing Module รูปที่ 2 โครงสร้างภายในตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอล ( DSP )
  • 18. 2.2 The Call Processing module ทำาหน้าที่เป็น signaling gateway ยอมให้มีการสร้าง call ผ่านเครือข่าย Packet ซอฟต์แวร์นี้ support E&M (Ear & Mouth Signaling; สายส่งสัญญาณระหว่าง PBX และ CO ใช้ในการจองสาย, ส่งต่อดิจิต และ เลิก สาย) และ loop, Call Processing module จะตรวจจับ สัญญาณเรียกใหม่ที่เกิดขึ้น และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับที่อยู่ ทำางานอ้างอิงตาม protocol H.323 มีฟังก์ชันที่ต้อง ปฏิบัติดังนี้ 2.2.1 ตรวจสอบ interface ที่ต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์ เพื่อรับคำาสั่ง และผลตอบที่จะเข้ามา 2.2.2 แยกข่าวสารออกมา และสิ้นสุดขั้นตอนการเข้า สัญญาณ (terminate signaling protocols เช่น E&M) 2.2.3 จัดการกับข่าวสารให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถเปิด การประชุม (session) ผ่านเครือข่าย Packet แปลงเบอร์ โทรศัพท์เป็น IP address ขั้นตอนการหมุนเรียก (dialing) มี 2 วิธีคือ (1) single stage หมุนเรียกเบอร์ของปลายทาง และ ใช้ วิธีเลือกเส้นทางแบบอัตโนมัติ (2) two stage หมุนเรียกเบอร์ของ VoIP gateway แล้ว หมุนเรียกปลายทางจริง 2.3 Packet Processing module เป็นขั้นตอนการบรรจุสัญญาณข้อมูลเสียงลงใน Packet เพิ่ม transport headers ก่อนส่ง Packet ผ่านเครือข่าย
  • 19. IP (หรือเครือ Packet อื่นๆ) แปลงข่าวสารของสัญญาณ จาก telephony protocol เป็น packet signaling protocol VoIP ทำางานโดยอาศัย protocol ทีชื่อว่า H.323 ซึ่งเป็น ่ ชุดของมาตรฐานที่เกี่ยวกับหลายเรื่องรวมกัน โดยคลอบ คลุมทั้งการสื่อสารแบบ จุดต่อจุด และหลายจุดพร้อมๆกัน (1) Terminal คือ client หรือจุดทีข้อมูล H.323 ถูก ่ สร้างหรือขึ้น หรือสิ้นสุดการเดินทาง ซึ่งอาจจะเป็น PC หรือว่า เครื่องโทรศัพท์ที่สนับสนุน เครือข่าย IP ซึ่งอาจจะ สนับสนุนสัญญาณวีดีโอด้วยก็ได้ Gateway คือ ใช้ สำาหรับเชื่อมต่อเครือข่ายที่ต่างชนิดกัน เพื่อทำาการแปลง ชนิดของข้อมูลให้เข้ากันได้กับเครือข่ายที่จะเชื่อมต่อ (2) Gatekeeper เป็นตัวช่วยบริการต่างๆในแต่ละฝั่งของ เครือข่าย ซึงมีหน้าที่ในการ แปลง address ระหว่าง ่ หมายเลขโทรศัพท์ กับหมายเลข IP , จำากัดการใช้งาน ของแต่ละ terminal , บริหาร bandwidth และจัดการ เกี่ยวกับการหาเส้นทางให้กับ Packet Multipoint Control Unit (MCU) ใช้ในการติดต่อแบบ หนึ่งจุดกับหลายจุด โดยจะทำาการสร้างวงจรเสมือน ขึนมา ้ ให้กับ terminal แต่ละตัวที่ทำาการสนทนากันอยู่ 2.3.1 Procedures ของ H.323 Audio Codecs G.711 PCM สำาหรับย่านความถี่เสียงพูด G.722 7kHz audio coding ที่ 64kb/s G.723.1 dual rate speech coders สำาหรับส่งข้อมูล multimedia ที่ 5.3 และ 6.3 kb/s G.728 Coding สำาหรับเสียงพูดที่ 16 kb/s ใช้ Linear prediction
  • 20. G.729 Coding สำาหรับเสียงพูดที่ 16 kb/s ใช้ conjugate-structure algebraic code excite linear prediction Video codes H.261 Coding สำาหรับ ภาพและเสียง ที่ p*64 kb/s H.263 Coding สำาหรับ ภาพและเสียง ที่ bit rate ตำ่า Data conferencing H.120 Data protocol สำาหรับ multimedia conferencing Control H.245 กำาหนด message ที่ใช้เปิด channel ของ media stream รวมไปถึงคำาสั่ง(command), คำาขอ ร้อง(request), และสัญญาณบอกสถานะ(indication) อื่นๆ H.225.0 กำาหนด message ที่ใช้ควบคุมการเรียก หรือ ขอติดต่อไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง (call control) รวมทั้ง สัญญาณที่ใช้ (signaling), การตอบรับ (registration และ admission) รวมทั้งการแบ่ง Packet และควบคุม จังหวะการทำางานให้ตรงกัน ของข้อมูลที่ส่ง (packetization/synchronization of media stream) Real time transport RTP/RTCP คือ IETF RFC1889 ใช้สำาหรับส่งข้อมูลเวลา จริง Security H.235 กำาหนดแนวทางของระบบรักษาความปลอดภัย การ Encryptions ตลอดจนตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลในระบบ H.323 ทั้งหมด Supplementary Services H.450.1 กำาหนดแนวทางสำาหรับบริการเสริม กระบวนการและสัญญาณที่ใช้สำาหรับ ให้บริการ ในรูป
  • 21. แบบที่คล้ายกับโทรศัพท์ธรรมดา H.450.2 และ 450.3 ใช้ในการบริการที่เกี่ยวข้องกับการ โอนสาย 2.3.2 ลำาดับชั้นของ H.323 Terminal 2.4 Network management จะควบคุมการจัดส่งข้อมูลไปให้ถึงปลายทาง สำาหรับการ สนทนาด้วยเสียงนั้นจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งข้อมูลแบบ เวลาจริง แต่สำาหรับ TCP/IP นั้น ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้ ทำาเช่นนั้นได้ เราทำาได้เพียงกำาหนดนโยบายเพื่อให้ Packet ของ H.323 ผ่าน router แต่ละตัวไปให้เร็วที่สุด ซึ่งสามารถทำาได้ดังนี้ 2.4.1 TOS ซึงอยู่ใน header ของ IP Protocol จะถูก ่ กำาหนดให้เป็น high เพื่อระบุให้ Packet นั้นเป็น Packet ที่มีความสำาคัญสูง ยิงให้ความสำาคัญสูง Packet ยิงใกล้ถูก ่ ่ ส่งออกไปใกล้เวลาจริงยิงขึ้น
  • 22. วิธีการจัดแถวคอยของ Packet 1) FIFO ( First in First Out) เป็นการส่งต่อ Packet ตามลำาดับก่อน-หลัง ซึงเป็นวิธีที่ไม่ดีมากนัก ่ 2) WFQ (Weighted Fair Queuing) วิธีนี้จะกำาหนดให้ มีความเสมอภาคกันของแต่ละ service เพื่อไม่ให้มี service ตัวใดตัวหนึ่งใช้ช่องสัญญาณมากเกินไป 3) CQ (Custom Queuing) วิธีนี้ให้ผู้ใช้งานเป็นผู้ กำาหนดความสำาคัญของ Packet แต่ละชนิดด้วยตัวเอง 4) PQ(Priority Queuing) วิธีนี้จะสร้างแถวคอยขึ้นมา มากกว่า 1 แถว ซึงแต่ละแถวจะมีความสำาคัญที่แตกต่าง ่ กัน โดยการส่งต่อ จะเริ่มส่งที่ละแถว เมื่อแถวที่มีความ สำาคัญสูงสุดหมดแล้ว จึงจะเริ่มส่งแถวที่มีความสำาคัญน้อย ลงมา ตามลำาดับ 5) CB-WFQ (Class Based Weighted Fair Queuing) วิธีการนี้จะมีความคล้ายคลึงกับ WQF แต่ต่าง กันที่ ได้มีการเพิ่มคุณสมบัติของ class เข้าไป โดยให้ค่า ของ bandwidth เป็นคุณสมบัติของแต่ละ class 2.4.2 ทำาการกำาหนดขนาด และจำากัด bandwidth ของ แต่ละ terminal เพื่อรักษา bandwidth ให้ คงที่อยู่ ตลอดเวลา ซึงทำาได้โดยการ จำากัด Bandwidth ของการ ่ download และการ upload 2.4.3 มีการตรวจสอบเพื่อบ้องกันการคับคั่งของข้อมูล ซึง ่ อาจจะใช้วิธี RED (Random Early Detection) เพื่อ ตรวจสอบ ปริมาณข้อมูล