SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
รายงาน

              เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์


                          เสนอ

                  นาง จุฑารัตน์ ใจบุญ

                        จัดทาโดย

                 นางสาว สุพัตรา บัวอ่อน

             ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 15

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี

             โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์

                 อาเภอ สิเกา จังหวัดตรัง

              ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
ก
                                               คานา

         รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง. 33102 เรื่อง อาชญากรรม
คอมพิวเตอร์ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน เพื่อเป็นข้อมูลในการสืบค้นหรือ
ค้นคว้าเพื่อหาความรู้ และสาหรับผู้ที่สนใจใน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
         ผู้จดทาหวังว่า รายงานฉบับนี้จะสามารถเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มีความสนใจทุกท่าน ไม่ว่าจะเป็น ครู
             ั
อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการงานอาชีพและเทคโนโลยี หรือผู้ที่สนใจอื่นๆก็ตาม ทั้งใน
เรื่องของพื้นฐานทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี และเรื่องของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เพื่อไป
ประยุกต์ใช้ต่อไป
         หากรายงานฉบับนี้เกิดข้อบกพร้องหรือผิดพลาดในฉบับรายงานประการใด ผู้จัดทาต้องข้ออภัยเป็น
อย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ด้วย

                                                                                              ผู้จัดทำ
ข
                                           สารบัญ

เรื่อง                                              หน้า
คานา                                                 ก
สารบัญ                                               ข

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์                              1

อาชญากรคอมพิวเตอร์                                   2

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ                  3-4

จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์                            5

แหล่งอ้างอิง                                         6
1

                     อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
     อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทาผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อกระทาผิดทางอาญา เช่น ทาลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบ
คอมพิวเตอร์ในที่นี้ หมายรวมถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย
สาหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์เน็ต) อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ

   อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า
แครกเกอร์

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ

    1.การกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทาให้เหยื่อได้รับ

ความเสียหาย และผู้กระทาได้รับผลประโยชน์ตอบแทน

   2.การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ

และในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่เพื่อนาผู้กระทาผิดมาดาเนินคดี

ต้องใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน

   การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจานวน
มหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจ
รูปแบบ หนึ่งที่มีความสาคัญ
2

อาชญากรคอมพิวเตอร์

1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)

2. พวกวิกลจริต (Deranged persons)

3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทาผิด (Organized crime)

4. อาชญากรอาชีพ (Career)

5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)

6. พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)

7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker )




       Hacker หมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึง
ข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่อาจไม่แสวงหา
ผลประโยชน์
       Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อ
เข้าไปทาลายหรือลบแฟ้มข้อมูล หรือทาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการทาลายระบบปฏิบัติการ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์
3

                            อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น
“อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความ
เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง

ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทาผิด (The
Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่
กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย
แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรม
คอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและ
ภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์

โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and
Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค
นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบัน
และความพยายามในการปัญหานี้

อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่

    1. การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ
       (หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)

            2. การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ
            อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมาย
          รวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจาหน่ายหรือเผยแพร่ผลงาน
                                                                   สร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
4
3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับ
   อนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การ
   เจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การ
   ก่อการร้าย ฯลฯ)

4. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ
   หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทาง
   อิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคล
   หรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว

5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผล
   หรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223
   การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทาที่ขัดต่อกฎหมาย
   อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่
   เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้
   ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง

6. ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่
   เยาวชนจาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมี
   ความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
   ข้อกาหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ต
   ในทางที่ผิด
5
                           จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์
        คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์มากยิ่งขึ้น เนื่องจาก
คอมพิวเตอร์มีความสามารในการจัดเก็บข้อมูประมวลผลสารสนเทศ และเป็นเครื่องมือ
การสือสารที่รวดเร็ว ส่งผลให้การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่บ้าน ที่ทางาน โรงเรียน และ
หน่วยงานธุรกิจมีประสิทธิภาพสูงขึ้น คาดการณ์กันไว้ว่า ใน 2-3 ปีข้างหน้า ความก้าวหน้าด้าน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีการพัฒนาในหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์
การสื่อสารและเครือข่ายแบบไร้สาย และครือข่ายเคลื่อนที่ ตลอดจนเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์
      มนุษย์ได้คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อจะได้นาอุปกรณ์ทาง
เทคโนโลยีเหล่านั้นมาช่วยอานวนความสะดวก ลดขั้นตอนการทางาน ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต หรือ
แม้แต่การช่วยชีวิตมนุษย์ เช่น การใช้หุ่นยนต์ในการเก็บกู้ระเบิด และผ่าตัดรักษาโรค

      ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์มากเพียงไรก็ตาม หากพิจารณาอีกด้านหนึ่ง
แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จอาจจะเป็นภัยได้เช่นกัน หากผู้ใช้ไม่ระมัดระวังหรือนาไปใช้ในทางที่ไม่
ถูกต้อง ดังนั้น ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกันในสังคม ในแต่ละประเทศจึงได้มีารกาหนด
ระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึงกฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดคุณธรรมและ
จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ




                                                                                              6
แหล่งอ้างอิง
         http://www.gotoknow.org/posts/372559

http://www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์  33

More Related Content

Viewers also liked

Gisgpsimplementationanduseforstormwatermapping 000 0
Gisgpsimplementationanduseforstormwatermapping 000 0Gisgpsimplementationanduseforstormwatermapping 000 0
Gisgpsimplementationanduseforstormwatermapping 000 0SuKaOt
 
Alaska
AlaskaAlaska
AlaskaSuKaOt
 
Willamette river
Willamette riverWillamette river
Willamette riverSuKaOt
 
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)Burhanudin Abu Sujak
 
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)Burhanudin Abu Sujak
 
4. ch 6 financial statement analysis
4. ch 6 financial statement analysis4. ch 6 financial statement analysis
4. ch 6 financial statement analysisirfan_1
 
The life of a sea turtle
The life of a sea turtleThe life of a sea turtle
The life of a sea turtleantmes123
 
1. introduction to corporate finance
1. introduction to corporate finance1. introduction to corporate finance
1. introduction to corporate financeirfan_1
 

Viewers also liked (9)

Gisgpsimplementationanduseforstormwatermapping 000 0
Gisgpsimplementationanduseforstormwatermapping 000 0Gisgpsimplementationanduseforstormwatermapping 000 0
Gisgpsimplementationanduseforstormwatermapping 000 0
 
Alaska
AlaskaAlaska
Alaska
 
Willamette river
Willamette riverWillamette river
Willamette river
 
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
Metodologi Desain - The Deep Dive (Kelompok 2)
 
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
Metodologi Desain - PSX ( Kelompok 2)
 
4. ch 6 financial statement analysis
4. ch 6 financial statement analysis4. ch 6 financial statement analysis
4. ch 6 financial statement analysis
 
Democrito
DemocritoDemocrito
Democrito
 
The life of a sea turtle
The life of a sea turtleThe life of a sea turtle
The life of a sea turtle
 
1. introduction to corporate finance
1. introduction to corporate finance1. introduction to corporate finance
1. introduction to corporate finance
 

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 33

  • 1. รายงาน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เสนอ นาง จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาว สุพัตรา บัวอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ 15 รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอ สิเกา จังหวัดตรัง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง. 33102 เรื่อง อาชญากรรม คอมพิวเตอร์ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการประกอบการเรียนการสอน เพื่อเป็นข้อมูลในการสืบค้นหรือ ค้นคว้าเพื่อหาความรู้ และสาหรับผู้ที่สนใจใน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ผู้จดทาหวังว่า รายงานฉบับนี้จะสามารถเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่มีความสนใจทุกท่าน ไม่ว่าจะเป็น ครู ั อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการงานอาชีพและเทคโนโลยี หรือผู้ที่สนใจอื่นๆก็ตาม ทั้งใน เรื่องของพื้นฐานทางการงานอาชีพและเทคโนโลยี และเรื่องของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เพื่อไป ประยุกต์ใช้ต่อไป หากรายงานฉบับนี้เกิดข้อบกพร้องหรือผิดพลาดในฉบับรายงานประการใด ผู้จัดทาต้องข้ออภัยเป็น อย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทำ
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 1 อาชญากรคอมพิวเตอร์ 2 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ 3-4 จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์ 5 แหล่งอ้างอิง 6
  • 4. 1 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง การกระทาผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อกระทาผิดทางอาญา เช่น ทาลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบ คอมพิวเตอร์ในที่นี้ หมายรวมถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย สาหรับอาชญากรรมในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (เช่น อินเทอร์เน็ต) อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่ง คือ อาชญากรรมไซเบอร์ (อังกฤษ: Cybercrime) อาชญากรที่ก่ออาชญากรรมประเภทนี้ มักถูกเรียกว่า แครกเกอร์ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ 1.การกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทาให้เหยื่อได้รับ ความเสียหาย และผู้กระทาได้รับผลประโยชน์ตอบแทน 2.การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ และในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่เพื่อนาผู้กระทาผิดมาดาเนินคดี ต้องใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจของประเทศจานวน มหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจ รูปแบบ หนึ่งที่มีความสาคัญ
  • 5. 2 อาชญากรคอมพิวเตอร์ 1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice) 2. พวกวิกลจริต (Deranged persons) 3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทาผิด (Organized crime) 4. อาชญากรอาชีพ (Career) 5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists) 6. พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues) 7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker ) Hacker หมายถึง บุคคลผู้ที่เป็นอัจฉริยะ มีความรู้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี สามารถเข้าไปถึง ข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่อาจไม่แสวงหา ผลประโยชน์ Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถเข้าสู่ระบบได้ เพื่อ เข้าไปทาลายหรือลบแฟ้มข้อมูล หรือทาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เสียหายรวมทั้งการทาลายระบบปฏิบัติการ ของเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 6. 3 อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime) เป็นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความ เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทาผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่งจัดขึ้นที่ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรม คอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและ ภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบายปัจจุบัน และความพยายามในการปัญหานี้ อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่ 1. การเงิน – อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทาธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ (หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) 2. การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ อินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมาย รวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจาหน่ายหรือเผยแพร่ผลงาน สร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
  • 7. 4 3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับ อนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้การ เจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การ ก่อการร้าย ฯลฯ) 4. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความ หวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย การก่อการร้ายทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคล หรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว 5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การประมวลผล หรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทาที่ผิดกฎหมาย และตามข้อกาหนด 47 USC 223 การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทาที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่ เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้ ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง 6. ภายในโรงเรียน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่ เยาวชนจาเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมี ความรับผิดชอบ โดยเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ข้อกาหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ต ในทางที่ผิด
  • 8. 5 จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์มากยิ่งขึ้น เนื่องจาก คอมพิวเตอร์มีความสามารในการจัดเก็บข้อมูประมวลผลสารสนเทศ และเป็นเครื่องมือ การสือสารที่รวดเร็ว ส่งผลให้การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่บ้าน ที่ทางาน โรงเรียน และ หน่วยงานธุรกิจมีประสิทธิภาพสูงขึ้น คาดการณ์กันไว้ว่า ใน 2-3 ปีข้างหน้า ความก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีการพัฒนาในหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ การสื่อสารและเครือข่ายแบบไร้สาย และครือข่ายเคลื่อนที่ ตลอดจนเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ มนุษย์ได้คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อจะได้นาอุปกรณ์ทาง เทคโนโลยีเหล่านั้นมาช่วยอานวนความสะดวก ลดขั้นตอนการทางาน ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต หรือ แม้แต่การช่วยชีวิตมนุษย์ เช่น การใช้หุ่นยนต์ในการเก็บกู้ระเบิด และผ่าตัดรักษาโรค ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์มากเพียงไรก็ตาม หากพิจารณาอีกด้านหนึ่ง แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จอาจจะเป็นภัยได้เช่นกัน หากผู้ใช้ไม่ระมัดระวังหรือนาไปใช้ในทางที่ไม่ ถูกต้อง ดังนั้น ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ร่วมกันในสังคม ในแต่ละประเทศจึงได้มีารกาหนด ระเบียบ กฎเกณฑ์ รวมถึงกฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดคุณธรรมและ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6
  • 9. แหล่งอ้างอิง http://www.gotoknow.org/posts/372559 http://www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx