SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสอบสวนผูปวยเสียชีวตโรคไขมาลาเรีย
                                                        ิ
      หมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร
                                      28 มกราคม 2552
ผูรายงานและสอบสวน
         1. นายสามารถ เฮียงสุข ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ ปฏิบัติการ
         2. นายสุรินทร เงินยวง          ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุข ระดับ ชํานาญงาน
         3. นายสมบัติ ทองชอย            ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุข ระดับอาวุโส
         4. นายเจษฎา เอี่ยมดี            ตําแหนง พนักงานปฏิบัติการชันสูตรโรค
         5. นายมนัส มุงขุนการ            ตําแหนง พนักงานปฏิบัติการควบคุมพาหะนําโรค
ความเปนมา
          ดวยงานควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร ไดรับแจง
ทางโทรศัพท จากงานควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุข จังหวัดกําแพงเพชร เวลา 10.00 น.
ของวันที่ 25 มกราคม 2552              วามีผปวยเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย จํานวน 1 ราย ที่
                                            ู
โรงพยาบาลจังหวัดกําแพงเพชร ผูปวยเสียชีวิตชื่อ นางสาว นภิสรา ธนดลบรรพต อายุ 37 ป
                                    
อยูบานเลขที่ 12 หมู10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร
                         
        งานควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร ไดออกพืนที่      ้
ดําเนินการสอบสวนโรคโดยประสานงานกับหนวยงานทีเ่ กี่ยวของ ในวันที่ 27 มกราคม 2552
เวลาประมาณ 06.00 น
วัตถุประสงคของการสอบสวน
        1. เพื่อยืนยันการวินจฉัยโรค
                              ิ
        2. เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคตามบุคคล สถานที่ เวลา
        3. เพื่อหามาตรการในการปองกันและควบคุมโรคในพืนที่     ้
วิธีการศึกษา
       1. การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
           1.1ศึกษารายละเอียดของผูปวยเสียชีวิตโรคไขมาลาเรียจากโรงพยาบาลจังหวัด
กําแพงเพชรจากผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ และการสัมภาษณญาติผูปวยที่เสียชีวิต
        2. การศึกษาสิงแวดลอม
                       ่
           สํารวจสภาพสิงแวดลอมทั่วไปและดําเนินการสํารวจลูกน้ํายุงกนปลองพาหะนําโรคไข
                           ่
มาลาเรีย บานผูปวยเสียชีวตและ ละแวกบานใกลเคียง เพื่อศึกษาหาสาเหตุของการเกิดโรคและ
                                ิ
วางแผนดําเนินการปองกันควบคุมโรค
        3. การเจาะโลหิตคนหาผูปวยรายใหมในพืนที่เกิดโรค จํานวน 134 คน
                                                 ้
ผลการสอบสวนโรค
ผูปวยชื่อ นางสาว นภิสรา ธนดลบรรพต อายุ 37 ป ประกอบอาชีพทําไรขาวโพด ที่อยู
ขณะปวยเลขที่ 12 หมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร
จากการใหขอมูลของนองสาวของผูปวย ทราบวา เริ่มปวยเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 ดวย
อาการ ไข ตัวรอน ปวดศีรษะและปวดกลามเนื้อ ผูปวยไดซื้อยามารับประทานเอง และรักษาตัว
                                                         
อยูที่บานเปนเวลา 2 วัน แตอาการไมดีขึ้น กอนปวยในวันที่ 2 มกราคม 2552 ผูปวยไดเดินทางไป
ตกปลาที่ลาหวยนอกกลุมบาน ซึงรอบบริเวณลําหวยมีลักษณะเปนปาทึบ มีนาไหลผานตลอดป
             ํ                        ่                                       ้ํ
และขอมูลจากการศึกษากีฎวิทยาพบวา ยังพบยุงที่เปนพาหะนําเชือไขมาลาเรียคือ Anopheles
                                                                   ้
minimus จนกระทังวันที่ 24 มกราคม 2552 ผูปวยไดเดินทางไปรักษาที่โรงพยาบาลจังหวัด
                       ่
กําแพงเพชร เวลาประมาณ 11.30 น. แพทยรับการรักษาเปนผูปวยใน โดยมีประวัติการเจ็บปวย
ดังนี้
            การเจ็บปวยในอดีต
                     - เปนโรค Chronic pancreatitis มี Pseudocyst in Liver
                     - Anemia และ Edema
            การเจ็บปวยในปจจุบัน
                    2 วันกอนมาโรงพยาบาลมีอาการไข ถายอุจจาระเหลว 3 ครั้ง วันนี้(วันที่ 24
มกราคม 2552) มีไข ไมมีน้ํามูก ปวดทองนอย ออนเพลีย อาการแรกรับผูปวยรูสึกตัวดี ปวด
ทองนอย ตัวและตาเหลือง T=36.2 C,P=72ครั้ง/นาที,R=20ครั้ง/นาที,BP=88/55mm/Hg แพทย
วินิจฉัยครั้งแรกวา Fever of unknown Origin C Shock R/OUT
            การรักษา
            วันที่ 24 มกราคม 2552
                     - IV fluid 0.9 NSS rate 120 cc/hr
                     - O2canular 3 LPM
                     - Cef-32gmOD
                     - PRC2U
                     - Chloroquine
                            4 tabs stat then
                            2 tabs อีก 6 ชั่วโมง ถัดมา then
                            2 tabs เชาพรุงนี้ then
                                          
                            2 tabs เชาวันถัดไป
                     - Primaquine (15) 2 tabs ODx14 วัน
                     - Folic 1x1 pc
วันที่ 25 มกราคม 2552
                     - Quinine 1200mg stat (Off Chloroquine)
                     - Quinine 600mg V drip q 8 ชั่วโมง
                     - Off Cet-3
                     - Platelet 1 U
              ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ
              CBC
                      WBC 2,400 Hct 23.8 Plt 50,000 N43% L54%
                      P.Vivax Amount: 0.3%
                      P.Vivax State:Trophozoites Gameetocyte
แพทยสรุปการวินิจฉัยวา Plasmodium vivax และโรครวม Pancytopenia และ Ac.Renal failure
        จากการสอบสวนสภาพสิ่งแวดลอมที่บานผูปวยทีเ่ สียชีวิต       พบวาเปนบานไมชั้นเดียว
หลังคามุงสังกะสี ไมมหองเปนสัดสวน มีหองน้ําแยกออกจากตัวบาน มีการปลูกสรางบานเรือน
                            ี
อยูกันแออัด
มาตรการปองกันควบคุมโรคที่ดําเนินการแลว
         ทีมควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร เขาพืนที่ในวันที่ 27
                                                                                ้
มกราคม 2552 โดยไดดําเนินการดังนี้
       1. เจาะโลหิตคนหาผูปวย ครอบคลุมในละแวกบานผูปวย จํานวน 134 ไมพบเชื้อมาลาเรีย
                              
       2. พนทําลายแหลง เพื่อกําจัดยุงกนปลองนําเชือไขมาลาเรียละแวกบานผูปวย จํานวน 7
                                                     ้                      
หลังคาเรือน
      3. ดําเนินการสํารวจลูกน้ํายุงกนปลองพาหะนําโรคไขมาลาเรียบริเวณลําหวยของหมูบาน พบ
                                                                                      
ลูกน้ํายุงพาหะชนิด Anopheles minimus จํานวน 3 ตัว
      4. ดําเนินการใหสุขศึกษาประชาสัมพันธการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรีย จํานวน 134 คน
ไมพบผูปวยรายใหม
มาตรการปองกันและควบคุมโรคอื่นๆ
         ผลการสอบสวนโรค พบวาผูปวยรายนีเ้ สียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย จากการวินิจฉัยของ
แพทย และจากผลการสอบสวนโรค สภาพแวดลอมอื่นๆ พบวาที่ผานมาผูปวยที่เสียชีวิตมี
พฤติกรรมที่ไมคอยใหความรวมมือในการเจาะโลหิตคนหาเชื้อไขมาลาเรีย การสํารวจสภาพพืนที่    ้
รอบบานผูปวยเสียชีวิต พบวามีสงแวดลอมที่เหมาะสมเปนแหลงเพาะพันธุยุงกนปลอง และทราบ
                                    ิ่                                
อีกวาผูปวยเสียชีวิตรายนี้ไมไดเดินทางไปไหนมาเลยกอนปวย สรุปไดวาแหลงรังโรคนาจะอยูใน
                                                                                            
พื้นที่ดังกลาว เนื่องจากมีการพบทังลูกน้าและยุงพาหะนําโรคไขมาลาเรีย
                                       ้ ํ
จากขอสถานการณโรคไขมาลาเรียหมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกําแพงเพชร ยอนหลังตั้งแตป 2549- 2551 พบผูปวยโรคไขมาลาเรียป 2549 จํานวน5
ราย คิดเปนอัตราปวย 10.66 ตอประชากรพันคน ป 2550 พบผูปวยโรคไขมาลาเรียจํานวน 14 ราย
คิดเปนอัตราปวย 32.49 ตอพันประชากร และในป 2551 พบผูปวยจํานวน 19 รายคิดเปนอัตรา
ปวย 26.32 ตอประชากรพันคน ในพืนที่ดังกลาวดําเนินการพนสารเคมีฤทธิ์ตกคางเปนประจําทุกป
                                  ้
 ขอเสนอแนะ
      1. จากการพบผูปวยเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรียในพืนที่ ทีมควบคุมโรค ของหนวยควบคุม
                                                     ้
โรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1.1 อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร ควรใชมาตรการในการเฝาระวัง
ใหมากขึ้น        รวมถึงการใหความสําคัญในการปองกันควบคุมโรคของผูปวยรายแรกของพืนที่   ้
(Index Case) การประสานงานในดานขอมูลของผูปวยกับหนวยงานที่เกียวของ อาจอาศัยรูปแบบ
                                                                    ่
คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอ (คปสอ.)
    2. ควรมีการประชาสัมพันธการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรียอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมถึง
การสรางการมีสวนรวมของประชาชนในพืนที่ผานการประชุมจัดทําเวทีประชาคม
                                       ้                                           เพื่อการ
ดําเนินงานควบคุมโรคแบบมีสวนรวม
    3. ควรมีการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อความรวมมือประสานแผนและการ
จัดสรรทรัพยากรที่ใชในการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรียใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สูงสุด
กิตติกรรมประกาศ
           งานควบคุมโรคและงานระบาดวิทยา ของศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1
กําแพงเพชร สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค ขอขอบคุณ งานระบาดวิทยา
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําแพงเพชร, งานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลกําแพงเพชร, งาน
ควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําแพงเพชร            ที่ไดใหขอมูลผลการตรวจทาง
หองปฏิบัติการ ตลอดจนใหความรวมมือในการดําเนินการสอบสวนโรคเปนอยางดี

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...Vorawut Wongumpornpinit
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthPROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthUtai Sukviwatsirikul
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)The Field Alliance
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Vorawut Wongumpornpinit
 
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesVorawut Wongumpornpinit
 
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrDel Del
 
สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์Rx_petch
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง Vorawut Wongumpornpinit
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 

Was ist angesagt? (20)

CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthPROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicinesWho guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
Who guidelines on good manufacturing practices for herbal medicines
 
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
 
สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สารเภสัชรังสีที่ใช้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 

Ähnlich wie สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย

Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าsucheera Leethochawalit
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)LittleThing CalledLove
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyHow to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 

Ähnlich wie สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย (20)

Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่มอีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
บทความทางด้านสุขภาพและการแพทย์ (Health and Medicine)
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
Drug induced liver injury
Drug induced liver injuryDrug induced liver injury
Drug induced liver injury
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyHow to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 

Mehr von นายสามารถ เฮียงสุข

เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 spเครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 spนายสามารถ เฮียงสุข
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่นายสามารถ เฮียงสุข
 

Mehr von นายสามารถ เฮียงสุข (8)

6วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 26วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 2
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน Swing fog sn 50
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 spเครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
เครื่องพ่นเคมีหมอกควันพัลล์ฟ็อกซ์ K 10 sp
 
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้าเครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
เครื่องพ่นเคมีหมอกควัน ไอจีบ้า
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
 
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลงเครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดแมลง
 
1การวิเคราะห์สถานการณ์
1การวิเคราะห์สถานการณ์1การวิเคราะห์สถานการณ์
1การวิเคราะห์สถานการณ์
 

สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย

  • 1. การสอบสวนผูปวยเสียชีวตโรคไขมาลาเรีย ิ หมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร 28 มกราคม 2552 ผูรายงานและสอบสวน 1. นายสามารถ เฮียงสุข ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ ปฏิบัติการ 2. นายสุรินทร เงินยวง ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุข ระดับ ชํานาญงาน 3. นายสมบัติ ทองชอย ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุข ระดับอาวุโส 4. นายเจษฎา เอี่ยมดี ตําแหนง พนักงานปฏิบัติการชันสูตรโรค 5. นายมนัส มุงขุนการ ตําแหนง พนักงานปฏิบัติการควบคุมพาหะนําโรค ความเปนมา ดวยงานควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร ไดรับแจง ทางโทรศัพท จากงานควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุข จังหวัดกําแพงเพชร เวลา 10.00 น. ของวันที่ 25 มกราคม 2552 วามีผปวยเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย จํานวน 1 ราย ที่ ู โรงพยาบาลจังหวัดกําแพงเพชร ผูปวยเสียชีวิตชื่อ นางสาว นภิสรา ธนดลบรรพต อายุ 37 ป  อยูบานเลขที่ 12 หมู10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร  งานควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร ไดออกพืนที่ ้ ดําเนินการสอบสวนโรคโดยประสานงานกับหนวยงานทีเ่ กี่ยวของ ในวันที่ 27 มกราคม 2552 เวลาประมาณ 06.00 น วัตถุประสงคของการสอบสวน 1. เพื่อยืนยันการวินจฉัยโรค ิ 2. เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคตามบุคคล สถานที่ เวลา 3. เพื่อหามาตรการในการปองกันและควบคุมโรคในพืนที่ ้ วิธีการศึกษา 1. การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา 1.1ศึกษารายละเอียดของผูปวยเสียชีวิตโรคไขมาลาเรียจากโรงพยาบาลจังหวัด กําแพงเพชรจากผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ และการสัมภาษณญาติผูปวยที่เสียชีวิต 2. การศึกษาสิงแวดลอม ่ สํารวจสภาพสิงแวดลอมทั่วไปและดําเนินการสํารวจลูกน้ํายุงกนปลองพาหะนําโรคไข ่ มาลาเรีย บานผูปวยเสียชีวตและ ละแวกบานใกลเคียง เพื่อศึกษาหาสาเหตุของการเกิดโรคและ ิ วางแผนดําเนินการปองกันควบคุมโรค 3. การเจาะโลหิตคนหาผูปวยรายใหมในพืนที่เกิดโรค จํานวน 134 คน  ้ ผลการสอบสวนโรค
  • 2. ผูปวยชื่อ นางสาว นภิสรา ธนดลบรรพต อายุ 37 ป ประกอบอาชีพทําไรขาวโพด ที่อยู ขณะปวยเลขที่ 12 หมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร จากการใหขอมูลของนองสาวของผูปวย ทราบวา เริ่มปวยเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 ดวย อาการ ไข ตัวรอน ปวดศีรษะและปวดกลามเนื้อ ผูปวยไดซื้อยามารับประทานเอง และรักษาตัว  อยูที่บานเปนเวลา 2 วัน แตอาการไมดีขึ้น กอนปวยในวันที่ 2 มกราคม 2552 ผูปวยไดเดินทางไป ตกปลาที่ลาหวยนอกกลุมบาน ซึงรอบบริเวณลําหวยมีลักษณะเปนปาทึบ มีนาไหลผานตลอดป ํ ่ ้ํ และขอมูลจากการศึกษากีฎวิทยาพบวา ยังพบยุงที่เปนพาหะนําเชือไขมาลาเรียคือ Anopheles ้ minimus จนกระทังวันที่ 24 มกราคม 2552 ผูปวยไดเดินทางไปรักษาที่โรงพยาบาลจังหวัด ่ กําแพงเพชร เวลาประมาณ 11.30 น. แพทยรับการรักษาเปนผูปวยใน โดยมีประวัติการเจ็บปวย ดังนี้ การเจ็บปวยในอดีต - เปนโรค Chronic pancreatitis มี Pseudocyst in Liver - Anemia และ Edema การเจ็บปวยในปจจุบัน 2 วันกอนมาโรงพยาบาลมีอาการไข ถายอุจจาระเหลว 3 ครั้ง วันนี้(วันที่ 24 มกราคม 2552) มีไข ไมมีน้ํามูก ปวดทองนอย ออนเพลีย อาการแรกรับผูปวยรูสึกตัวดี ปวด ทองนอย ตัวและตาเหลือง T=36.2 C,P=72ครั้ง/นาที,R=20ครั้ง/นาที,BP=88/55mm/Hg แพทย วินิจฉัยครั้งแรกวา Fever of unknown Origin C Shock R/OUT การรักษา วันที่ 24 มกราคม 2552 - IV fluid 0.9 NSS rate 120 cc/hr - O2canular 3 LPM - Cef-32gmOD - PRC2U - Chloroquine 4 tabs stat then 2 tabs อีก 6 ชั่วโมง ถัดมา then 2 tabs เชาพรุงนี้ then  2 tabs เชาวันถัดไป - Primaquine (15) 2 tabs ODx14 วัน - Folic 1x1 pc
  • 3. วันที่ 25 มกราคม 2552 - Quinine 1200mg stat (Off Chloroquine) - Quinine 600mg V drip q 8 ชั่วโมง - Off Cet-3 - Platelet 1 U ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ CBC WBC 2,400 Hct 23.8 Plt 50,000 N43% L54% P.Vivax Amount: 0.3% P.Vivax State:Trophozoites Gameetocyte แพทยสรุปการวินิจฉัยวา Plasmodium vivax และโรครวม Pancytopenia และ Ac.Renal failure จากการสอบสวนสภาพสิ่งแวดลอมที่บานผูปวยทีเ่ สียชีวิต พบวาเปนบานไมชั้นเดียว หลังคามุงสังกะสี ไมมหองเปนสัดสวน มีหองน้ําแยกออกจากตัวบาน มีการปลูกสรางบานเรือน ี อยูกันแออัด มาตรการปองกันควบคุมโรคที่ดําเนินการแลว ทีมควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร เขาพืนที่ในวันที่ 27 ้ มกราคม 2552 โดยไดดําเนินการดังนี้ 1. เจาะโลหิตคนหาผูปวย ครอบคลุมในละแวกบานผูปวย จํานวน 134 ไมพบเชื้อมาลาเรีย  2. พนทําลายแหลง เพื่อกําจัดยุงกนปลองนําเชือไขมาลาเรียละแวกบานผูปวย จํานวน 7 ้  หลังคาเรือน 3. ดําเนินการสํารวจลูกน้ํายุงกนปลองพาหะนําโรคไขมาลาเรียบริเวณลําหวยของหมูบาน พบ  ลูกน้ํายุงพาหะชนิด Anopheles minimus จํานวน 3 ตัว 4. ดําเนินการใหสุขศึกษาประชาสัมพันธการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรีย จํานวน 134 คน ไมพบผูปวยรายใหม มาตรการปองกันและควบคุมโรคอื่นๆ ผลการสอบสวนโรค พบวาผูปวยรายนีเ้ สียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย จากการวินิจฉัยของ แพทย และจากผลการสอบสวนโรค สภาพแวดลอมอื่นๆ พบวาที่ผานมาผูปวยที่เสียชีวิตมี พฤติกรรมที่ไมคอยใหความรวมมือในการเจาะโลหิตคนหาเชื้อไขมาลาเรีย การสํารวจสภาพพืนที่ ้ รอบบานผูปวยเสียชีวิต พบวามีสงแวดลอมที่เหมาะสมเปนแหลงเพาะพันธุยุงกนปลอง และทราบ ิ่  อีกวาผูปวยเสียชีวิตรายนี้ไมไดเดินทางไปไหนมาเลยกอนปวย สรุปไดวาแหลงรังโรคนาจะอยูใน   พื้นที่ดังกลาว เนื่องจากมีการพบทังลูกน้าและยุงพาหะนําโรคไขมาลาเรีย ้ ํ
  • 4. จากขอสถานการณโรคไขมาลาเรียหมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร ยอนหลังตั้งแตป 2549- 2551 พบผูปวยโรคไขมาลาเรียป 2549 จํานวน5 ราย คิดเปนอัตราปวย 10.66 ตอประชากรพันคน ป 2550 พบผูปวยโรคไขมาลาเรียจํานวน 14 ราย คิดเปนอัตราปวย 32.49 ตอพันประชากร และในป 2551 พบผูปวยจํานวน 19 รายคิดเปนอัตรา ปวย 26.32 ตอประชากรพันคน ในพืนที่ดังกลาวดําเนินการพนสารเคมีฤทธิ์ตกคางเปนประจําทุกป ้ ขอเสนอแนะ 1. จากการพบผูปวยเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรียในพืนที่ ทีมควบคุมโรค ของหนวยควบคุม  ้ โรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1.1 อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร ควรใชมาตรการในการเฝาระวัง ใหมากขึ้น รวมถึงการใหความสําคัญในการปองกันควบคุมโรคของผูปวยรายแรกของพืนที่ ้ (Index Case) การประสานงานในดานขอมูลของผูปวยกับหนวยงานที่เกียวของ อาจอาศัยรูปแบบ ่ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอ (คปสอ.) 2. ควรมีการประชาสัมพันธการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรียอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมถึง การสรางการมีสวนรวมของประชาชนในพืนที่ผานการประชุมจัดทําเวทีประชาคม ้  เพื่อการ ดําเนินงานควบคุมโรคแบบมีสวนรวม 3. ควรมีการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อความรวมมือประสานแผนและการ จัดสรรทรัพยากรที่ใชในการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรียใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูงสุด กิตติกรรมประกาศ งานควบคุมโรคและงานระบาดวิทยา ของศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค ขอขอบคุณ งานระบาดวิทยา สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําแพงเพชร, งานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลกําแพงเพชร, งาน ควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําแพงเพชร ที่ไดใหขอมูลผลการตรวจทาง หองปฏิบัติการ ตลอดจนใหความรวมมือในการดําเนินการสอบสวนโรคเปนอยางดี