SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ศึกษาสารประกอบอินทรีย์ที่เหมาะสมในการเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ช้างกระ
พรสวรรค์ อินทรพาณิชย์ 1*
, นัจนันท์ ศรีพรหมษา, ปิยะพร
พรหมศิริ,
ชนัญญา โถชัยคำา และ สรินทิพย์ วงษ์สำาราญ
Studied on organic compounds for
Rhynchostylis tissue culture.
Pornsawan Intrapanich1*
, Najchanan
Sriprommasa, Piyaporn Promsiri,
Chananya Thochaikham and Sarinthip
Wongsamran
1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ
อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร 47150
* Author. Tel : 089-9442025, 0812603814 ; E-mail
: Arnon_ intra @ hotmail.com
บทคัดย่อ
กล้วยไม้ช้างกระ เป็นกล้วยไม้พันธุ์พื้นเมืองที่พบ
กระจายพันธุ์แทบทุกภาคของประเทศไทย เป็นกล้วยไม้ที่มีช่อ
ดอกที่สวยงาม บานทน และดอกมีกลิ่นหอม เป็นที่นิยมปลูกเลี้ยง
กันทั่วไปและเป็นที่ต้องการของตลาด จึงเกิดการลักลอบนำาออก
จากป่ามาขาย ทำาให้กล้วยไม้พันธุ์ช้างกระในธรรมชาติลด
จำานวนลงอย่างรวดเร็ว จึงมีแนวคิดในการอนุรักษ์กล้วยไม้ชนิด
นี้โดยนำาเมล็ดมาเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อ
ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสม
ในการเพาะเมล็ดกล้วยไม้ช้างกระ วางแผนการทดลองแบบสุ่ม
สมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD)
เปรียบเทียบอาหารสังเคราะห์สูตร VW และสูตร VW ดัดแปลงที่
เติมสารประกอบอินทรีย์ 6 สูตร ได้แก่ กล้วยหอม หรือ มันฝรั่ง
หรือ มะละกอ หรือ มะเขือเทศ หรือ มันเทศ หรือ แครอท สูตร
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ละ 100 g/L และแต่ละสูตรมี 20 ซำ้า โดยนำาเมล็ดจากฝักแก่มา
เพาะบนอาหารสูตรต่าง ๆ ทำาการศึกษาสีของโพรโทคอร์ม นำ้า
หนักของโพรโทคอร์ม และส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้นสุดการ
ทดลอง 120 วัน พบว่า สีและนำ้าหนักของโพรโทคอร์มและ
ส่วนสูงของต้นอ่อนในระยะต่าง ๆ ของอาหารแต่ละสูตรมีการ
เปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน โดยสูตรอาหารทุกสูตรสามารถทำาให้
โพรโทคอร์มมีสีเขียว เกิดใบและรากได้ สูตรอาหารที่มีนำ้าหนัก
ที่เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์มดีที่สุด คือ สูตร VW + มันฝรั่ง มีนำ้า
หนักที่เพิ่มขึ้นของ
โพรโทคอร์ม 7.95 0.05 g สูตรอาหารที่มีค่าเฉลี่ยส่วนสูง
ของต้นอ่อนมากที่สุด คือ สูตร
VW + กล้วยหอม มีค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน 1.52 0.21
cm
คำาสำาคัญ : สารประกอบอินทรีย์, กล้วยไม้ช้างกระ, เพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ
Abstract
Rhynchostylis was wild type orchid that
almost found in every part of Thailand. Because of
beautiful inflorescence, long period of blooming
and aroma, they were popular for many growers
and be required which made this species
endangered. In order to protect, we cultured seeds
in tissue culture medium for studied on suitable
medium for Rhynchostylis seeds germination. The
experimental design was CRD which compare on
VW basal medium and modified VW. The addition
of organic compounds, banana or potato or papaya
or tomato or sweet potato or carrot, were add in
modified VW by used 100 g/L in each formula and
each treatment has 20 replications. Seeds from
mature capsules were used to culture. The data
collected in color, weight and height of protocorms
for 120 days. It was found that protocorms in all of
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
treatments could change the color to green and
they have leaflets and roots. The best formula for
increase weight was VW + potato (7.95 0.05 g).
The highest of seedling was 1.52 0.21 cm when
used VW + banana.
Key words : organic compounds, Rhynchostylis,
tissue culture
บทนำา
กล้วยไม้ช้างกระ เป็นกล้วยไม้พื้นเมืองพันธุ์หนึ่งของ
ไทย ในธรรมชาติจะพบในป่า
ดิบแล้งหรือป่าเบญจพรรณ อยู่ในสกุลรินโคสทิลิส
(Rhynchostylis) มีลักษณะช่อดอกทอดเอนลงเล็กน้อย หรือ
เอนโค้งลง ยาวใกล้เคียงกับความยาวของใบ ดอกในช่อค่อน
ข้างแน่น บานทนเป็นสัปดาห์ ขนาดดอก 2-2.5 เซนติเมตร
กลิ่นหอมฟุ้งกระจาย มีชื่อเรียกตามสีของดอก เช่น
ช้างแดง ช้างเผือก และเรียกตามลักษณะช่อ ทุกพันธุ์มีกลิ่นหอม
ดอกบานช่วงเดือนธันวาคมถึงมกราคม มีถิ่นกำาเนิดใน
ประเทศไทย พม่า ทางตอนใต้ของจีน ประเทศในแถบอินโดจีน
อินโดนีเซีย และหมู่เกาะทะเลจีนใต้ สำาหรับในประเทศไทยพบ
กระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ
เกือบทุกภาค อาทิเช่น ภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ ตำ่าลงมาจนถึง
ตอนเหนือของภาคกลาง เช่น นครสวรรค์ ชัยนาท ภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ เช่น หนองคาย มุกดาหาร สกลนคร เลย
และนครราชสีมาและภาคตะวันออก เช่น ปราจีนบุรี และยังพบ
แถบจังหวัดกาญจนบุรีด้วย
(อบฉันท์ ไทยทอง. 2545) ปัจจุบันกล้วยไม้พันธุ์แท้ที่พบใน
ธรรมชาติชนิดนี้เริ่มลดลง เนื่องจากมีการลักลอบนำาต้นกล้วยไม้
ช้างกระออกจากป่ามาขายเป็นจำานวนมาก เช่น ตามตลาดนัด
หรือตลาดขายของป่า จึงทำาให้ต้องมีการอนุรักษ์กล้วยไม้ชนิดนี้
อย่างเร่งด่วนและยั่งยืน ซึ่งวิธีที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์
กล้วยไม้ชนิดนี้คือการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สามารถทำาได้โดยการ
ขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ได้แก่ การปั่นตา ซึ่งมีข้อดีคือจะได้
ต้นที่มีลักษณะดีเหมือนเดิม
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ทุกประการ แต่เนื่องจากช้างกระเป็นกล้วยไม้ที่มีการเจริญ
เติบโตทางปลายยอด จึงเป็นการเสี่ยงที่จะต้องเสียต้นพันธุ์ไป
ส่วนการขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยการเพาะเมล็ดจะมี
ความแปรปรวนทางพันธุกรรมสูงกว่า แต่เป็นวิธีที่ไม่เสี่ยงต่อ
การสูญเสียต้นพันธุ์และทำาได้ง่ายกว่าการปั่นตา และการงอก
ของเมล็ดกล้วยไม้ตามธรรมชาติมีเปอร์เซ็นต์ที่ตำ่ามาก จึงต้อง
อาศัยการเพาะเมล็ดของกล้วยไม้ในสภาพปลอดเชื้อ เพราะเป็น
วิธีการที่สามารถช่วยให้เมล็ดกล้วยไม้งอกได้มากกว่าการเพาะ
ในสภาพธรรมชาติ เนื่องจากช้างกระเป็นกล้วยไม้ที่มีลักษณะ
เด่น
ในเรื่องดอกมีกลิ่นหอม บานทน ช่อดอกและต้นแข็งแรง ปลูก
เลี้ยงง่าย มีดอกให้ชื่นชมสมำ่าเสมอ จึงมีผู้นิยมและเป็นที่ต้องการ
ของตลาดเป็นอย่างมาก ดังนั้นการคิดค้นสูตรอาหารที่เหมาะสม
สำาหรับการเพาะเมล็ดกล้วยไม้ช้างกระ จึงถือเป็นทางเลือกหนึ่ง
ที่จะช่วยให้เพิ่มปริมาณกล้วยไม้ให้ได้จำานวนมากในระยะเวลา
อันสั้น ทั้งยังเป็นการช่วยอนุรักษ์กล้วยไม้ได้อีกทางหนึ่งด้วย
อุปกรณ์และวิธีการทดลอง
เตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสูตร VW และ VW
ดัดแปลงโดยเติมสารประกอบอินทรีย์ได้แก่ กล้วยหอม หรือ มัน
ฝรั่ง หรือ มะละกอ หรือ มะเขือเทศ หรือ มันเทศ หรือ แครอท
1. การเตรียมอาหารสูตร VW โดย
ปิเปตสารละลายจาก stock ที่เตรียมไว้ตาม
ปริมาตรที่ต้องการเตรียม
เติมนำ้ามะพร้าว เติมนำ้าตาล ปรับปริมาตร ปรับ pH (4.8-5.0)
เติมวุ้น (เคี่ยววุ้นด้วยไฟอ่อน)
ตักอาหารใส่ขวดที่ใช้เพาะเลี้ยง นำาขวดอาหารไปนึ่งใน
Autoclave 121 ํำC เป็นเวลา 15 นาที
นำาออกจาก Autoclave ปิดฝาให้แน่นและทิ้งไว้ให้เย็น
2. การเตรียมอาหารสูตร VW ดัดแปลง โดย เติม
สารประกอบอินทรีย์
ปิเปตสารละลายจาก stock ที่เตรียมไว้ตาม
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ปริมาตรที่ต้องการเตรียม
เติมนำ้ามะพร้าว เติมกล้วยหอม หรือ มันฝรั่ง หรือ มะละกอ หรือ
มะเขือเทศ หรือ มันเทศ
หรือ แครอท ที่บดละเอียด 100 g/L เติมนำ้าตาล ปรับ
ปริมาตร ปรับ pH (4.8-5.0) เติมวุ้น
(เคี่ยววุ้นด้วยไฟอ่อน) ตักอาหารใส่ขวดที่ใช้เพาะเลี้ยง นำาขวด
อาหารไปนึ่งใน Autoclave
121 ํำC เป็นเวลา 15 นาที นำาออกจาก Autoclave ปิด
ฝาให้แน่นและทิ้งไว้ให้เย็น
3. การฟอกฆ่าเชื้อและการเพาะเมล็ดกล้วยไม้
คัดเลือกฝักกล้วยไม้ที่เหมาะสม ล้างด้วยนำ้ายาล้าง
จานหรือผงซักฟอก
แล้วล้างออกด้วยนำ้าเปล่า จุ่มในแอลกอฮอล์ 70% แช่ใน
Clorox 20%+Tween-20 0.01%
(2 หยด) นาน 20 นาที แช่ใน Clorox 15%+Tween-20
0.01% (2 หยด) นาน 30 นาที ล้างด้วย
นำ้ากลั่นที่นึ่งฆ่าเชื่อแล้ว 3 ครั้งๆ ละ 5 นาที นำาขวดนำ้ากลั่นที่
ล้างฝักกล้วยไม้ครั้งสุดท้ายไปเปิดใน laminar Air flow (ตู้
ปลอดเชื้อ) นำาฝักกล้วยไม้จุ่มลงในแอลกอฮอล์ 70% นำาไป
ผ่านเปลวไฟ
ใช้มีดผ่าเปิดฝักกล้วยไม้ ใช้ช้อนตักเมล็ดกล้วยไม้ 1 ขวด
1 ช้อน ใส่ลงในขวดอาหารเพาะเลี้ยง
ที่เตรียมไว้ นำาไปเพาะเลี้ยงในห้องปลอดเชื้อที่มีการควบคุม
อุณหภูมิ แสง ความชื้น
ผลการทดลอง
จากการนำาเมล็ดกล้วยไม้ช้างกระมาทำาการเพาะเลี้ยงใน
อาหาร VW และ
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
VW ดัดแปลงโดยการเติมสารอินทรีย์ทั้ง 6 สูตร คือ VW, VW
+ กล้วยหอม, VW + มันฝรั่ง,
VW + มะละกอ, VW + มะเขือเทศ, VW + มันเทศ และ VW +
แครอท เป็นเวลา 120 วัน
พบว่า ที่ระยะเวลาต่าง ๆ อาหารแต่ละสูตรมีการเปลี่ยนแปลงสี
ของโพรโทคอร์มแตกต่างกัน โดยที่ระยะเวลา 30 วัน การ
เปลี่ยนแปลงจากสีที่ดีที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ สูตรอาหาร VW,
VW + มันฝรั่ง, VW + มะเขือเทศ, VW + มันเทศ, VW + กล้วย
หอม, VW + แครอท และ VW + มะละกอ ตามลำาดับ โดยค่าที่
วัดได้คือ 3.00 0.00, 2.78 0.44, 2.25 0.59,
1.50 0.58, 1.47 0.51, 1.00 0.00 และ 0.88
0.34 ตามลำาดับ ที่ระยะเวลา 60 วัน
การเปลี่ยนแปลงจากสีที่ดีที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ VW, VW +
มันเทศ, VW + แครอท, VW + มะเขือเทศ,VW + มันฝรั่ง, VW
+ กล้วยหอม และ VW + มะละกอ ตามลำาดับ โดยค่าที่วัดได้คือ
4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 3.88
0.60, 3.60 0.89, 3.50 0.78 และ 2.30 1.30
ตามลำาดับ ที่ระยะเวลา 90 วัน การเปลี่ยนแปลงจากสีที่ดีที่สุด
ไปน้อยที่สุด ดังนี้ VW, VW + กล้วยหอม,VW + มันฝรั่ง, VW
+ มันเทศ, VW + แครอท, VW + มะเขือเทศ และ VW +
มะละกอ ตามลำาดับ โดยค่าที่วัดได้ คือ 4.00 0.00, 4.00
0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00,
3.95 0.20 และ 3.63 1.21 ตามลำาดับ ที่ระยะเวลา
120 วัน การเปลี่ยนแปลงจากสีที่ดีที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ VW,
VW + กล้วยหอม,VW + มันฝรั่ง, VW + มันเทศ, VW +
แครอท, VW + มะเขือเทศ และ VW + มะละกอ ตามลำาดับ โดย
ค่าที่วัดได้คือ 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00,
4.00 0.00, 4.00 0.00, 3.95 0.20 และ 3.63
1.21 ตามลำาดับ จะเห็นว่าสูตรอาหารที่มีการเปลี่ยนแปลงสี
เร็วที่สุดคือ สูตรอาหาร VW และเมื่อทำาการทดลองครบ 120
วัน สูตร VW, VW + กล้วยหอม,VW + มันฝรั่ง, VW +
มันเทศ, VW + แครอท จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของ
โพรโทคอร์มในระยะที่ 4 คือโพรโทคอร์มมีสีเขียว เกิดยอด
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ขนาดเล็ก เกิดใบและราก รองลงมาคือ VW + มันฝรั่ง จะเกิด
การเปลี่ยนแปลงของโพรโทคอร์มในระยะที่ 4 คือโพรโทคอร์ม
มี
สีเขียว เกิดยอดขนาดเล็ก เกิดใบและราก, VW + มะเขือเทศ
ส่วน VW + มะละกอ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงสีของโพรโทคอร์ม
ช้าที่สุด ดังรูปที่ 4.1 และ กราฟแสดงการเปรียบเทียบสีของ
โพรโทคอร์ม (ตาราง 1 รูปที่ 1 และรูปที่ 2)
ตาราง 1 แสดงค่าเฉลี่ยสีของโพรโทคอร์ม เมื่อสิ้นสุดการ
ทดลอง (120 วัน)
สูตรอาหาร สีของโพรโทคอร์ม (เฉลี่ย) 1
30 วัน 60 วัน 90 วัน 120 วัน
VW
3.00 0.
00
4.00
0.00
4.00
0.00
4.00 0.
00
VW +
กล้วยหอม
1.47
0.51
3.50
0.78
4.00 0.
00
4.00
0.00
VW + มัน
ฝรั่ง
2.78
0.44
3.60 0.
89
4.00 0.
00
4.00
0.00
VW +
มะละกอ
0.88
0.34
2.30
1.30
3.63
1.21
3.63
1.21
VW +
มะเขือเทศ
2.25
0.59
3.88
0.60
3.95
0.20
3.95
0.20
VW +
มันเทศ
1.50
0.58
4.00
0.00
4.00
0.00
4.00
0.00
VW +
แครอท
1.00
0.00
4.00
0.00
4.00
0.00
4.00
0.00
1
0 = ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง 1 = นำ้าตาลเปลี่ยนเป็นสีขาว 2 = สี
ขาวเปลี่ยนเป็นสีเหลือง 3 = สีเหลือง เปลี่ยนเป็นสีเขียว 4 = สี
เขียว เกิดเป็น ยอดขนาดเล็ก มีใบและราก
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
A B
C D
E F
G
รูปที่ 1 แสดงโพรโทคอร์มในอาหารแต่ละสูตรที่นำาไปหาค่า
เฉลี่ยสีเมื่อสิ้นสุด
การทดลอง 120 วัน ประกอบด้วย
A : VW, B : VW + มันฝรั่ง, C : VW + กล้วยหอม,
D : VW + มะละกอ,
E : VW + มะเขือเทศ, F : VW + มันเทศ,
G : VW + แครอท
ค่าเฉลี่ยสี
สูตรอาหาร
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
รูปที่ 2 กราฟแสดงการเปรียบเทียบสีของโพรโทคอร์ม
(120 วัน)
ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของนำ้าหนักของเมล็ด
หลังการเพาะเลี้ยง 120 วัน พบว่า อาหารแต่ละสูตรมีการ
เปลี่ยนแปลงนำ้าหนักของโพรโทคอร์มแตกต่างกัน โดยการ
เปลี่ยนแปลงของนำ้าหนักจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ VW +
มันฝรั่ง, VW + มะเขือเทศ, VW + มันเทศ,VW + แครอท, VW
+ มะละกอ, VW +กล้วยหอม และ สูตรอาหาร VW โดยค่านำ้า
หนักที่วัดได้ คือ 7.950 g, 6.890 g, 6.530 g, 4.890 g,
2.940 g, 2.200 g และ 1.190 g ตามลำาดับ (ตาราง 2 รูป
ที่ 3 และรูปที่ 4)
ตาราง 2 แสดงค่าเฉลี่ยนำ้าหนักของโพรโทคอร์ม เมื่อสิ้นสุด
การทดลอง (120 วัน)
สูตรอาหาร
นำ้าหนักของโพรโทคอร์ม (g) นำ้าหนักที่เพิ่ม
ของ
โพรโทคอร์ม
(g)
เริ่มทดลอง 120 วัน
VW 0.002 1.190 1.188
0.017
VW +กล้วย
หอม
0.002 2.200 2.198
0.121
VW + มัน
ฝรั่ง
0.002 7.950 7.948
0.172
VW +
มะละกอ
0.002 2.940 2.938
0.921
VW + มะเขือ
เทศ
0.002 6.890 6.888
1.201
VW + 0.002 6.530 6.528
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
มันเทศ 0.900
VW +
แครอท
0.002 4.890 4.888
1.001
A
B C
D
E F
G
รูปที่ 3 แสดงโพรโทคอร์มในอาหารแต่ละสูตรที่นำาไปหาค่า
เฉลี่ยนำ้าหนักเมื่อสิ้นสุด
การทดลอง (120 วัน) ประกอบด้วย
A : VW, B : VW + มันฝรั่ง, C : VW + กล้วยหอม,
D : VW + มะละกอ,
E : VW + มะเขือเทศ, , F : VW + มันเทศ, G :
VW + แครอท
นำ้าหนัก (g)
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
สูตรอาหาร
รูปที่ 4 กราฟแสดงการเปรียบเทียบนำ้าหนักของโพรโทคอร์ม
ในอาหารแต่ละสูตร
เมื่อสิ้นสุดการทดลอง (120 วัน)
ผลการศึกษาส่วนสูงของเมล็ดหลังการเพาะเลี้ยง 120
วัน (4 เดือน) พบว่า ส่วนสูงของต้นอ่อน ของอาหารแต่ละสูตร
มีส่วนสูงของต้นอ่อนแตกต่างกัน โดยส่วนสูงที่สูงที่สุดไปน้อย
ที่สุด ดังนี้ สูตรอาหาร VW + กล้วยหอม, VW + มันฝรั่ง, VW
+ มันเทศ, VW + มะเขือเทศ,
VW + มะละกอ, VW + แครอท และ VW โดยค่าที่วัดได้คือ
1.52 0.21, 1.40 0.21,
1.16 0.13, 1.14 0.21, 1.13 1.18, 0.97
0.22 และ 0.52 0.14 ตามลำาดับ
จะเห็นว่าสูตรอาหารที่มีส่วนสูง สูงที่สุดคือ สูตรอาหาร VW +
กล้วยหอม รองลงมาคือ
VW + มันเทศ, VW + มะเขือเทศ, VW + มะละกอ, VW +
แครอท และ VW ตามลำาดับ
(ตาราง 3 รูปที่ 5 และรูปที่ 6)
ตาราง 3 แสดงค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้นสุดการ
ทดลอง (120 วัน)
สูตรอาหาร
ส่วนสูงของต้นอ่อน (cm)
ค่า
เฉลี่ย(cm)
ต้
น
1
ต้
น
2
ต้
น
3
ต้
น
4
ต้
น
5
ต้
น
6
ต้
น
7
ต้
น
8
ต้
น
9
ต้
น
1
0
VW 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.52
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
6 6 4 8 5 5 4 6 4 4 0.14
VW +กล้วย
หอม
1.
4
1.
7
1.
4
1.
3
1.
4
1.
4
1.
3
1.
6
1.
9
1.
8
1.52
0.21
VW + มัน
ฝรั่ง
1.
6
1.
1
1.
4
1.
5
1.
4
1.
8
1.
3
1.
2
1.
5
1.
2
1.40
0.21
VW +
มะละกอ
1.
3
1.
2
1.
2
1.
4
1.
3
1.
0
0.
9
0.
9
1.
0
1.
1
1.13
1.18
VW + มะเขือ
เทศ
1.
6
1.
4
1.
2
1.
1
1.
0
1.
0
1.
1
1.
0
1.
0
1.
0
1.14
0.21
VW +
มันเทศ
1.
4
1.
2
1.
0
1.
3
1.
2
1.
2
1.
1
1.
0
1.
0
1.
2
1.16
0.13
VW +
แครอท
1.
3
1.
2
1.
1
1.
2
1.
0
0.
7
0.
9
0.
7
0.
8
0.
8
0.97
0.22
A
B C
D
E F
G
รูปที่ 5 แสดงต้นอ่อนในอาหารแต่ละสูตรที่นำาไปหาค่าเฉลี่ย
ส่วนสูงเมื่อสิ้นสุด
การทดลอง (120 วัน)
ประกอบด้วย A : VW, B : VW + มันฝรั่ง, C : VW
+ กล้วยหอม, D : VW + มะละกอ,
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
E : VW + มะเขือเทศ, , F :
VW + มันเทศ, G : VW + แครอท
ส่วนสูง (cm)
สูตรอาหาร
รูปที่ 6 กราฟแสดงการเปรียบเทียบส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้น
สุดการทดลอง (120 วัน)
การเจริญของเมล็ดกล้วยไม้ โดยวัดจาก นำ้าหนักที่
เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์ม
สีของโพรโทคอร์ม และส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้นสุดการ
ทดลอง (120 วัน) พบว่า
การเปลี่ยนสีของโพรโทคอร์มในระยะต่าง ๆ ของอาหารแต่ละ
สูตรมีการเปลี่ยนแปลงสี
แตกต่างกัน โดยสูตรอาหารที่มีการเปลี่ยนแปลงสีดีที่สุด คือ
สูตรอาหาร VW มีการเปลี่ยนแปลงสีของโพรโทคอร์มในระยะที่
4 เกิดใบและราก (ค่าเฉลี่ย 3.75 0.5) นำ้าหนักที่เพิ่มขึ้น
ของโพรโทคอร์มเมื่อสิ้นสุดการทดลอง (120 วัน) ของอาหาร
แต่ละสูตร มีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน โดยสูตรอาหารที่มีนำ้า
หนักที่เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์ม ดีที่สุด คือ
สูตร VW + มันฝรั่ง มีนำ้าหนักที่เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์ม คือ
7.95 0.05 g ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้นสุดการ
ทดลอง (120 วัน) ของอาหารแต่ละสูตรมีค่าต่างกัน โดยสูตร
อาหารที่มีค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน มากที่สุด คือ สูตร VW +
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
กล้วยหอม มีค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน คือ 1.52 0.21
cm (ตาราง 4 รูปที่ 7 และรูปที่ 8)
ตาราง 4 แสดงการเจริญของเมล็ด โดยวัดได้จาก นำ้าหนักที่
เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์ม
สีของโพรโทคอร์ม และส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อ
สิ้นสุดการทดลอง (120 วัน)
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
สูตร
อาหาร
การเจริญของเมล็ด เมื่อสิ้นสุดการทดลอง (120 วัน)
นำ้าหนักที่เพิ่มของโพรโทคอร์ม
(g)
สีของโพรโท
คอร์ม (เฉลี่ย)
ส่วนสูงของ
ต้นอ่อน cm
(เฉลี่ย)
VW 1.19 0.02
3.75
0.50
(เกิดใบและ
ราก)
0.52
0.14
VW
+กล้วย
หอม
2.18 0.02
3.24
1.20
(สีเขียว)
1.52
0.21
VW+มัน
ฝรั่ง
7.95 0.07
3.60
0.58
(เกิดใบและ
ราก)
1.40
0.21
VW
+มะละกอ
2.94 1.05
2.63 1.26
(สีเขียว)
1.13
1.18
VW+มะเขือ
เทศ
6.89 0.90
3.51
0.84
(เกิดใบและ
ราก)
1.14
0.21
VW
+มันเทศ
6.53 0.91
3.37
0.98
(เกิดใบและ
ราก)
1.16
0.13
VW
+แครอท
4.89 1.06
3.25
1.50
(สีเขียว)
0.97
0.22
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ค่าเฉลี่ย
สูตรอาหาร
รูปที่ 7 กราฟแสดงการเปรียบเทียบการเจริญของเมล็ด
กล้วยไม้
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2
ระยะที่ 3 ระยะที่ 4
นำ้าตาลเปลี่ยนเป็นขาว ขาวเปลี่ยนเป็นเหลือง เหลืองเเป
ลี่ยนเป็นขียว เขียวเปลี่ยนเป็น
เกิดยอดขนาดเล็กเกิด
ใบและราก
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
รูปที่ 8 แสดงการเจริญของโพรโทคอร์มในระยะต่าง ๆ
อภิปรายผลการทดลอง
จากการศึกษานี้สูตรอาหารที่เหมาะสมสำาหรับการเพาะ
เมล็ดกล้วยไม้พันธุ์ช้างกระ
เมื่อพิจารณาจากนำ้าหนัก คือ สูตร VW + มันฝรั่ง เมื่อพิจารณา
จากส่วนสูง คือ สูตร VW +
กล้วยหอม ทั้งนี้เนื่องจากในสูตรอาหารที่มีสารอินทรีย์นั้น จะมี
สารอาหารซึ่งมีผลให้การเจริญของเนื้อเยื่อพืชดีขึ้น แต่ปริมาณ
สารอาหารอินทรีย์ในพืชแต่ละชนิดมีปริมาณแตกต่างกัน
จึงมีผลต่อการเจริญของเมล็ดกล้วยไม้พันธุ์ช้างกระแตกต่างกัน
ทั้งนำ้าหนัก และส่วนสูง
ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ทิวา รักนิ่ม และคณะ (2551) ซึ่ง
ได้ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้พื้น
เมืองสิงโตอาจารย์เต็มในสภาพปลอดเชื้อ โดยทำาการศึกษา
สูตรอาหารทั้งหมด 8 สูตร เพาะเลี้ยงเป็นเวลา 3 เดือน พบว่า
สูตร VW ที่เติมนำ้ามะพร้าว
150 mL/L ร่วมกับกล้วยหอมบด 100 g/L มันฝรั่งบด 50
g/L และผงถ่าน 2 g/L ให้เปอร์เซ็นต์
การงอกดีที่สุด 80 % หลังเพาะเลี้ยงนาน 6 สัปดาห์ โพรโท
คอร์มที่ได้มีสีเขียว และมีการพัฒนาเป็นต้น รองลงมาคือสูตร
MS มีปอร์เซ็นต์การงอก 65 % หลังเพาะเลี้ยงนาน 5.5 สัปดาห์
โพรโทคอร์ม มีลักษณะสีเขียวไม่เกิดการพัฒนาและค่อย ๆ
เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ส่วนสูตรที่ให้เปอร์เซ็นต์การงอกน้อยสุดคือ
สูตร MT ที่เติม BA ความเข้มข้น 2.9 mg/L ร่วมกับ NAA
ความเข้มข้น 0.3 mg/L ให้เปอร์เซ็นต์การงอก 5 % ใช้ระยะ
เวลานการงอกนานที่สุด 8 สัปดาห์ ลักษณะโพรโทคอร์มมีสี
เขียวแกมเหลืองและไม่เกิดการพัฒนา และสอดคล้องกับงาน
วิจัยของ
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
กษิดิศ ดิษฐบรรจง (2553) ได้ศึกษาการขยายพันธุ์และการ
เก็บรักษากล้วยไม้ช้างกระในสภาพปลอดเชื้อ โดยนำาเมล็ดจาก
ฝักช้างกระที่มีอายุประมาณ 7-9 เดือน ซึ่งมีสีครีมจนถึงนำ้าตาล
อ่อน มาเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อบนอาหารสูตรต่าง ๆ โดย
พิจารณาจากคะแนนในการงอกเมล็ด พบว่าเมล็ดงอกดีที่สุดบน
อาหารดัดแปลง VW (1949) หรือ VW (1949) ที่เติมนำ้า
มะพร้าว
150 mL/L และนำ้าต้มมันฝรั่ง 100 g/L ที่ระดับ 2.7 คะแนน
และอาหารที่เหมาะสมใน
การเจริญเติบโต ของต้นอ่อนคือ VW (1949) ที่เติมนำ้ามะพร้าว
150 mL/L และปุ๋ยกล้วยไม้สูตร
21-21-21 อัตรา 1 g/L ซึ่งทำาให้ต้นอ่อนมีอัตราการเจริญ
เติบโต 1.70 เท่าของนำ้าหนักเริ่มต้นในระยะเวลา 9 เดือน ใน
การเก็บรักษาในสภาพปลอดเชื้อ โดยวิธีการชะลอการเติบโต
การเลี้ยงบนอาหารแข็งที่เติม mannitol เข้มข้น 2 % และ 4%
(w/v) โดยไม่เปลี่ยนอาหารนาน 12 เดือน สามารถชะลอการ
เติบโตของช้างกระได้โดยที่นำ้าหนักสดยังคงเพิ่มขึ้น มีสีใบและ
ลักษณะ
ความสมบูรณ์ปกติ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ นันทนา นา
ชัย (2553) ที่พบว่า อาหารสูตรเพาะเลี้ยงสูตร มันฝรั่ง +
วิตามินรวมเซนทรัม เหมาะสำาหรับการเจริญเติบโตของเมล็ด
ช้างกระมากที่สุด โดยทำาให้มีจำานวนเมล็ดงอกมากที่สุด ให้นำ้า
หนักโพรโทคอร์มสูงที่สุดและมี
ความยาวใบมากที่สุด จะเห็นได้ว่าสูตร VW อย่างเดียวสามารถ
ทำาให้เมล็ดงอกและเติบโตเป็นโพรโทคอร์มได้เพราะมีธาตุ
อาหารเพียงพอต่อการงอกการเกิดรากและใบในระดับหนึ่ง แต่
ยังช้ากว่า VW ที่ผสมสารอินทรีย์ต่างๆ เนื่องจากสารประกอบ
อินทรีย์ในพืชจะมีวิตามิน แร่ธาตุหลายชนิดและกรดอะมิโน
และมีนำ้าตาลเป็นแหล่งพลังงานโดยเฉพาะมันฝรั่งและมะเขือเทศ
ซึ่งให้การเพิ่มนำ้าหนักโพรโทคอร์มดีกว่าสูตรอื่นๆ ส่วนด้าน
ส่วนสูงของต้นอ่อน การเจริญจะดีขึ้นหากเติม กล้วยหอมและ
มันฝรั่ง
สาเหตุที่ใส่มันฝรั่งลงในอาหารแล้วทำาให้โพรโทคอร์มมี
นำ้าหนักมากที่สุด เนื่องจากในมันฝรั่งมีสารโพลีเอมีน
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
(polyamine) เช่น putresine spermime และ
spermidine กระจายอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของเนื้อเยื่อ และใน
ระยะที่หัวมันฝรั่งเกิดการงอก สารเหล่านี้จะพบมากที่บริเวณ
ยอด สารกลุ่มนี้มีผลต่อการเพิ่มกรดนิวคลีอิก (nucleic acid)
ทำาให้พืชแบ่ง cell แบบ mitosis มากขึ้นและยังป้องกันการ
สลายตัวของคลอโรพลาสต์และโปรตีน และการใส่มันฝรั่งใน
สูตรอาหาร มีรายงานว่าช่วยให้เมล็ดงอกได้ดีขึ้นและต้นอ่อน
จะมีความแข็งแรง
สาเหตุที่ใส่กล้วยหอมลงในอาหารแล้วทำาให้โพรโท
คอร์มมีส่วนสูงมากที่สุด เนื่องจากในกล้วยหอมมีสารต่าง ๆ
มากมาย โดยในกล้วยหอมมีสารเร่งการเจริญเติบโตพืช
บางชนิด เช่น GA, GA7 ซึ่งจิบเบอเรลลิน (Gibberellin :
GA) เป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้น
การขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนัง
เซลล์ ทำาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น และธาตุเหล็กที่อยู่ในผล
กล้วยหอมจะอยู่ในรูปที่พืชสามารถนำาไปใช้ได้ในการเจริญ
เติบโตได้ดี (Arditti and Ernst. 1993, อ้างถึงใน ราฮีมา
วาแมดีซา. 2549 : 109)
ดังนั้นจึงสามารถนำาสารอินทรีย์จากธรรมชาติซึ่งมีความ
เหมาะสม ต่อการเจริญของเมล็ดกล้วยไม้ มาใช้ ในงานเพาะ
เลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ช้างกระต่อไปได้
เอกสารอ้างอิง
ฐกฤต อิ่มสมบูรณ์และคณะ. สูตรอาหารที่เหมาะสมสำาหรับการ
เพาะเมล็ดกล้วยไม้รองเท้านารี
คางกบ ในสภาพปลอดเชื้อ. ภาควิชาพฤกษศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ : มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์. ม.ป.ป.
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ทิวา รักนิ่ม และคณะ. อิทธิพลสูตรอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต่อ
การงอกเมล็ดกล้วยไม้
รองเท้านารี คางกบในสภาพปลอดเชื้อ. วารสาร
วิทยาศาสตร์เกษตร. คณะวิทยาศาสตร์
: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 2550.
. การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสม
ต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้
พื้นเมืองสิงโตอาจารย์เต็มในสภาพปลอดเชื้อ. คณะ
วิทยาศาสตร์ : มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์. 2551.
นันทนา นาชัย. สูตรอาหารอินทรีย์สำาหรับการเพาะเมล็ด
กล้วยไม้ช้างกระ. สาขาวิชา
พืชศาสตร์-พืชสวน คณะทรัพยากรธรรมชาติ :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
อีสาน. 2553.
บุญยืน กิจวิจารณ์. เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช.
ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา,
2540.
ประศาสตร์ เกื้อมณี. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์,
2538.
สลิสา อุดร สูตรอาหารที่เหมาะสมสำาหรับการเพาะเมล็ด
กล้วยไม้ช้างกระในสภาพ
ปลอดเชื้อ. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์. (ม.ป.ป.).
เอกรัตน์ วสุเพ็ญ. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้และการปลูก
เลี้ยงเบื้องต้น.
คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลอีสาน วิทยาเขต
สกลนคร : อัดสำาเนา. 2554.
อบฉันท์ ไทยทอง. กล้วยไม้เมืองไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
บ้านและสวน, 2543.
Yamazaki J. and K. Miyoshi. In vitro Asymbiotic
Germination of Immature Seed
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
and Formation of Protocorm by
Cephalanthera falcata (Orchidaceae). Ann. Bot. 98
(6) : 1197-1206, 2006.
ภาคผนวก
รูปแสดงขั้นตอนการทดลอง
1. การเตรียมอาหารสูตร VW โดย
ปิเปตสารละลายจาก stock ที่เตรียมไว้ตามปริมาตร
ที่ต้องการเตรียม
เติมนำ้ามะพร้าว เติมนำ้าตาล ปรับปริมาตร
ปรับ pH (4.8-5.0)
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
เติมวุ้น (เคี่ยววุ้นด้วยไฟอ่อน
ตักอาหารใส่ขวดที่ใช้เพาะเลี้ยง
นำาขวดอาหารไปนึ่งใน Autoclave 121 ํำC เป็นเวลา 15
นาที นำาออกจาก Autoclave
ปิดฝาให้แน่นและทิ้งไว้ให้เย็น
2. การเตรียมอาหารสูตร VW ดัดแปลง โดย เติมสารประกอบ
อินทรีย์
ปิเปตสารละลายจาก Stock ต่าง ๆ มารวมกัน เติมนำ้ามะพร้าว
เติมนำ้าตาล ปรับปริมาตร
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ปรับ pH (4.8-5.0)
เติมสารประกอบอินทรีย์ที่ต้องการศึกษา ได้แก่ กล้วยหอม หรือ
มันฝรั่ง หรือ มะละกอ หรือ มะเขือเทศ หรือ มันเทศ หรือ
แครอท โดยนำามาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆใช้ปริมาณ 100 g/L
เติมวุ้นลงในอาหาร นำาภาชนะใส่อาหารไปตั้งบนเตาเพื่อเคี่ยว
วุ้น แล้วตักอาหารใส่ขวด
ที่ใช้เพาะเลี้ยง นำาขวดอาหารไปใส่ในหม้อนึ่งความดัน
(autoclave) ทิ้งไว้ให้เย็น
3. การฟอกฆ่าเชื้อและการเพาะเมล็ดกล้วยไม้
คัดเลือกฝักกล้วยไม้ที่เหมาะสม ล้างด้วยนำ้ายาล้างจาน/ผง
ซักฟอก แล้วล้างออกด้วยนำ้าเปล่า
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
จุ่มในแอลกอฮอล์ 70%
แช่ใน Clorox 20%+Tween-20 0.01% (2
หยด) นาน 20 นาที
แช่ใน Clorox 15%+Tween-20 0.01% (2 หยด) นาน 30
นาที
ล้างด้วยนำ้ากลั่นที่นึ่งฆ่าเชื่อแล้ว 3 ครั้งๆ ละ
5 นาที
นำาขวดนำ้ากลั่นที่ล้างฝักกล้วยไม้ครั้งสุดท้ายไปเปิดใน laminar
Air flow (ตู้ปลอดเชื้อ)
โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23
ใช้มีดผ่าเปิดฝักกล้วยไม้ออก ใช้ช้อนตักสารโลหะ ตัก
เมล็ดกล้วยไม้ จำานวน 1 ช้อน ใส่ลงในอาหารเพาะเลี้ยงที่
เตรียมไว้ ลนไฟที่ปากขวดแล้วปิดฝาเก็บไว้ในห้องปลอดเชื้อ
และควบคุมอุณหภูมิเป็นเวลา 120 วัน
สุ่มขวดอาหารแต่ละสูตรมาสูตรละ 20 ขวด บันทึกนำ้า
หนักของโพรโทคอร์ม ส่วนสูงของต้นอ่อน และสีของโพรโท
คอร์ม เมื่อสิ้นสุดการทดลอง เป็นเวลา 120 วัน นำาไปหาค่า
เฉลี่ยนำ้าหนักของโพรโทคอร์ม ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน ค่า
เฉลี่ยของสีโพรโทคอร์ม และบันทึกสีของโพรโทคอร์ม ทุก 30
วัน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie วิจัยช้างกระใหม่

ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ThanyapornK1
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 2
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 2แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 2
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 2เล้ง ยอดดี
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 3
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 3แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 3
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 3เล้ง ยอดดี
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1เล้ง ยอดดี
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 4
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 4แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 4
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 4เล้ง ยอดดี
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5Tewit Chotchang
 

Ähnlich wie วิจัยช้างกระใหม่ (13)

M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 2
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 2แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 2
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 2
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 3
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 3แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 3
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 3
 
Bestmaecharao
BestmaecharaoBestmaecharao
Bestmaecharao
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 4
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 4แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 4
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 4
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60Plant hor 1_77_60
Plant hor 1_77_60
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
 

Mehr von พงษ์ขจร บุญพงษ์

ประกาศผลการตัดสินการประกวดโครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ป...
ประกาศผลการตัดสินการประกวดโครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ป...ประกาศผลการตัดสินการประกวดโครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ป...
ประกาศผลการตัดสินการประกวดโครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ป...พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
คู่มือการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้
คู่มือการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้คู่มือการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้
คู่มือการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2557
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2557 โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2557
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2557 พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
กิจกรรมเปิดบ้านอาเซียนและสิทธฺเด็ก 2557
กิจกรรมเปิดบ้านอาเซียนและสิทธฺเด็ก 2557กิจกรรมเปิดบ้านอาเซียนและสิทธฺเด็ก 2557
กิจกรรมเปิดบ้านอาเซียนและสิทธฺเด็ก 2557พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
วารสารโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ
วารสารโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิวารสารโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ
วารสารโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิพงษ์ขจร บุญพงษ์
 
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
รายชื่อนักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมค่ายนิสิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายชื่อนักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมค่ายนิสิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายชื่อนักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมค่ายนิสิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายชื่อนักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมค่ายนิสิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพงษ์ขจร บุญพงษ์
 
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...พงษ์ขจร บุญพงษ์
 

Mehr von พงษ์ขจร บุญพงษ์ (20)

Reward love ๒๕๕๖
Reward love ๒๕๕๖Reward love ๒๕๕๖
Reward love ๒๕๕๖
 
Reward love ๒๕๕๕
Reward love ๒๕๕๕Reward love ๒๕๕๕
Reward love ๒๕๕๕
 
Reward love ๒๕๕๔
Reward love ๒๕๕๔Reward love ๒๕๕๔
Reward love ๒๕๕๔
 
ประกาศผลการตัดสินการประกวดโครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ป...
ประกาศผลการตัดสินการประกวดโครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ป...ประกาศผลการตัดสินการประกวดโครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ป...
ประกาศผลการตัดสินการประกวดโครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ป...
 
คำสั่งส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
คำสั่งส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖คำสั่งส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
คำสั่งส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
 
โครงการส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
โครงการส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖โครงการส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
โครงการส่งเสริมการอ่าน ๒๕๕๖
 
คู่มือการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้
คู่มือการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้คู่มือการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้
คู่มือการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้
 
ปกคู่มือการดำเนินกิจกรรม
ปกคู่มือการดำเนินกิจกรรมปกคู่มือการดำเนินกิจกรรม
ปกคู่มือการดำเนินกิจกรรม
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2557
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2557 โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2557
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2557
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2556
 
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
โครงการรักชาติถูกทางสร้างเสริมความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555
 
โครงการรักชาติ ประจำปี 2554
โครงการรักชาติ ประจำปี 2554โครงการรักชาติ ประจำปี 2554
โครงการรักชาติ ประจำปี 2554
 
กิจกรรมเปิดบ้านอาเซียนและสิทธฺเด็ก 2557
กิจกรรมเปิดบ้านอาเซียนและสิทธฺเด็ก 2557กิจกรรมเปิดบ้านอาเซียนและสิทธฺเด็ก 2557
กิจกรรมเปิดบ้านอาเซียนและสิทธฺเด็ก 2557
 
วารสารโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ
วารสารโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิวารสารโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ
วารสารโรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ
 
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
 
Gumnodkarn
GumnodkarnGumnodkarn
Gumnodkarn
 
Name for jura
Name for juraName for jura
Name for jura
 
รายชื่อนักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมค่ายนิสิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายชื่อนักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมค่ายนิสิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายชื่อนักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมค่ายนิสิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายชื่อนักเรียนเข้าร่วมโครงการส่งเสริมค่ายนิสิตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
 
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
รายชื่อนนักเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการติวความรู้กับค่ายนิสิตแพทย์ จุฬาลงกรณ์...
 

วิจัยช้างกระใหม่

  • 1. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ศึกษาสารประกอบอินทรีย์ที่เหมาะสมในการเพาะ เลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ช้างกระ พรสวรรค์ อินทรพาณิชย์ 1* , นัจนันท์ ศรีพรหมษา, ปิยะพร พรหมศิริ, ชนัญญา โถชัยคำา และ สรินทิพย์ วงษ์สำาราญ Studied on organic compounds for Rhynchostylis tissue culture. Pornsawan Intrapanich1* , Najchanan Sriprommasa, Piyaporn Promsiri, Chananya Thochaikham and Sarinthip Wongsamran 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร 47150 * Author. Tel : 089-9442025, 0812603814 ; E-mail : Arnon_ intra @ hotmail.com บทคัดย่อ กล้วยไม้ช้างกระ เป็นกล้วยไม้พันธุ์พื้นเมืองที่พบ กระจายพันธุ์แทบทุกภาคของประเทศไทย เป็นกล้วยไม้ที่มีช่อ ดอกที่สวยงาม บานทน และดอกมีกลิ่นหอม เป็นที่นิยมปลูกเลี้ยง กันทั่วไปและเป็นที่ต้องการของตลาด จึงเกิดการลักลอบนำาออก จากป่ามาขาย ทำาให้กล้วยไม้พันธุ์ช้างกระในธรรมชาติลด จำานวนลงอย่างรวดเร็ว จึงมีแนวคิดในการอนุรักษ์กล้วยไม้ชนิด นี้โดยนำาเมล็ดมาเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อ ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสม ในการเพาะเมล็ดกล้วยไม้ช้างกระ วางแผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) เปรียบเทียบอาหารสังเคราะห์สูตร VW และสูตร VW ดัดแปลงที่ เติมสารประกอบอินทรีย์ 6 สูตร ได้แก่ กล้วยหอม หรือ มันฝรั่ง หรือ มะละกอ หรือ มะเขือเทศ หรือ มันเทศ หรือ แครอท สูตร
  • 2. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ละ 100 g/L และแต่ละสูตรมี 20 ซำ้า โดยนำาเมล็ดจากฝักแก่มา เพาะบนอาหารสูตรต่าง ๆ ทำาการศึกษาสีของโพรโทคอร์ม นำ้า หนักของโพรโทคอร์ม และส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้นสุดการ ทดลอง 120 วัน พบว่า สีและนำ้าหนักของโพรโทคอร์มและ ส่วนสูงของต้นอ่อนในระยะต่าง ๆ ของอาหารแต่ละสูตรมีการ เปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน โดยสูตรอาหารทุกสูตรสามารถทำาให้ โพรโทคอร์มมีสีเขียว เกิดใบและรากได้ สูตรอาหารที่มีนำ้าหนัก ที่เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์มดีที่สุด คือ สูตร VW + มันฝรั่ง มีนำ้า หนักที่เพิ่มขึ้นของ โพรโทคอร์ม 7.95 0.05 g สูตรอาหารที่มีค่าเฉลี่ยส่วนสูง ของต้นอ่อนมากที่สุด คือ สูตร VW + กล้วยหอม มีค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน 1.52 0.21 cm คำาสำาคัญ : สารประกอบอินทรีย์, กล้วยไม้ช้างกระ, เพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ Abstract Rhynchostylis was wild type orchid that almost found in every part of Thailand. Because of beautiful inflorescence, long period of blooming and aroma, they were popular for many growers and be required which made this species endangered. In order to protect, we cultured seeds in tissue culture medium for studied on suitable medium for Rhynchostylis seeds germination. The experimental design was CRD which compare on VW basal medium and modified VW. The addition of organic compounds, banana or potato or papaya or tomato or sweet potato or carrot, were add in modified VW by used 100 g/L in each formula and each treatment has 20 replications. Seeds from mature capsules were used to culture. The data collected in color, weight and height of protocorms for 120 days. It was found that protocorms in all of
  • 3. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 treatments could change the color to green and they have leaflets and roots. The best formula for increase weight was VW + potato (7.95 0.05 g). The highest of seedling was 1.52 0.21 cm when used VW + banana. Key words : organic compounds, Rhynchostylis, tissue culture บทนำา กล้วยไม้ช้างกระ เป็นกล้วยไม้พื้นเมืองพันธุ์หนึ่งของ ไทย ในธรรมชาติจะพบในป่า ดิบแล้งหรือป่าเบญจพรรณ อยู่ในสกุลรินโคสทิลิส (Rhynchostylis) มีลักษณะช่อดอกทอดเอนลงเล็กน้อย หรือ เอนโค้งลง ยาวใกล้เคียงกับความยาวของใบ ดอกในช่อค่อน ข้างแน่น บานทนเป็นสัปดาห์ ขนาดดอก 2-2.5 เซนติเมตร กลิ่นหอมฟุ้งกระจาย มีชื่อเรียกตามสีของดอก เช่น ช้างแดง ช้างเผือก และเรียกตามลักษณะช่อ ทุกพันธุ์มีกลิ่นหอม ดอกบานช่วงเดือนธันวาคมถึงมกราคม มีถิ่นกำาเนิดใน ประเทศไทย พม่า ทางตอนใต้ของจีน ประเทศในแถบอินโดจีน อินโดนีเซีย และหมู่เกาะทะเลจีนใต้ สำาหรับในประเทศไทยพบ กระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ เกือบทุกภาค อาทิเช่น ภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ ตำ่าลงมาจนถึง ตอนเหนือของภาคกลาง เช่น นครสวรรค์ ชัยนาท ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ เช่น หนองคาย มุกดาหาร สกลนคร เลย และนครราชสีมาและภาคตะวันออก เช่น ปราจีนบุรี และยังพบ แถบจังหวัดกาญจนบุรีด้วย (อบฉันท์ ไทยทอง. 2545) ปัจจุบันกล้วยไม้พันธุ์แท้ที่พบใน ธรรมชาติชนิดนี้เริ่มลดลง เนื่องจากมีการลักลอบนำาต้นกล้วยไม้ ช้างกระออกจากป่ามาขายเป็นจำานวนมาก เช่น ตามตลาดนัด หรือตลาดขายของป่า จึงทำาให้ต้องมีการอนุรักษ์กล้วยไม้ชนิดนี้ อย่างเร่งด่วนและยั่งยืน ซึ่งวิธีที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์ กล้วยไม้ชนิดนี้คือการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สามารถทำาได้โดยการ ขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ได้แก่ การปั่นตา ซึ่งมีข้อดีคือจะได้ ต้นที่มีลักษณะดีเหมือนเดิม
  • 4. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ทุกประการ แต่เนื่องจากช้างกระเป็นกล้วยไม้ที่มีการเจริญ เติบโตทางปลายยอด จึงเป็นการเสี่ยงที่จะต้องเสียต้นพันธุ์ไป ส่วนการขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยการเพาะเมล็ดจะมี ความแปรปรวนทางพันธุกรรมสูงกว่า แต่เป็นวิธีที่ไม่เสี่ยงต่อ การสูญเสียต้นพันธุ์และทำาได้ง่ายกว่าการปั่นตา และการงอก ของเมล็ดกล้วยไม้ตามธรรมชาติมีเปอร์เซ็นต์ที่ตำ่ามาก จึงต้อง อาศัยการเพาะเมล็ดของกล้วยไม้ในสภาพปลอดเชื้อ เพราะเป็น วิธีการที่สามารถช่วยให้เมล็ดกล้วยไม้งอกได้มากกว่าการเพาะ ในสภาพธรรมชาติ เนื่องจากช้างกระเป็นกล้วยไม้ที่มีลักษณะ เด่น ในเรื่องดอกมีกลิ่นหอม บานทน ช่อดอกและต้นแข็งแรง ปลูก เลี้ยงง่าย มีดอกให้ชื่นชมสมำ่าเสมอ จึงมีผู้นิยมและเป็นที่ต้องการ ของตลาดเป็นอย่างมาก ดังนั้นการคิดค้นสูตรอาหารที่เหมาะสม สำาหรับการเพาะเมล็ดกล้วยไม้ช้างกระ จึงถือเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่จะช่วยให้เพิ่มปริมาณกล้วยไม้ให้ได้จำานวนมากในระยะเวลา อันสั้น ทั้งยังเป็นการช่วยอนุรักษ์กล้วยไม้ได้อีกทางหนึ่งด้วย อุปกรณ์และวิธีการทดลอง เตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสูตร VW และ VW ดัดแปลงโดยเติมสารประกอบอินทรีย์ได้แก่ กล้วยหอม หรือ มัน ฝรั่ง หรือ มะละกอ หรือ มะเขือเทศ หรือ มันเทศ หรือ แครอท 1. การเตรียมอาหารสูตร VW โดย ปิเปตสารละลายจาก stock ที่เตรียมไว้ตาม ปริมาตรที่ต้องการเตรียม เติมนำ้ามะพร้าว เติมนำ้าตาล ปรับปริมาตร ปรับ pH (4.8-5.0) เติมวุ้น (เคี่ยววุ้นด้วยไฟอ่อน) ตักอาหารใส่ขวดที่ใช้เพาะเลี้ยง นำาขวดอาหารไปนึ่งใน Autoclave 121 ํำC เป็นเวลา 15 นาที นำาออกจาก Autoclave ปิดฝาให้แน่นและทิ้งไว้ให้เย็น 2. การเตรียมอาหารสูตร VW ดัดแปลง โดย เติม สารประกอบอินทรีย์ ปิเปตสารละลายจาก stock ที่เตรียมไว้ตาม
  • 5. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ปริมาตรที่ต้องการเตรียม เติมนำ้ามะพร้าว เติมกล้วยหอม หรือ มันฝรั่ง หรือ มะละกอ หรือ มะเขือเทศ หรือ มันเทศ หรือ แครอท ที่บดละเอียด 100 g/L เติมนำ้าตาล ปรับ ปริมาตร ปรับ pH (4.8-5.0) เติมวุ้น (เคี่ยววุ้นด้วยไฟอ่อน) ตักอาหารใส่ขวดที่ใช้เพาะเลี้ยง นำาขวด อาหารไปนึ่งใน Autoclave 121 ํำC เป็นเวลา 15 นาที นำาออกจาก Autoclave ปิด ฝาให้แน่นและทิ้งไว้ให้เย็น 3. การฟอกฆ่าเชื้อและการเพาะเมล็ดกล้วยไม้ คัดเลือกฝักกล้วยไม้ที่เหมาะสม ล้างด้วยนำ้ายาล้าง จานหรือผงซักฟอก แล้วล้างออกด้วยนำ้าเปล่า จุ่มในแอลกอฮอล์ 70% แช่ใน Clorox 20%+Tween-20 0.01% (2 หยด) นาน 20 นาที แช่ใน Clorox 15%+Tween-20 0.01% (2 หยด) นาน 30 นาที ล้างด้วย นำ้ากลั่นที่นึ่งฆ่าเชื่อแล้ว 3 ครั้งๆ ละ 5 นาที นำาขวดนำ้ากลั่นที่ ล้างฝักกล้วยไม้ครั้งสุดท้ายไปเปิดใน laminar Air flow (ตู้ ปลอดเชื้อ) นำาฝักกล้วยไม้จุ่มลงในแอลกอฮอล์ 70% นำาไป ผ่านเปลวไฟ ใช้มีดผ่าเปิดฝักกล้วยไม้ ใช้ช้อนตักเมล็ดกล้วยไม้ 1 ขวด 1 ช้อน ใส่ลงในขวดอาหารเพาะเลี้ยง ที่เตรียมไว้ นำาไปเพาะเลี้ยงในห้องปลอดเชื้อที่มีการควบคุม อุณหภูมิ แสง ความชื้น ผลการทดลอง จากการนำาเมล็ดกล้วยไม้ช้างกระมาทำาการเพาะเลี้ยงใน อาหาร VW และ
  • 6. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 VW ดัดแปลงโดยการเติมสารอินทรีย์ทั้ง 6 สูตร คือ VW, VW + กล้วยหอม, VW + มันฝรั่ง, VW + มะละกอ, VW + มะเขือเทศ, VW + มันเทศ และ VW + แครอท เป็นเวลา 120 วัน พบว่า ที่ระยะเวลาต่าง ๆ อาหารแต่ละสูตรมีการเปลี่ยนแปลงสี ของโพรโทคอร์มแตกต่างกัน โดยที่ระยะเวลา 30 วัน การ เปลี่ยนแปลงจากสีที่ดีที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ สูตรอาหาร VW, VW + มันฝรั่ง, VW + มะเขือเทศ, VW + มันเทศ, VW + กล้วย หอม, VW + แครอท และ VW + มะละกอ ตามลำาดับ โดยค่าที่ วัดได้คือ 3.00 0.00, 2.78 0.44, 2.25 0.59, 1.50 0.58, 1.47 0.51, 1.00 0.00 และ 0.88 0.34 ตามลำาดับ ที่ระยะเวลา 60 วัน การเปลี่ยนแปลงจากสีที่ดีที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ VW, VW + มันเทศ, VW + แครอท, VW + มะเขือเทศ,VW + มันฝรั่ง, VW + กล้วยหอม และ VW + มะละกอ ตามลำาดับ โดยค่าที่วัดได้คือ 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 3.88 0.60, 3.60 0.89, 3.50 0.78 และ 2.30 1.30 ตามลำาดับ ที่ระยะเวลา 90 วัน การเปลี่ยนแปลงจากสีที่ดีที่สุด ไปน้อยที่สุด ดังนี้ VW, VW + กล้วยหอม,VW + มันฝรั่ง, VW + มันเทศ, VW + แครอท, VW + มะเขือเทศ และ VW + มะละกอ ตามลำาดับ โดยค่าที่วัดได้ คือ 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 3.95 0.20 และ 3.63 1.21 ตามลำาดับ ที่ระยะเวลา 120 วัน การเปลี่ยนแปลงจากสีที่ดีที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ VW, VW + กล้วยหอม,VW + มันฝรั่ง, VW + มันเทศ, VW + แครอท, VW + มะเขือเทศ และ VW + มะละกอ ตามลำาดับ โดย ค่าที่วัดได้คือ 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 4.00 0.00, 3.95 0.20 และ 3.63 1.21 ตามลำาดับ จะเห็นว่าสูตรอาหารที่มีการเปลี่ยนแปลงสี เร็วที่สุดคือ สูตรอาหาร VW และเมื่อทำาการทดลองครบ 120 วัน สูตร VW, VW + กล้วยหอม,VW + มันฝรั่ง, VW + มันเทศ, VW + แครอท จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของ โพรโทคอร์มในระยะที่ 4 คือโพรโทคอร์มมีสีเขียว เกิดยอด
  • 7. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ขนาดเล็ก เกิดใบและราก รองลงมาคือ VW + มันฝรั่ง จะเกิด การเปลี่ยนแปลงของโพรโทคอร์มในระยะที่ 4 คือโพรโทคอร์ม มี สีเขียว เกิดยอดขนาดเล็ก เกิดใบและราก, VW + มะเขือเทศ ส่วน VW + มะละกอ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงสีของโพรโทคอร์ม ช้าที่สุด ดังรูปที่ 4.1 และ กราฟแสดงการเปรียบเทียบสีของ โพรโทคอร์ม (ตาราง 1 รูปที่ 1 และรูปที่ 2) ตาราง 1 แสดงค่าเฉลี่ยสีของโพรโทคอร์ม เมื่อสิ้นสุดการ ทดลอง (120 วัน) สูตรอาหาร สีของโพรโทคอร์ม (เฉลี่ย) 1 30 วัน 60 วัน 90 วัน 120 วัน VW 3.00 0. 00 4.00 0.00 4.00 0.00 4.00 0. 00 VW + กล้วยหอม 1.47 0.51 3.50 0.78 4.00 0. 00 4.00 0.00 VW + มัน ฝรั่ง 2.78 0.44 3.60 0. 89 4.00 0. 00 4.00 0.00 VW + มะละกอ 0.88 0.34 2.30 1.30 3.63 1.21 3.63 1.21 VW + มะเขือเทศ 2.25 0.59 3.88 0.60 3.95 0.20 3.95 0.20 VW + มันเทศ 1.50 0.58 4.00 0.00 4.00 0.00 4.00 0.00 VW + แครอท 1.00 0.00 4.00 0.00 4.00 0.00 4.00 0.00 1 0 = ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง 1 = นำ้าตาลเปลี่ยนเป็นสีขาว 2 = สี ขาวเปลี่ยนเป็นสีเหลือง 3 = สีเหลือง เปลี่ยนเป็นสีเขียว 4 = สี เขียว เกิดเป็น ยอดขนาดเล็ก มีใบและราก
  • 8. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 A B C D E F G รูปที่ 1 แสดงโพรโทคอร์มในอาหารแต่ละสูตรที่นำาไปหาค่า เฉลี่ยสีเมื่อสิ้นสุด การทดลอง 120 วัน ประกอบด้วย A : VW, B : VW + มันฝรั่ง, C : VW + กล้วยหอม, D : VW + มะละกอ, E : VW + มะเขือเทศ, F : VW + มันเทศ, G : VW + แครอท ค่าเฉลี่ยสี สูตรอาหาร
  • 9. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 รูปที่ 2 กราฟแสดงการเปรียบเทียบสีของโพรโทคอร์ม (120 วัน) ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของนำ้าหนักของเมล็ด หลังการเพาะเลี้ยง 120 วัน พบว่า อาหารแต่ละสูตรมีการ เปลี่ยนแปลงนำ้าหนักของโพรโทคอร์มแตกต่างกัน โดยการ เปลี่ยนแปลงของนำ้าหนักจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ VW + มันฝรั่ง, VW + มะเขือเทศ, VW + มันเทศ,VW + แครอท, VW + มะละกอ, VW +กล้วยหอม และ สูตรอาหาร VW โดยค่านำ้า หนักที่วัดได้ คือ 7.950 g, 6.890 g, 6.530 g, 4.890 g, 2.940 g, 2.200 g และ 1.190 g ตามลำาดับ (ตาราง 2 รูป ที่ 3 และรูปที่ 4) ตาราง 2 แสดงค่าเฉลี่ยนำ้าหนักของโพรโทคอร์ม เมื่อสิ้นสุด การทดลอง (120 วัน) สูตรอาหาร นำ้าหนักของโพรโทคอร์ม (g) นำ้าหนักที่เพิ่ม ของ โพรโทคอร์ม (g) เริ่มทดลอง 120 วัน VW 0.002 1.190 1.188 0.017 VW +กล้วย หอม 0.002 2.200 2.198 0.121 VW + มัน ฝรั่ง 0.002 7.950 7.948 0.172 VW + มะละกอ 0.002 2.940 2.938 0.921 VW + มะเขือ เทศ 0.002 6.890 6.888 1.201 VW + 0.002 6.530 6.528
  • 10. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 มันเทศ 0.900 VW + แครอท 0.002 4.890 4.888 1.001 A B C D E F G รูปที่ 3 แสดงโพรโทคอร์มในอาหารแต่ละสูตรที่นำาไปหาค่า เฉลี่ยนำ้าหนักเมื่อสิ้นสุด การทดลอง (120 วัน) ประกอบด้วย A : VW, B : VW + มันฝรั่ง, C : VW + กล้วยหอม, D : VW + มะละกอ, E : VW + มะเขือเทศ, , F : VW + มันเทศ, G : VW + แครอท นำ้าหนัก (g)
  • 11. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 สูตรอาหาร รูปที่ 4 กราฟแสดงการเปรียบเทียบนำ้าหนักของโพรโทคอร์ม ในอาหารแต่ละสูตร เมื่อสิ้นสุดการทดลอง (120 วัน) ผลการศึกษาส่วนสูงของเมล็ดหลังการเพาะเลี้ยง 120 วัน (4 เดือน) พบว่า ส่วนสูงของต้นอ่อน ของอาหารแต่ละสูตร มีส่วนสูงของต้นอ่อนแตกต่างกัน โดยส่วนสูงที่สูงที่สุดไปน้อย ที่สุด ดังนี้ สูตรอาหาร VW + กล้วยหอม, VW + มันฝรั่ง, VW + มันเทศ, VW + มะเขือเทศ, VW + มะละกอ, VW + แครอท และ VW โดยค่าที่วัดได้คือ 1.52 0.21, 1.40 0.21, 1.16 0.13, 1.14 0.21, 1.13 1.18, 0.97 0.22 และ 0.52 0.14 ตามลำาดับ จะเห็นว่าสูตรอาหารที่มีส่วนสูง สูงที่สุดคือ สูตรอาหาร VW + กล้วยหอม รองลงมาคือ VW + มันเทศ, VW + มะเขือเทศ, VW + มะละกอ, VW + แครอท และ VW ตามลำาดับ (ตาราง 3 รูปที่ 5 และรูปที่ 6) ตาราง 3 แสดงค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้นสุดการ ทดลอง (120 วัน) สูตรอาหาร ส่วนสูงของต้นอ่อน (cm) ค่า เฉลี่ย(cm) ต้ น 1 ต้ น 2 ต้ น 3 ต้ น 4 ต้ น 5 ต้ น 6 ต้ น 7 ต้ น 8 ต้ น 9 ต้ น 1 0 VW 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.52
  • 12. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 6 6 4 8 5 5 4 6 4 4 0.14 VW +กล้วย หอม 1. 4 1. 7 1. 4 1. 3 1. 4 1. 4 1. 3 1. 6 1. 9 1. 8 1.52 0.21 VW + มัน ฝรั่ง 1. 6 1. 1 1. 4 1. 5 1. 4 1. 8 1. 3 1. 2 1. 5 1. 2 1.40 0.21 VW + มะละกอ 1. 3 1. 2 1. 2 1. 4 1. 3 1. 0 0. 9 0. 9 1. 0 1. 1 1.13 1.18 VW + มะเขือ เทศ 1. 6 1. 4 1. 2 1. 1 1. 0 1. 0 1. 1 1. 0 1. 0 1. 0 1.14 0.21 VW + มันเทศ 1. 4 1. 2 1. 0 1. 3 1. 2 1. 2 1. 1 1. 0 1. 0 1. 2 1.16 0.13 VW + แครอท 1. 3 1. 2 1. 1 1. 2 1. 0 0. 7 0. 9 0. 7 0. 8 0. 8 0.97 0.22 A B C D E F G รูปที่ 5 แสดงต้นอ่อนในอาหารแต่ละสูตรที่นำาไปหาค่าเฉลี่ย ส่วนสูงเมื่อสิ้นสุด การทดลอง (120 วัน) ประกอบด้วย A : VW, B : VW + มันฝรั่ง, C : VW + กล้วยหอม, D : VW + มะละกอ,
  • 13. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 E : VW + มะเขือเทศ, , F : VW + มันเทศ, G : VW + แครอท ส่วนสูง (cm) สูตรอาหาร รูปที่ 6 กราฟแสดงการเปรียบเทียบส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้น สุดการทดลอง (120 วัน) การเจริญของเมล็ดกล้วยไม้ โดยวัดจาก นำ้าหนักที่ เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์ม สีของโพรโทคอร์ม และส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้นสุดการ ทดลอง (120 วัน) พบว่า การเปลี่ยนสีของโพรโทคอร์มในระยะต่าง ๆ ของอาหารแต่ละ สูตรมีการเปลี่ยนแปลงสี แตกต่างกัน โดยสูตรอาหารที่มีการเปลี่ยนแปลงสีดีที่สุด คือ สูตรอาหาร VW มีการเปลี่ยนแปลงสีของโพรโทคอร์มในระยะที่ 4 เกิดใบและราก (ค่าเฉลี่ย 3.75 0.5) นำ้าหนักที่เพิ่มขึ้น ของโพรโทคอร์มเมื่อสิ้นสุดการทดลอง (120 วัน) ของอาหาร แต่ละสูตร มีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน โดยสูตรอาหารที่มีนำ้า หนักที่เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์ม ดีที่สุด คือ สูตร VW + มันฝรั่ง มีนำ้าหนักที่เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์ม คือ 7.95 0.05 g ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อสิ้นสุดการ ทดลอง (120 วัน) ของอาหารแต่ละสูตรมีค่าต่างกัน โดยสูตร อาหารที่มีค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน มากที่สุด คือ สูตร VW +
  • 14. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 กล้วยหอม มีค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน คือ 1.52 0.21 cm (ตาราง 4 รูปที่ 7 และรูปที่ 8) ตาราง 4 แสดงการเจริญของเมล็ด โดยวัดได้จาก นำ้าหนักที่ เพิ่มขึ้นของโพรโทคอร์ม สีของโพรโทคอร์ม และส่วนสูงของต้นอ่อน เมื่อ สิ้นสุดการทดลอง (120 วัน)
  • 15. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 สูตร อาหาร การเจริญของเมล็ด เมื่อสิ้นสุดการทดลอง (120 วัน) นำ้าหนักที่เพิ่มของโพรโทคอร์ม (g) สีของโพรโท คอร์ม (เฉลี่ย) ส่วนสูงของ ต้นอ่อน cm (เฉลี่ย) VW 1.19 0.02 3.75 0.50 (เกิดใบและ ราก) 0.52 0.14 VW +กล้วย หอม 2.18 0.02 3.24 1.20 (สีเขียว) 1.52 0.21 VW+มัน ฝรั่ง 7.95 0.07 3.60 0.58 (เกิดใบและ ราก) 1.40 0.21 VW +มะละกอ 2.94 1.05 2.63 1.26 (สีเขียว) 1.13 1.18 VW+มะเขือ เทศ 6.89 0.90 3.51 0.84 (เกิดใบและ ราก) 1.14 0.21 VW +มันเทศ 6.53 0.91 3.37 0.98 (เกิดใบและ ราก) 1.16 0.13 VW +แครอท 4.89 1.06 3.25 1.50 (สีเขียว) 0.97 0.22
  • 16. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ค่าเฉลี่ย สูตรอาหาร รูปที่ 7 กราฟแสดงการเปรียบเทียบการเจริญของเมล็ด กล้วยไม้ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 นำ้าตาลเปลี่ยนเป็นขาว ขาวเปลี่ยนเป็นเหลือง เหลืองเเป ลี่ยนเป็นขียว เขียวเปลี่ยนเป็น เกิดยอดขนาดเล็กเกิด ใบและราก
  • 17. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 รูปที่ 8 แสดงการเจริญของโพรโทคอร์มในระยะต่าง ๆ อภิปรายผลการทดลอง จากการศึกษานี้สูตรอาหารที่เหมาะสมสำาหรับการเพาะ เมล็ดกล้วยไม้พันธุ์ช้างกระ เมื่อพิจารณาจากนำ้าหนัก คือ สูตร VW + มันฝรั่ง เมื่อพิจารณา จากส่วนสูง คือ สูตร VW + กล้วยหอม ทั้งนี้เนื่องจากในสูตรอาหารที่มีสารอินทรีย์นั้น จะมี สารอาหารซึ่งมีผลให้การเจริญของเนื้อเยื่อพืชดีขึ้น แต่ปริมาณ สารอาหารอินทรีย์ในพืชแต่ละชนิดมีปริมาณแตกต่างกัน จึงมีผลต่อการเจริญของเมล็ดกล้วยไม้พันธุ์ช้างกระแตกต่างกัน ทั้งนำ้าหนัก และส่วนสูง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ทิวา รักนิ่ม และคณะ (2551) ซึ่ง ได้ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้พื้น เมืองสิงโตอาจารย์เต็มในสภาพปลอดเชื้อ โดยทำาการศึกษา สูตรอาหารทั้งหมด 8 สูตร เพาะเลี้ยงเป็นเวลา 3 เดือน พบว่า สูตร VW ที่เติมนำ้ามะพร้าว 150 mL/L ร่วมกับกล้วยหอมบด 100 g/L มันฝรั่งบด 50 g/L และผงถ่าน 2 g/L ให้เปอร์เซ็นต์ การงอกดีที่สุด 80 % หลังเพาะเลี้ยงนาน 6 สัปดาห์ โพรโท คอร์มที่ได้มีสีเขียว และมีการพัฒนาเป็นต้น รองลงมาคือสูตร MS มีปอร์เซ็นต์การงอก 65 % หลังเพาะเลี้ยงนาน 5.5 สัปดาห์ โพรโทคอร์ม มีลักษณะสีเขียวไม่เกิดการพัฒนาและค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ส่วนสูตรที่ให้เปอร์เซ็นต์การงอกน้อยสุดคือ สูตร MT ที่เติม BA ความเข้มข้น 2.9 mg/L ร่วมกับ NAA ความเข้มข้น 0.3 mg/L ให้เปอร์เซ็นต์การงอก 5 % ใช้ระยะ เวลานการงอกนานที่สุด 8 สัปดาห์ ลักษณะโพรโทคอร์มมีสี เขียวแกมเหลืองและไม่เกิดการพัฒนา และสอดคล้องกับงาน วิจัยของ
  • 18. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 กษิดิศ ดิษฐบรรจง (2553) ได้ศึกษาการขยายพันธุ์และการ เก็บรักษากล้วยไม้ช้างกระในสภาพปลอดเชื้อ โดยนำาเมล็ดจาก ฝักช้างกระที่มีอายุประมาณ 7-9 เดือน ซึ่งมีสีครีมจนถึงนำ้าตาล อ่อน มาเพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อบนอาหารสูตรต่าง ๆ โดย พิจารณาจากคะแนนในการงอกเมล็ด พบว่าเมล็ดงอกดีที่สุดบน อาหารดัดแปลง VW (1949) หรือ VW (1949) ที่เติมนำ้า มะพร้าว 150 mL/L และนำ้าต้มมันฝรั่ง 100 g/L ที่ระดับ 2.7 คะแนน และอาหารที่เหมาะสมใน การเจริญเติบโต ของต้นอ่อนคือ VW (1949) ที่เติมนำ้ามะพร้าว 150 mL/L และปุ๋ยกล้วยไม้สูตร 21-21-21 อัตรา 1 g/L ซึ่งทำาให้ต้นอ่อนมีอัตราการเจริญ เติบโต 1.70 เท่าของนำ้าหนักเริ่มต้นในระยะเวลา 9 เดือน ใน การเก็บรักษาในสภาพปลอดเชื้อ โดยวิธีการชะลอการเติบโต การเลี้ยงบนอาหารแข็งที่เติม mannitol เข้มข้น 2 % และ 4% (w/v) โดยไม่เปลี่ยนอาหารนาน 12 เดือน สามารถชะลอการ เติบโตของช้างกระได้โดยที่นำ้าหนักสดยังคงเพิ่มขึ้น มีสีใบและ ลักษณะ ความสมบูรณ์ปกติ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ นันทนา นา ชัย (2553) ที่พบว่า อาหารสูตรเพาะเลี้ยงสูตร มันฝรั่ง + วิตามินรวมเซนทรัม เหมาะสำาหรับการเจริญเติบโตของเมล็ด ช้างกระมากที่สุด โดยทำาให้มีจำานวนเมล็ดงอกมากที่สุด ให้นำ้า หนักโพรโทคอร์มสูงที่สุดและมี ความยาวใบมากที่สุด จะเห็นได้ว่าสูตร VW อย่างเดียวสามารถ ทำาให้เมล็ดงอกและเติบโตเป็นโพรโทคอร์มได้เพราะมีธาตุ อาหารเพียงพอต่อการงอกการเกิดรากและใบในระดับหนึ่ง แต่ ยังช้ากว่า VW ที่ผสมสารอินทรีย์ต่างๆ เนื่องจากสารประกอบ อินทรีย์ในพืชจะมีวิตามิน แร่ธาตุหลายชนิดและกรดอะมิโน และมีนำ้าตาลเป็นแหล่งพลังงานโดยเฉพาะมันฝรั่งและมะเขือเทศ ซึ่งให้การเพิ่มนำ้าหนักโพรโทคอร์มดีกว่าสูตรอื่นๆ ส่วนด้าน ส่วนสูงของต้นอ่อน การเจริญจะดีขึ้นหากเติม กล้วยหอมและ มันฝรั่ง สาเหตุที่ใส่มันฝรั่งลงในอาหารแล้วทำาให้โพรโทคอร์มมี นำ้าหนักมากที่สุด เนื่องจากในมันฝรั่งมีสารโพลีเอมีน
  • 19. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 (polyamine) เช่น putresine spermime และ spermidine กระจายอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของเนื้อเยื่อ และใน ระยะที่หัวมันฝรั่งเกิดการงอก สารเหล่านี้จะพบมากที่บริเวณ ยอด สารกลุ่มนี้มีผลต่อการเพิ่มกรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ทำาให้พืชแบ่ง cell แบบ mitosis มากขึ้นและยังป้องกันการ สลายตัวของคลอโรพลาสต์และโปรตีน และการใส่มันฝรั่งใน สูตรอาหาร มีรายงานว่าช่วยให้เมล็ดงอกได้ดีขึ้นและต้นอ่อน จะมีความแข็งแรง สาเหตุที่ใส่กล้วยหอมลงในอาหารแล้วทำาให้โพรโท คอร์มมีส่วนสูงมากที่สุด เนื่องจากในกล้วยหอมมีสารต่าง ๆ มากมาย โดยในกล้วยหอมมีสารเร่งการเจริญเติบโตพืช บางชนิด เช่น GA, GA7 ซึ่งจิบเบอเรลลิน (Gibberellin : GA) เป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้น การขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนัง เซลล์ ทำาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น และธาตุเหล็กที่อยู่ในผล กล้วยหอมจะอยู่ในรูปที่พืชสามารถนำาไปใช้ได้ในการเจริญ เติบโตได้ดี (Arditti and Ernst. 1993, อ้างถึงใน ราฮีมา วาแมดีซา. 2549 : 109) ดังนั้นจึงสามารถนำาสารอินทรีย์จากธรรมชาติซึ่งมีความ เหมาะสม ต่อการเจริญของเมล็ดกล้วยไม้ มาใช้ ในงานเพาะ เลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ช้างกระต่อไปได้ เอกสารอ้างอิง ฐกฤต อิ่มสมบูรณ์และคณะ. สูตรอาหารที่เหมาะสมสำาหรับการ เพาะเมล็ดกล้วยไม้รองเท้านารี คางกบ ในสภาพปลอดเชื้อ. ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ม.ป.ป.
  • 20. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ทิวา รักนิ่ม และคณะ. อิทธิพลสูตรอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต่อ การงอกเมล็ดกล้วยไม้ รองเท้านารี คางกบในสภาพปลอดเชื้อ. วารสาร วิทยาศาสตร์เกษตร. คณะวิทยาศาสตร์ : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 2550. . การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสม ต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้ พื้นเมืองสิงโตอาจารย์เต็มในสภาพปลอดเชื้อ. คณะ วิทยาศาสตร์ : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 2551. นันทนา นาชัย. สูตรอาหารอินทรีย์สำาหรับการเพาะเมล็ด กล้วยไม้ช้างกระ. สาขาวิชา พืชศาสตร์-พืชสวน คณะทรัพยากรธรรมชาติ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน. 2553. บุญยืน กิจวิจารณ์. เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2540. ประศาสตร์ เกื้อมณี. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2538. สลิสา อุดร สูตรอาหารที่เหมาะสมสำาหรับการเพาะเมล็ด กล้วยไม้ช้างกระในสภาพ ปลอดเชื้อ. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. (ม.ป.ป.). เอกรัตน์ วสุเพ็ญ. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้และการปลูก เลี้ยงเบื้องต้น. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สกลนคร : อัดสำาเนา. 2554. อบฉันท์ ไทยทอง. กล้วยไม้เมืองไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ บ้านและสวน, 2543. Yamazaki J. and K. Miyoshi. In vitro Asymbiotic Germination of Immature Seed
  • 21. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 and Formation of Protocorm by Cephalanthera falcata (Orchidaceae). Ann. Bot. 98 (6) : 1197-1206, 2006. ภาคผนวก รูปแสดงขั้นตอนการทดลอง 1. การเตรียมอาหารสูตร VW โดย ปิเปตสารละลายจาก stock ที่เตรียมไว้ตามปริมาตร ที่ต้องการเตรียม เติมนำ้ามะพร้าว เติมนำ้าตาล ปรับปริมาตร ปรับ pH (4.8-5.0)
  • 22. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 เติมวุ้น (เคี่ยววุ้นด้วยไฟอ่อน ตักอาหารใส่ขวดที่ใช้เพาะเลี้ยง นำาขวดอาหารไปนึ่งใน Autoclave 121 ํำC เป็นเวลา 15 นาที นำาออกจาก Autoclave ปิดฝาให้แน่นและทิ้งไว้ให้เย็น 2. การเตรียมอาหารสูตร VW ดัดแปลง โดย เติมสารประกอบ อินทรีย์ ปิเปตสารละลายจาก Stock ต่าง ๆ มารวมกัน เติมนำ้ามะพร้าว เติมนำ้าตาล ปรับปริมาตร
  • 23. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ปรับ pH (4.8-5.0) เติมสารประกอบอินทรีย์ที่ต้องการศึกษา ได้แก่ กล้วยหอม หรือ มันฝรั่ง หรือ มะละกอ หรือ มะเขือเทศ หรือ มันเทศ หรือ แครอท โดยนำามาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆใช้ปริมาณ 100 g/L เติมวุ้นลงในอาหาร นำาภาชนะใส่อาหารไปตั้งบนเตาเพื่อเคี่ยว วุ้น แล้วตักอาหารใส่ขวด ที่ใช้เพาะเลี้ยง นำาขวดอาหารไปใส่ในหม้อนึ่งความดัน (autoclave) ทิ้งไว้ให้เย็น 3. การฟอกฆ่าเชื้อและการเพาะเมล็ดกล้วยไม้ คัดเลือกฝักกล้วยไม้ที่เหมาะสม ล้างด้วยนำ้ายาล้างจาน/ผง ซักฟอก แล้วล้างออกด้วยนำ้าเปล่า
  • 24. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 จุ่มในแอลกอฮอล์ 70% แช่ใน Clorox 20%+Tween-20 0.01% (2 หยด) นาน 20 นาที แช่ใน Clorox 15%+Tween-20 0.01% (2 หยด) นาน 30 นาที ล้างด้วยนำ้ากลั่นที่นึ่งฆ่าเชื่อแล้ว 3 ครั้งๆ ละ 5 นาที นำาขวดนำ้ากลั่นที่ล้างฝักกล้วยไม้ครั้งสุดท้ายไปเปิดใน laminar Air flow (ตู้ปลอดเชื้อ)
  • 25. โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ใช้มีดผ่าเปิดฝักกล้วยไม้ออก ใช้ช้อนตักสารโลหะ ตัก เมล็ดกล้วยไม้ จำานวน 1 ช้อน ใส่ลงในอาหารเพาะเลี้ยงที่ เตรียมไว้ ลนไฟที่ปากขวดแล้วปิดฝาเก็บไว้ในห้องปลอดเชื้อ และควบคุมอุณหภูมิเป็นเวลา 120 วัน สุ่มขวดอาหารแต่ละสูตรมาสูตรละ 20 ขวด บันทึกนำ้า หนักของโพรโทคอร์ม ส่วนสูงของต้นอ่อน และสีของโพรโท คอร์ม เมื่อสิ้นสุดการทดลอง เป็นเวลา 120 วัน นำาไปหาค่า เฉลี่ยนำ้าหนักของโพรโทคอร์ม ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของต้นอ่อน ค่า เฉลี่ยของสีโพรโทคอร์ม และบันทึกสีของโพรโทคอร์ม ทุก 30 วัน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง