SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 15
Downloaden Sie, um offline zu lesen
สมาชิกกลุ่ม

 นายเกียรติศักดิ์   งามแว่น         ม.3/1 เลขที่ 3
 นายณปภัช           อิฐานูประธานะ   ม.3/1 เลขที่ 6
 นายเอกสิทธิ์       แซ่ระย้า        ม.3/1 เลขที่ 13
คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนีเ้ ป็นผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้น
เครื่องมือในการคานวณซึงมีวิวัฒนาการนานมาแล้ว เริ่มจากเครื่องมือใน
                          ่
การคานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สร้างขึ้นในประเทศจีน เมื่อ
ประมาณ 2,000-3,000 ปีมาแล้ว จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสต์
ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่อง
วิเคราะห์ (Analytical Engine) สามารถคานวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่น
ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ การทางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บ
ข้อมูล ส่วนคานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอน้าหมุน
ฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คานวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลใน
หน่วยความจา ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ
หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นามาพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์
สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบเบจเป็น บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์
หลังจากนั้นเป็นต้นมา ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมาย
หลายขนาด ทาให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง โดย
สามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค
เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคานวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (MAUCHLY AND
ECKERT) ได้นาแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่ง
เรียกว่า ENIAC (ELECTRONIC NUMERICIAL INTEGRATOR AND CALCULATOR) ซึ่งต่อมาได้ทาการ
ปรับปรุงการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง
UNIVAC (UNIVERSAL AUTOMATIC COMPUTER) ขึ้นเพื่อใช้ในการสารวจสามะโนประชากร
ประจาปี

จึงนับได้ว่า UNIVAC เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุรกิจ ซึ่งนับเป็น
การเริ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกอย่างแท้จริง เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศ
ในการควบคุมการทางานของเครื่อง ซึ่งทางานได้อย่างรวดเร็ว แต่มีขนาดใหญ่มากและราคาแพง ยุค
แรกของคอมพิวเตอร์สิ้นสุดเมื่อมีผู้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอดสูญญากาศ
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (VACUUM TUBE) เป็นส่วนประกอบหลัก ทาให้ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้
พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูง
ทางานด้วยภาษาเครื่อง (MACHINE LANGUAGE) เท่านั้น
เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (ASSEMBLY / SYMBOLIC LANGUAGE) ขึ้นใช้งาน
มีการนาทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทาให้เครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางานให้มีความรวดเร็วและแม่นยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังได้มีการคิด
ภาษาเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) จึงทาให้ง่ายต่อการเขียน
โปรแกรมสาหรับใช้กับเครื่อง

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (TRANSISTOR) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนา (SEMI-CONDUCTOR) เป็น
อุปกรณ์หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการ
ทางานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอด ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใช้
พลังงานไฟฟ้าน้อย ความร้อนต่า ทางานเร็ว และได้รับความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
เก็บข้อมูลได้ โดยใช้ส่วนความจาวงแหวนแม่เหล็ก (MAGNETIC CORE)
มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (MILLISECOND : MS)
สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทางานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (ASSEMBLY LANGUAGE)
เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (HIGH LEVEL LANGUAGE) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการ
ประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (INTEGRATED-CIRCUIT) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึง
                                                                                       ่
ไอซีนี้ทาให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (CHIP) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว
จึงมีการนาเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทาให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก

นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล (DATA BASE MANAGEMENT SYSTEMS :
DBMS) และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานร่วมกันได้หลายๆ งานในเวลา
เดียวกัน และมีระบบที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (TIME SHARING)

ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (INTEGRATED CIRCUIT : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่
(LARGE SCALE INTEGRATION : LSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที (MICROSECOND : MS)
(สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า)
ทางานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป
เป็นยุคที่นาสารกึ่งตัวนามาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (VERY LARGE SCALE INTEGRATED :
VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไม
โครโพรเซสเซอร์ (MICROPROCESSOR) ขึ้น ทาให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถ
ในการทางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทาให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PERSONAL COMPUTER) ถือ
กาเนิดขึ้นมาในยุคนี้


ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (LARGE SCALE INTEGRATION : LSI) และ วงจรรวมสเกล
ขนาดใหญ่มาก (VERY LARGE SCALE INTEGRATION : VLSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที (NANOSECOND : NS) และ
พัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที
(PICOSECOND : PS)
ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และ
ความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่อง
คอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (PORTABLE COMPUTER) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทั้ง
โครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE : AI) เป็น
หัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้
สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
องค์ประกอบของระบบปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่
1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (ROBOTICS OR ROBOTARM SYSTEM)
คือหุ่นจาลองร่างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์
เพื่อให้ทางานแทนมนุษย์ในงานที่ต้องการความเร็ว หรือเสี่ยงอันตราย เช่น แขนกลใน
โรงงานอุตสาหกรรม หรือหุ่นยนต์กู้ระเบิด เป็นต้น
   2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System)
   คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถสังเคราะห์เสียงที่มีอยู่ในธรรมชาติ (Synthesize)
    เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่องคิดเลขพูดได้ (Talking Calculator) หรือนาฬิกาปลุก
    พูดได้ (Talking Clock) เป็นต้น
    3. การรู้จาเสียงพูด (Speech Recognition System)
   คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์ และสามารถจดจาคาพูดของมนุษย์ได้
    อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือเป็นการพัฒนาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้ด้วยภาษาพูด เช่น งาน
    ระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสาหรับผู้พิการ เป็นต้น
   4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
   คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ รู้จักใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้
    ที่มี หรือจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปัญหาอื่นอย่างมีเหตุผล ระบบนี้
    จาเป็นต้องอาศัยฐานข้อมูล (Database) ซึ่งมนุษย์ผู้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้กาหนดองค์
    ความรู้ไว้ในฐานข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้จาก
    ฐานความรู้นั้น เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์วิเคราะห์โรค หรือเครืองคอมพิวเตอร์ทานายโชคชะตา
                                                               ่
    เป็นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale
integrated circuit) ซึ่งสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว
เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภทดังต่อไปนี้
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (SUPERCOMPUTER)
           ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมี
 ประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์
 คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทางคณิตศาสตร์ได้หลาย
 แสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รบการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทาง
                                 ั
 วิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่าง รวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศ
 ล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้
 คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปี
 กว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่
 ชั่วโมงเท่า นั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น
 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท
 ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วยประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึง
 รุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทางานหลายอย่างได้ พร้อม ๆ กัน
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (MAINFRAME COMPUTER)
 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมี
 ความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์
 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน
 ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะ
 ถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน
 องค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า
 หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงินแบบอัตโนมัติ
 (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่อง
 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการบริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน
 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก
มินิคอมพิวเตอร์ (MINICOMPUTER)
        มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งาน
 ได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่เทียบเท่า
 เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ได้ จึงทาให้มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง หรือ
 สาหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น
ไมโครคอมพิวเตอร์ (MICROCOMPUTER) หรือ พีซี
(PERSONAL COMPUTER หรือ PC )
            ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop
  computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น อาทิเช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook
  computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์
  ได้เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคา
  ไม่แพงและมีขนาดกระทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูก
  ออกแบบสาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสานักงานสาหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการ
  ทางบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วย ทาการบ้านของลูกๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การ
  สื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทาง
  อินเทอร์เน็ต (internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทาง
  บันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้
  ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการค้นคว้าข้อมูลจาก ทั่วโลกสาหรับที่สานักงาน เรา
  สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมายและข้อมูลอื่นๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และ
  ทานายยอดซือขายล่วงหน้า
                 ้
โน้ตบุ๊ค (NOTEBOOK OR LAPTOP)
         โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนา
 ติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอๆกับสมุดที่ทาด้วย
 กระดาษ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1warawee
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมพัน พัน
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์PongPang
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นRogozo Joosawa
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Ploy Wantakan
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมnawapornsattasan
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)Phongsakorn Wisetthon
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 

Was ist angesagt? (19)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์3.ระบบคอมพิวเตอร์
3.ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
ความเป็นมาของ Computer ภาษาไทย :)
 
Computer Era
Computer EraComputer Era
Computer Era
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Andere mochten auch

risingvisionbhilwara
risingvisionbhilwararisingvisionbhilwara
risingvisionbhilwaraRahul Sharma
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawAj'wow Bc
 
Salesforce.com
Salesforce.comSalesforce.com
Salesforce.comRohit Bedi
 
When the going gets tough – go digital
When the going gets tough – go digitalWhen the going gets tough – go digital
When the going gets tough – go digitalRoydon D'mello
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawAj'wow Bc
 
Computer law 2550_sm
Computer law 2550_smComputer law 2550_sm
Computer law 2550_smAj'wow Bc
 
Chapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawChapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawAj'wow Bc
 
Consumer Behavior- Roydon D'mello
Consumer Behavior- Roydon D'melloConsumer Behavior- Roydon D'mello
Consumer Behavior- Roydon D'melloRoydon D'mello
 
How pakistani brands go global
How pakistani brands go globalHow pakistani brands go global
How pakistani brands go globalRoydon D'mello
 
The fertilizer industry Roydon D'mello
The fertilizer industry  Roydon D'melloThe fertilizer industry  Roydon D'mello
The fertilizer industry Roydon D'melloRoydon D'mello
 
Comparative analysis of various business dailies with special reference to Bu...
Comparative analysis of various business dailies with special reference to Bu...Comparative analysis of various business dailies with special reference to Bu...
Comparative analysis of various business dailies with special reference to Bu...Rohit Bedi
 

Andere mochten auch (19)

risingvisionbhilwara
risingvisionbhilwararisingvisionbhilwara
risingvisionbhilwara
 
Bangkok.
Bangkok.Bangkok.
Bangkok.
 
TOP 2
TOP 2TOP 2
TOP 2
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_law
 
Pllsis2011(1)
Pllsis2011(1)Pllsis2011(1)
Pllsis2011(1)
 
Salesforce.com
Salesforce.comSalesforce.com
Salesforce.com
 
Lesson
LessonLesson
Lesson
 
When the going gets tough – go digital
When the going gets tough – go digitalWhen the going gets tough – go digital
When the going gets tough – go digital
 
Lesson
LessonLesson
Lesson
 
Chapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_lawChapter 5 ec_law
Chapter 5 ec_law
 
Computer law 2550_sm
Computer law 2550_smComputer law 2550_sm
Computer law 2550_sm
 
Chapter 5 ec law
Chapter 5 ec lawChapter 5 ec law
Chapter 5 ec law
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 2
Unit 2Unit 2
Unit 2
 
Consumer Behavior- Roydon D'mello
Consumer Behavior- Roydon D'melloConsumer Behavior- Roydon D'mello
Consumer Behavior- Roydon D'mello
 
Differentiate or die
Differentiate or dieDifferentiate or die
Differentiate or die
 
How pakistani brands go global
How pakistani brands go globalHow pakistani brands go global
How pakistani brands go global
 
The fertilizer industry Roydon D'mello
The fertilizer industry  Roydon D'melloThe fertilizer industry  Roydon D'mello
The fertilizer industry Roydon D'mello
 
Comparative analysis of various business dailies with special reference to Bu...
Comparative analysis of various business dailies with special reference to Bu...Comparative analysis of various business dailies with special reference to Bu...
Comparative analysis of various business dailies with special reference to Bu...
 

Ähnlich wie Ppp.

ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์nutty_npk
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์nutty_npk
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์Supitcha Kietkittinan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
Technology5
Technology5Technology5
Technology5vizaa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ5
เทคโนโลยีสารสนเทศ5เทคโนโลยีสารสนเทศ5
เทคโนโลยีสารสนเทศ5vizaa
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1Sindy Lsk
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 

Ähnlich wie Ppp. (20)

ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
Work3-25
Work3-25Work3-25
Work3-25
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Technology5
Technology5Technology5
Technology5
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ5
เทคโนโลยีสารสนเทศ5เทคโนโลยีสารสนเทศ5
เทคโนโลยีสารสนเทศ5
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 3
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  3แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  3
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 3
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
14
1414
14
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 

Ppp.

  • 1. สมาชิกกลุ่ม  นายเกียรติศักดิ์ งามแว่น ม.3/1 เลขที่ 3  นายณปภัช อิฐานูประธานะ ม.3/1 เลขที่ 6  นายเอกสิทธิ์ แซ่ระย้า ม.3/1 เลขที่ 13
  • 2. คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนีเ้ ป็นผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้น เครื่องมือในการคานวณซึงมีวิวัฒนาการนานมาแล้ว เริ่มจากเครื่องมือใน ่ การคานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สร้างขึ้นในประเทศจีน เมื่อ ประมาณ 2,000-3,000 ปีมาแล้ว จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสต์ ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่อง วิเคราะห์ (Analytical Engine) สามารถคานวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่น ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ การทางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บ ข้อมูล ส่วนคานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลังเครื่องยนต์ไอน้าหมุน ฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คานวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลใน หน่วยความจา ก่อนจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นามาพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบเบจเป็น บิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นเป็นต้นมา ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมามากมาย หลายขนาด ทาให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง โดย สามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค
  • 3. เป็นการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มิใช่เครื่องคานวณ โดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (MAUCHLY AND ECKERT) ได้นาแนวความคิดนั้นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพมากเครื่องหนึ่ง เรียกว่า ENIAC (ELECTRONIC NUMERICIAL INTEGRATOR AND CALCULATOR) ซึ่งต่อมาได้ทาการ ปรับปรุงการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น และได้ประดิษฐ์เครื่อง UNIVAC (UNIVERSAL AUTOMATIC COMPUTER) ขึ้นเพื่อใช้ในการสารวจสามะโนประชากร ประจาปี จึงนับได้ว่า UNIVAC เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ถูกใช้งานในเชิงธุรกิจ ซึ่งนับเป็น การเริ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกอย่างแท้จริง เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศ ในการควบคุมการทางานของเครื่อง ซึ่งทางานได้อย่างรวดเร็ว แต่มีขนาดใหญ่มากและราคาแพง ยุค แรกของคอมพิวเตอร์สิ้นสุดเมื่อมีผู้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอดสูญญากาศ ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (VACUUM TUBE) เป็นส่วนประกอบหลัก ทาให้ตัวเครื่องมีขนาดใหญ่ ใช้ พลังงานไฟฟ้ามาก และเกิดความร้อนสูง ทางานด้วยภาษาเครื่อง (MACHINE LANGUAGE) เท่านั้น เริ่มมีการพัฒนาภาษาสัญลักษณ์ (ASSEMBLY / SYMBOLIC LANGUAGE) ขึ้นใช้งาน
  • 4. มีการนาทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทาให้เครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางานให้มีความรวดเร็วและแม่นยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังได้มีการคิด ภาษาเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) จึงทาให้ง่ายต่อการเขียน โปรแกรมสาหรับใช้กับเครื่อง ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (TRANSISTOR) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนา (SEMI-CONDUCTOR) เป็น อุปกรณ์หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการ ทางานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอด ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใช้ พลังงานไฟฟ้าน้อย ความร้อนต่า ทางานเร็ว และได้รับความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น เก็บข้อมูลได้ โดยใช้ส่วนความจาวงแหวนแม่เหล็ก (MAGNETIC CORE) มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (MILLISECOND : MS) สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทางานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (ASSEMBLY LANGUAGE) เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (HIGH LEVEL LANGUAGE) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
  • 5. คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการ ประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (INTEGRATED-CIRCUIT) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึง ่ ไอซีนี้ทาให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (CHIP) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนาเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทาให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก นอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล (DATA BASE MANAGEMENT SYSTEMS : DBMS) และมีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานร่วมกันได้หลายๆ งานในเวลา เดียวกัน และมีระบบที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเครื่องได้หลายๆ คน พร้อมๆ กัน (TIME SHARING) ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (INTEGRATED CIRCUIT : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (LARGE SCALE INTEGRATION : LSI) เป็นอุปกรณ์หลัก ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที (MICROSECOND : MS) (สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า) ทางานได้ด้วยภาษาระดับสูงทั่วไป
  • 6. เป็นยุคที่นาสารกึ่งตัวนามาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (VERY LARGE SCALE INTEGRATED : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไม โครโพรเซสเซอร์ (MICROPROCESSOR) ขึ้น ทาให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถ ในการทางานสูงและรวดเร็วมาก จึงทาให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PERSONAL COMPUTER) ถือ กาเนิดขึ้นมาในยุคนี้ ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (LARGE SCALE INTEGRATION : LSI) และ วงจรรวมสเกล ขนาดใหญ่มาก (VERY LARGE SCALE INTEGRATION : VLSI) เป็นอุปกรณ์หลัก มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที (NANOSECOND : NS) และ พัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคาสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที (PICOSECOND : PS)
  • 7. ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (PORTABLE COMPUTER) ขึ้นใช้งานในยุคนี้ โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทั้ง โครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE : AI) เป็น หัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล องค์ประกอบของระบบปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (ROBOTICS OR ROBOTARM SYSTEM) คือหุ่นจาลองร่างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทางานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์ เพื่อให้ทางานแทนมนุษย์ในงานที่ต้องการความเร็ว หรือเสี่ยงอันตราย เช่น แขนกลใน โรงงานอุตสาหกรรม หรือหุ่นยนต์กู้ระเบิด เป็นต้น
  • 8. 2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System)  คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถสังเคราะห์เสียงที่มีอยู่ในธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่องคิดเลขพูดได้ (Talking Calculator) หรือนาฬิกาปลุก พูดได้ (Talking Clock) เป็นต้น 3. การรู้จาเสียงพูด (Speech Recognition System)  คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์ และสามารถจดจาคาพูดของมนุษย์ได้ อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือเป็นการพัฒนาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานได้ด้วยภาษาพูด เช่น งาน ระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสาหรับผู้พิการ เป็นต้น  4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)  คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ รู้จักใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้ ที่มี หรือจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปัญหาอื่นอย่างมีเหตุผล ระบบนี้ จาเป็นต้องอาศัยฐานข้อมูล (Database) ซึ่งมนุษย์ผู้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้กาหนดองค์ ความรู้ไว้ในฐานข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้จาก ฐานความรู้นั้น เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์วิเคราะห์โรค หรือเครืองคอมพิวเตอร์ทานายโชคชะตา ่ เป็นต้น
  • 10. ประเภทของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้ใช้วงจรเบ็ดเสร็จขนาดใหญ่มาก (very large scale integrated circuit) ซึ่งสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่าสิบล้านตัว เราสามารถแบ่งคอมพิวเตอร์ในรุ่นปัจจุบันออกเป็น 4 ประเภทดังต่อไปนี้
  • 11. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (SUPERCOMPUTER) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมี ประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์ชนิดอื่น ๆ เครื่องซูเปอร์ คอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทางคณิตศาสตร์ได้หลาย แสนล้านครั้งต่อวินาที และได้รบการออกแบบ เพื่อให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากทาง ั วิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ได้อย่าง รวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศ ล่วงหน้าเป็นเวลาหลายวัน การศึกษาผลกระทบของมลพิษกับสภาวะแวดล้อมซึ่งหากใช้ คอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี้ อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปี กว่าจะเสร็จสิ้น ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่ ชั่วโมงเท่า นั้น เนื่องจากการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ จะต้องใช้หน่วยความจาสูง ดังนั้น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ตั้งแต่รุ่นที่มีหน่วยประมวลผล (processing unit) 1 หน่วย จนถึง รุ่นที่มีหน่วยประมวลผลหลายหมื่นหน่วยซึ่งสามารถทางานหลายอย่างได้ พร้อม ๆ กัน
  • 12. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (MAINFRAME COMPUTER) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มีสมรรถภาพที่ต่ากว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมี ความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพสูงกว่ามินิคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้จานวนหลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ฉะนั้น จึงสามารถใช้โปรแกรมจานวนนับร้อยแบบในเวลาเดียวกันได้ โดยเฉพาะ ถ้าต่อเครื่องเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถใช้ได้จากทั่วโลก ปัจจุบัน องค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร จะใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ในการทาบัญชีลูกค้า หรือการให้บริการจากเครื่องฝากและถอนเงินแบบอัตโนมัติ (automatic teller machine) เนื่องจากเครื่อง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ได้ถูกใช้งานมากในการบริการผู้ใช้พร้อม ๆ กัน เมนเฟรมคอมพิวเตอร์จึงต้องมีหน่วยความจาที่ใหญ่มาก
  • 13. มินิคอมพิวเตอร์ (MINICOMPUTER) มินิคอมพิวเตอร์ คือ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งาน ได้หลายคนพร้อม ๆ กัน แต่จะไม่มีสมรรถภาพเพียงพอที่จะบริการผู้ใช้ในจานวนที่เทียบเท่า เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ได้ จึงทาให้มินิคอมพิวเตอร์เหมาะสาหรับองค์กรขนาดกลาง หรือ สาหรับแผนกหนึ่งหรือสาขาหนึ่งขององค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น
  • 14. ไมโครคอมพิวเตอร์ (MICROCOMPUTER) หรือ พีซี (PERSONAL COMPUTER หรือ PC ) ไมโครคอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer) หรือขนาดเล็กกว่านั้น อาทิเช่น ขนาดสมุดบันทึก (notebook computer) และขนาดฝ่ามือ (palmtop computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ ได้เริ่มมีขึ้นในปีพ.ศ. 2518 ถึงแม้ว่าในระยะหลัง เครื่องชนิดนี้จะมีประสิทธิภาพที่สูง แต่เนื่องจากมีราคา ไม่แพงและมีขนาดกระทัดรัด ไมโครคอมพิวเตอร์จึงยังเหมาะสาหรับใช้ส่วนตัว ไมโครคอมพิวเตอร์ได้ถูก ออกแบบสาหรับใช้ที่บ้าน โรงเรียน และสานักงานสาหรับที่บ้าน เราสามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการ ทางบประมาณรายรับรายจ่ายของครอบครัวช่วย ทาการบ้านของลูกๆ การค้นคว้าข้อมูลและข่าวสาร การ สื่อสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail หรือ E - mail) หรือโทรศัพท์ทาง อินเทอร์เน็ต (internet phone) ในการติดต่อทั้งในและนอกประเทศ หรือแม้กระทั่งทาง บันเทิง เช่น การเล่นเกมบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ สาหรับที่โรงเรียน เราสามารถใช้ ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยสอนนักเรียนในการค้นคว้าข้อมูลจาก ทั่วโลกสาหรับที่สานักงาน เรา สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในการช่วยพิมพ์จดหมายและข้อมูลอื่นๆ เก็บและค้นข้อมูล วิเคราะห์และ ทานายยอดซือขายล่วงหน้า ้
  • 15. โน้ตบุ๊ค (NOTEBOOK OR LAPTOP) โน้ตบุ๊ค คือ คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนา ติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก และน้าหนักเบา ในปัจจุบันมีขนาดพอๆกับสมุดที่ทาด้วย กระดาษ