SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
23
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
การจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู 7 ขั้น
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รหัสวิชา ว 42244 วิชา ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
ชื่อหนวย การสืบพันธุของพืชดอก เวลา 12 ชั่วโมง
ชื่อเรื่อง โครงสรางของพืชดอก เวลา 2 ชั่วโมง
ผูสอน นางสาวกมลรัตน ฉิมพาลี
มาตรฐานการเรียนรู
ตามมาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐานของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว.1.1 : เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่
ของระบบตางๆของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูสื่อสารสิ่งที่เรียนรู
และนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิตอื่น
1. สาระสําคัญ
โครงสรางของดอกที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุในพืชแตละชนิดมีโครงสรางของดอกแตกตางกัน
บางชนิดมีโครงสรางหลักครบทั้ง 4 สวน ซึ่งไดแก กลีบเลี้ยง (sepal) กลีบดอก (petal) เกสรเพศผู
(stamen) และเกสรเพศเมีย(pistil) เรียกวา ดอกสมบูรณ(complete flower) ถาขาดสวนใด
สวนหนึ่งไปไมครบ 4 สวน เรียกวา ดอกไมสมบูรณ(incomplete flower) และดอกที่มีทั้งเกสรเพศผู
และเพศเมียอยูภายในดอกเดียวกัน เรียกวา ดอกสมบูรณเพศ (perfect flower) ถามีแตเกสรเพศผู หรือ
เกสรเพศเมียอยางเดียว เรียกวา ดอกไมสมบูรณเพศ (imperfect flower)
2. ผลการเรียนรู
1. สังเกต เปรียบเทียบ และอภิบายโครงสรางของดอกและการสรางเซลลสืบพันธุของพืชดอก
พรอมทั้งระบุคําศัพทและประโยคภาษาอังกฤษสั้นๆที่เกี่ยวของ
3. จุดประสงคการเรียนรู
3.1 ดานความรู (K)
6. ระบุโครงสรางและสวนประกอบของพืชดอก
7. อธิบายความหมายของดอกสมบูรณเพศและดอกไมสมบูรณเพศ
3.2 ดานทักษะกระบวนการ (P)
8. จัดประเภทพืชดอกโดยใชเกณฑตางๆ
9. เปรียบเทียบความแตกตางของเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย
3.3 ดานคุณลักษณะ (A)
10. ใหความรวมมือแกหมูคณะ ทํางานเสร็จทันตามเวลาที่กําหนด
ปฏิบัติตามกฎกติกาที่ระบุไวในกิจกรรม
4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
24
1. ความสามารถในการสื่อสาร
- สามารถถายทอดความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาชีววิทยา ความรูความเขาใจ
ความรูสึกและทัศนคติของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ในรูปแบบของวาจา งานเขียน วิดีทัศน
และสื่อสารโดยใชคําศัพทและประโยคพื้นฐานเปนภาษาอังกฤษ
2. ความสามารถในการคิด
- สามารถคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ คิดเปนระบบและ
คิดอยางสรางสรรค เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน เพื่อสรางองคความรูหรือสารสนเทศเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การเลือกแนวทางปฎิบัติ และนําความรูไปตอยอดเพิ่มเติม ใหเกิดประโยชนอยางเปนรูปธรรม
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
3. มุงมั่นในการทํางาน
6. สาระการเรียนรู
3. โครงสรางของพืชดอก
4. ดอกสมบูรณและดอกไมสมบูรณ
7. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู 7 ขั้น
ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นที่ 1
ขั้นตรวจสอบความรูเดิม
(Elicitation Phase)
1.1 นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
1.2 ครูนําดอกไม มานําเสนอหนาหอง ดอกไมประกอบดวยดอกกลวยไม
กุหลาบ ชบา ตําลึง ฟกทอง และเฟองฟา
1.3 ครูตั้งคําถามชวนคิดวา “สวนประกอบของดอกไมแตละชนิด
เหมือนหรือตางกันอยางไร”
1.4 เปดโอกาสใหนักเรียนไดเสนอความคิดเห็น เพื่อกระตุนใหนักเรียน
แสดงความรูเดิมออกมา
ขั้นที่ 2
ขั้นเราความสนใจ
(Engagement Phase)
2.1 นักเรียนแบงออกเปน 5 กลุม โดยใชวิธีการแบงกลุมแบบความรวมมือ
คือในแตละกลุมจะมีนักเรียนที่เรียนเกง ปานกลางและออน อยูรวมกันใน
หนึ่งกลุมเพื่อใหเกิดการชวยเหลือซึ่งกันและกัน
(ครูแบงกลุมนักเรียนไวลวงหนา)
2.2 นักเรียนทําการศึกษาดอกไมที่ไดรับมอบหมาย
2.4 นักเรียนแตละกลุมเลือกเกณฑที่จะใชจัดประเภทดอกไมโดยใช
สวนประกอบตางๆของพืชดอก
(ครูเดินไปแตละกลุมเพื่อตั้งคําถามใหคิดและใหความชวยเหลือ)
ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู
2.5 ครูสุมตัวอยางนักเรียน 2
25
กลุมเพื่อนําเสนอวิธีการที่กลุมของตนเองใชเปนเกณฑในการแบงกลุมของพืช
ดอก
ขั้นที่ 3
ขั้นสํารวจคนหา
(Exploration Phase)
3.1 นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมารับใบความรูที่ 1
เรื่องโครงสรางของพืชดอก นักเรียนรวมมือกันในการทําใบงานที่ 1
เรื่องฉันคือพืชดอก ใบความรูที่ 2 เรื่องการจําแนกดอกตามเกณฑตางๆ
ใบงานที่ 2 เรื่องการแบงชนิดของดอกและใบงานที่ 3 เรื่องการศึกษาโครงสราง
ของดอกไม
3.2 ครูแนะนําวิธีการทํางานในกลุมรวมกัน และอธิบายการสุมนักเรียนใน
ขั้นที่ 4
ขั้นอธิบาย
(Explanation Phase)
4.1 ครูจับฉลากเพื่อหากลุมที่จะนําเสนอใบงาน
4.2 นักเรียนรายงานการทําใบงาน และความรูที่ไดรับจากการทําใบงาน
4.3 ครูถามสมาชิกในแตละกลุมวา
“มีคําถามใดบางที่ครูถามไปและยังไมไดตอบ ใหนักเรียนชวยตอบคําถามนั้น”
เชน สวนประกอบของดอกไมแตละชนิดเหมือนหรือตางกันอยางไร,
นักเรียนแบงกลุมของพืชดอกโดยใชเกณฑใด
4.4 เมื่อครบทุกกลุมครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น
4.5 ครูอานคําศัพทและเปดจากอินเตอรเน็ตเพื่อใหนักเรียนฝกฟง
การออกเสียงคําศัพทและเขียนประโยคภาษาอังกฤษ อธิบายโครงสรางประโยค
ความหมาย อานและทอง (ใชเกมใครทองไดมากที่สุด 5 คนแรกรับ very
good)
ขั้นที่ 5
ขั้นขยายความรู
(Elaboration Phase)
5.1 ครูนําประเด็นที่เกิดความขัดแยงกัน จากการนําเสนอของแตละกลุม
มาใหนักเรียนชวยกันอภิปราย วานักเรียนมีความคิดเห็นอยางไร
5.2 ครูจัดการทดลองสาธิตเพื่อใหนักเรียนศึกษา การวางตัวของรังไข
5.3 นักเรียนทํามโนทัศน เรื่องโครงสรางของพืชดอกลงสมุด
5.4 นักเรียนและครูชวยกันสรุปสิ่งที่ไดจากการเรียนรูในกิจกรรม
การเรียนการสอน
ขั้นที่ 6
ขั้นประเมินผล
(Evaluation Phase)
6.1 ใบงาน (การทํางานเปนกลุม)
6.2 การตอบคําถาม (ความเขาใจภาพรวม)
6.3 การสรุปองคความรูและประเด็นสําคัญที่ไดจากการเรียนลงในสมุด
ของนักเรียนแตละคน (ความเขาใจรายบุคคล)
ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นที่ 7
ขั้นนําความรูไปใช
7.1 นักเรียนและครูชวยกันสรางตนแบบความจําหรือคําสําคัญ
เพื่อใชกระตุนความรูที่นักเรียนไดเรียนไปในวันนี้
26
(Extention Phase) การศึกษานอกเวลาเรียน
7.2 นักเรียนสรางบทสนทนาจากความรูที่ไดรับ ในรูปแบบตางๆเชน
การสนทนาระหวางครูและนักเรียน พอแมและลูก ระหวางเพื่อนนักเรียน
ในเรื่องโครงสรางของพืชดอก
7.3 นักเรียนสรางคําถามและเฉลยคําตอบจากความรูที่ไดศึกษา
8. สื่อและแหลงการเรียนรู
3. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม 4
4. ใบความรูที่ 1 เรื่องโครงสรางของพืชดอก
5. ใบความรูที่ 2 เรื่องการจําแนกดอกตามเกณฑตางๆ
6. ใบงานที่ 1 เรื่องฉันคือพืชดอก
7. ใบงานที่ 2 เรื่องการแบงชนิดของดอก
8. ใบงานที่ 3 เรื่องการศึกษาโครงสรางของดอกไม
9. การวัดและการประเมินผล
สิ่งที่ตอง
ประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/วิธีการ/เครื่องมือ เกณฑการผาน ผูประเมิน
ดานความรู 1. ระบุโครงสรางและ
สวนประกอบของ
พืชดอก (K)
การตรวจใบงานที่ 1
และใบงานที่ 3
การสังเกตการตอบคําถาม
1. นักเรียนทําใบงาน
ไดถูกตองอยางนอย
รอยละ 80
ครู
2. อธิบายความหมายของ
ดอกสมบูรณเพศและ
ดอกไมสมบูรณเพศ
การตรวจใบงานที่ 2
และใบงานที่ 3
การสังเกตการตอบคําถาม
1. นักเรียนทําใบงาน
ไดถูกตองอยางนอย
รอยละ 80
ครู
ดานทักษะ 1. จัดประเภทพืชดอกโดย
ใชเกณฑตางๆ (P)
การตรวจใบงานที่ 2
และใบงานที่ 3
การสังเกตการณ
ตอบคําถาม
การตรวจกิจกรรมการศึกษา
นอกเวลาเรียน
การตรวจแผนผังมโนทัศน
1. นักเรียนสามารถ
ใชเกณฑในการจัด
ประเภทไดอยางนอย
2 เกณฑ
ครู
สิ่งที่ตอง
ประเมิน
ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/วิธีการ/เครื่องมือ เกณฑการผาน ผูประเมิน
ดานทักษะ 3. เปรียบเทียบความแตก
ตางของเกสรเพศผู
ใบงานที่ 1และใบงานที่ 3
การตอบคําถาม
1. นักเรียนผานระดับ
2 ขึ้นไป
ครู
27
และเกสรเพศเมีย (P) แผนผังมโนทัศน
การศึกษานอกเวลาเรียน
ดานเจตคติ
(เงื่อนไข
คุณธรรม)
4. ใหความรวมมือแก
หมูคณะทํางานเสร็จทัน
ตามเวลาที่กําหนด
ปฏิบัติตามกฎกติกาที่
ระบุไวในกิจกรรม
แบบประเมินพฤติกรรมการ
ทํางาน
1. นักเรียนผานระดับ
2 ขึ้นไป
ครู/
นักเรียน
สมรรถนะ
สําคัญของ
ผูเรียน
1. ความสามารถใน
การสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
การตรวจใบงานที่ 1-3 1. นักเรียนผานระดับ
2 ขึ้นไป
ครู
คุณลักษณะ
อันพึง
ประสงค
1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
3. มุงมั่นในการทํางาน
วิเคราะหจากแบบประเมิน
พฤติกรรมการทํางาน
(จากดานเจตคติ)
นักเรียนผานระดับ 2
ขึ้นไป
ครู/
นักเรียน
8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู
ชั้น..................... วันที่ .......... เดือน........................................................ พ.ศ..........................
8.1 ผลการจัดการเรียนรู
8.1.1 ความรู (K)
แบบฝกหัด ผานการประเมิน........................คน คิดเปนรอยละ..................
ไมผานการประเมิน....................คน คิดเปนรอยละ..................
แบบทดสอบ ผานการประเมิน........................คน คิดเปนรอยละ..................
ไมผานการประเมิน....................คน คิดเปนรอยละ..................
8.1.2 ทักษะกระบวนการ (P)
ระดับคุณภาพ 3 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
ระดับคุณภาพ 2 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
ระดับคุณภาพ 1 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
8.1.3 เจตคติ (A)
ระดับคุณภาพ 3 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
ระดับคุณภาพ 2 จำนวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
ระดับคุณภาพ 1 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ...................
8.1.4 สมรรถนะ (C : competency)
28
ระดับคุณภาพ 3 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
ระดับคุณภาพ 2 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
ระดับคุณภาพ 1 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
8.1.5 คุณลักษณะอันพึงประสงค
ระดับคุณภาพ 3 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
ระดับคุณภาพ 2 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
ระดับคุณภาพ 1 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ..................
8.2 ปญหาที่พบและแนวทางแกไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
8.3 ขอเสนอแนะ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.......................................................
(....................................................)
แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน
วันที่………………………เรื่อง……………...................................ชั้น……………
รายชื่อสมาชิก 1………………………………………………เลขที่………………….
2………………………………………………เลขที่…………………..
3………………………………………………เลขที่…………………..
4………………………………………………เลขที่…………………..
29
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
หมายเหตุ
5 4 3 2 1
วิธีปฏิบัติงาน
1. การศึกษาวิธีการทํางาน
2. การแบงหนาที่การทํางาน
3. การตรงเวลา
4.ความถูกตองเหมาะสมของการใชวัสดุอุปกรณ
เกณฑการประเมิน
16-20 = ดี
10-15 =
ปานกลาง
4-9 =
ควรปรับปรุง
รวม คะแนนที่ได/คะแนนเต็ม =
/20
ผาน/ไมผาน
ผลงาน
5. ความคิดสรางสรรค (ชิ้นงาน)
6. ความถูกตอง (ใบงาน)
7. ความสะอาดและสวยงามของชิ้นงาน
เกณฑการประเมิน
10-15 = ดี
5-9 = ปานกลาง
0-4 =ควรปรับปรุง
รวม คะแนนที่ได/คะแนนเต็ม
= /15
ผาน/ไมผาน
พฤติกรรมการทํางานกลุม
8. ความรวมมือในกลุม
9. ความเหมาะสมในการแสดง
ความคิดเห็น
เกณฑการประเมิน
8-10 = ดี
5-7 = ปานกลาง
2-4 =
ควรปรับปรุง
รวม คะแนนที่ได/คะแนนเต็ม
= /10
ผาน/ไมผาน
รวมทั้งหมด คะแนนที่ได/คะแนนเต็ม
= /50
ผาน/ไมผาน
ผูประเมิน....................................................
การประเมินผังมโนทัศน
คะแนน ใหความหมาย หลักการของแผนผัง
0 ไมใหความหมายหรือให
ความหมายไมถูกตอง
ไมมีความสัมพันธหรือผิด
หลักการ
1 ใหความหมายถูกตองเปน
สวนใหญ
แผนผังมีความสัมพัธและ
ถูกตองเปนสวนใหญ
2 ใหความหมายถูกตอง
สมบูรณ
แผนผังมีความถูกตองอยาง
สมบูรณ
30
ใบงานที่ 1 เรื่องฉันคือพืชดอก ผูสอน กมลรัตน ฉิมพาลี
รายชื่อสมาชิกในกลุม
1……………………………………………………………….. 2………………………………………………………………………
3………………………………………………………………...4………………………………………………………………………
5…………………………………………………………………6……………………………………………………………………
วันที่ ...........................................เดือน.........................................พ.ศ. .............................
คําชี้แจง :
ใหนักเรียนเลือกคําที่กําหนดใหทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีความหมายตรงกับภาพ
โดยเติมลงในชองวางใหถูกตอง (สามารถเลือกไดมากกวา 1 ครั้ง)
31
ปรับปรุงภาพจาก http://www.caribbeanedu.com/images/kewl/flower_parts.jpg
ใบงานที่ 2 เรื่องการแบงชนิดของดอก
ผูสอน กมลรัตน ฉิมพาลี
รายชื่อสมาชิกในกลุม
1………………………………………………… 2………………………………………………
3………………………………………………….4………………………………………………
5………………………………………………….6………………………………………………
วันที่ ...........................................เดือน.........................................พ.ศ. .............................
กลีบดอก
เกสรตัวผู
ยอดเกสรตัวเมี
ยกานชูอับเรณู
กานเกสรตัวเมี
ย
กลีบเลี้ยง
กานดอก
รังไข
เซลลไข
อับเรณู
ฐานรองดอก
ออวุล
sepal
stamen
stigma
style
filament
petal
flower stalk
ovary
Egg cell
anther
pedicel
ovule
ภาพ ข.
ปรับปรุงภาพจาก http://web.gccaz.edu/~lsola/Flower/lilycut.jpg
32
การจัดประเภทของพืชดอก
ดอกสมบูรณ ดอกไมสมบูรณ เพราะ
คําชี้แจง : จงจําแนกดอกไมที่กําหนดใหเติมในตารางใหถูกตอง
33
ดอกสมบูรณเพศ ดอกไมสมบูรณเพศ
รังไขอยูเหนือฐานรองดอก รังไขอยูใตฐานรองดอก
เกณฑที่ใชคือ.....................................................................................................................................
เกณฑที่ใชคือ.....................................................................................................................................
34
ดอกเดี่ยว ดอกชอ
ใบงานที่ 3 เรื่องการศึกษาโครงสรางของดอกไม ผูสอน กมลรัตน ฉิมพาลี
รายชื่อสมาชิกในกลุม
1……………………………………………………………….. 2………………………………………………………………………
3………………………………………………………………...4………………………………………………………………………
5…………………………………………………………………6……………………………………………………………………
วันที่ ...........................................เดือน.........................................พ.ศ. .............................
เกณฑที่ใชคือ.....................................................................................................................................
เกณฑที่ใชคือ.....................................................................................................................................
คําชี้แจง : ใหนักเรียนศึกษาสวนประกอบของดอกไมที่นํามา
ศึกษาสวนประกอบตางๆแลวเลือกสวนตางๆติดลงในตารางใหถูกตอง
35
ชื่อดอกไม................................................
ชื่อสวนประกอบตางๆ สวนประกอบจริง
กลีบดอก
กลีบเลี้ยง
เกสรตัวเมีย
เกสรตัวผู
ชื่อสวนประกอบตางๆ สวนประกอบจริง
รังไข
ฐานรองดอก
36
กานดอก
สรุป ลักษณะดอกไมที่นํามาศึกษาเปน
ดอกครบสวน
ดอกไมครบสวน
ดอกสมบูรณเพศ
ดอกไมสมบูรณเพศ
ดอกเดี่ยว
ดอกชอ
รังไขอยูเหนือฐานรองดอก
รังไขอยูใตฐานรองดอก
วิชา ชีววิทยา
รหัส ว 32242
ใบความรูที่ 1
เรื่องโครงสรางของดอก
เอกสารประกอบ
แผนการสอนที่ 1 หนวยที่ 1
โรงเรียนถนนหักพิทยาคม ผูสอนนางสาวกมลรัตน ฉิมพาลี
โครงสรางของดอก (Flower structure)
ดอก (Flower)
พืชดอก(Angiosperm) มีดอก (Flower) เปนอวัยวะซึ่งทํา หนาที่ในการสืบพันธุ
พัฒนามาจากตาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปเปนกลุมใบที่จัดเรียงตัวอยูรอบแกนเดียวกัน
ประโยคภาษาอังกฤษที่เขียนได
37
1. สวนประกอบของดอก ดอกของพืชดอกจะวางตั้งอยูบนฐานรองดอก (receptacle)
ที่เชื่อมติดกับกานดอก(peduncle) มีสวนประกอบดวยกันอยู 4 วง คือ
1. วงกลีบเลี้ยง (calyx) ประกอบดวยกลีบเลี้ยง (sepal) มีรูปรางคลายใบ สีเขียว อยูวง
นอกสุด ซึ่งก็คือชั้นนอกสุดของตาดอก
2. วงกลีบดอก (collora) ประกอบดวยกลีบดอก (petal) อยูถัดเขาไปจากวง รูปราง
คลายใบ มีสีสันตางๆ เพื่อชวยในการลอแมลงที่ชวยผสมเกสรวงกลีบเลี้ยงและกลีบดอก เปนชั้นที่ไมไดทํา
หนาที่เกี่ยวของในการสืบพันธุ แตจะมีหนาที่ปองกันอวัยวะสืบพันธุ และดึงดูดแมลงที่ชวยในการผสมพันธุ
วงทั้ง 2 ชั้นนี้จะเรียกรวมกันวา วงกลีบรวม (periants)
ในพืชบางชนิดมีวงกลีบรวมที่มีลักษณะของกลีบเลี้ยงและกลีบดอกเหมือนกันจนแยกไมออก เชน
ดอกทิวลิป จะเรียกแตละกลีบวากลีบรวม (tepal)
3. วงเกสรเพศผู (androecium) ประกอบดวยเกสรเพศผู (stamen) ซึ่งเกสรเพศผูแต
ละอันประกอบดวยอับเกสรตัวผู (anther) ภายในบรรจุละอองเรณู (pollen) และกานชูอับเรณู
(filament)
4. วงเกสรเพศเมีย (gynoecium) ประกอบดวยเกสรเพศเมีย (pistil หรือ carpel) ตั้ง
แต 1 ถึงหลายอัน ซึ่งเกสรเพศเมียแตละอันประกอบดวยรังไข (ovary) ไข (ovule) กานเกสรเพศเมีย
(style) และยอดเกสรตัวเมีย (stigma)
ภาพที่ 1: โครงสรางดอก
2. การจัดเรียงตัวของสวนประกอบดอก (Arrangement of flower parts)
โครงสรางและการจัดเรียงตัวของสวนตางๆ ดอก มีความแตกตางกันไปตามชนิดพืช ซึ่ง
สามารถใชเปนดัชนีในการจําแนกชนิดพืชไดเปนอยางดี พืชบางชนิดมีโครงสรางครบทั้ง 4 ชั้น
แตในบางชนิดอาจขาดวงใดวงหนึ่งไป การเรียงตัวของชั้นทั้ง 4 แตกตางกันไป นอกจากนี้ลักษณะ
ของชั้นทั้ง 4 แตกตางกันไป เชน ลักษณะของฐานรองดอก มีทั้งขนาดเล็ก ขนาดใหญ รูปรางกลม
หรือแผแบนคลายจานกลีบดอกมีสีสันและจํานวนกลีบแตกตางกันไปตามชนิด เกสรเพศเมียและ
เพศผูมีการเรียงตัวของสวนประกอบตางๆ แตกตางกันไป
ภาพจาก : http://extension.oregonstate.edu/mg/botany/flower2.html
ดอกสมบูรณ ดอกไมสมบูรณ
38
วิชา ชีววิทยา
รหัส ว 42224
ใบความรูที่ 2
เรื่องการจําแนกดอกตามเกณฑตางๆ
เอกสารประกอบ
แผนการสอนที่ 1 หนวยที่ 2
โรงเรียนถนนหักพิทยาคม ผูสอนนางสาวกมลรัตน ฉิมพาลี
ลักษณะเพศของพืชดอก (Plant sexuality)
การจําแนกลักษณะเพศชองพืชดอก โดยใชเกณฑตางๆไดดังนี้
1. การจําแนกโดยลักษณะโครงสรางดอก มีอยู 2 ชนิด คือ พืชที่มีสวนประกอบดอกครบทั้ง 4 วง
จะเรียกวา ดอกสมบูรณ (complete flower) แตถาสวนประกอบขาดไปวงใดวงหนึ่งจะเรียกวา
ดอกไมสมบูรณ (incomplete flower) ดอกสมบูรณที่มีทั้งเกสรเพศผูและเพศเมียอยูรวมกัน จะเรียกวา
ดอกสมบูรณเพศ (perfect flower, bisexual หรือ hermaphrodite) ซึ่งพืช angiosperm
39
สวนใหญจะมีดอกแบบนี้ ดอกที่มีเกสรเพียงเพศใดเพศหนึ่งเทานั้นเรียกวา ดอกไมสมบูรณเพศ
(imperfect flower หรือunisexual) ซึ่งแยกออกไดเปน
ดอกเพศผู (staminate flower) เปนดอกที่มีแตเกสรเพศผู
ดอกเพศเมีย (pistillate flower) เปนดอกที่มีแตเกสรเพศเมีย
2. การจําแนกโดยลักษณะตนพืช แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ
ตนพืชที่มีดอกที่เปนเพศผูหรือเพศเมียอยูภายในดอกเดียวกัน หรือตนเดียวกันเรียกวา พืชตางเพศรวมตน
(monoecious plant) แตพืชที่มีดอกเพศผูและเพศเมียอยูแยกตนกันเรียกวา พืชตางเพศตางตน
(dioecious plant) ดอกเพศผู ดอกเพศเมีย Monoecious Dioecious ดังภาพที่ 1 และภาพที่ 2
3. ตําแหนงของรังไข
1. รังไขที่อยูเหนือฐานรองดอก (superior ovary) เปนรังไขที่อยูเหนือจุดติดของเกสรตัวผู
2. รังไขที่มีฐานรองดอกหุมเอาไวหมด (inferior ovary) เปนรังไขที่อยูต่ํากวาจุดติดของเกสรตัวผู
หรือรังไขอยูต่ํากวาสวนอื่นของดอก
3. รังไขที่มีจุดติดของรังไขและเกสรตัวผู บนฐานรองดอกก้ํากึ่งกัน มีสวนของกลีบเลี้ยง กลีบดอก
และเกสรตัวผูติดกับฐานรองดอกบริเวณขาง ๆ โดยรอบรังไข
และฐานรองดอกเวาลงไปและมีขอบโคงขึ้นเปนรูปถวยอยูรอบ ๆ รังไข
ภาพที่ 2 เกสรของดอก
ปรับปรุงภาพจาก www.nysaes.cornell.edu
ภาพที่ 1 ดอกสมบูรณ
ปรับปรุงภาพจาก www.quorumsensing.ifas.ufl.edu
หมายเลข 2 คือเกสรตัวเมีย
หมายเลข 4 คือเกสรตัวเมีย
เกสรตัวผู
ดอกสมบูรณเพศ
40
รูปภาพที่ 3 แสดงตําแหนงของรังไข
4. ดอกเดี่ยวและดอกชอ
จําแนกชนิดของดอกโดยพิจารณาจากจํานวนดอกบนหนึ่งกาน สามารถแบงออกไดเปนดอกเดี่ยว ดอกชอ
และดอกรวม
1. ดอกเดี่ยว ( solitary folwer คือ ดอกไมที่มีดอกอยูเพียงดอกเดียวบนกานชูดอกเพียงกานเดียว
เชน ดอกมะเขือ ดอกชบา
2. ดอกชอ ( inflorescence folwer ) คือ ดอกหลาย ๆ ดอกที่อยูบนกานดอกเดียวกัน เชน
ดอกผกากรอง ดอกหางนกยูง ดอกชอเปนกลุมของดอกที่อยูบนกานชอดอก ( peduncle ) เดียวกัน
เรียกวา ชอดอก ( infolrescenec) แตละดอกในชอดอกนี้เรียกวา ดอกยอย ( floret )
ซึ่งอาจมีกานดอกของตัวเองเรียกวา เพดิเซล ( pedicel )
ชอดอกของพืชแตละชนิดรูปรางลักษณะแตกตางกัน นักพฤกษศาสตรไดจําแนกชอดอกออกเปน 2 พวก
ใหญ ๆ คือ
2.1. ชอดอกที่มีดอกชอเกิดตามแกนกลาง ชอดอกนี้เจริญออกไปไดเรื่อย ๆ ทําใหชอดอกยาวขึ้น
ดอกที่เกิดกอนอยูดานลางจะบานกอน
2.2. ชอดอกที่ดอกยอยแตกออกจากแกนกลางหรือไมแตกออกจากแกนกลางก็ได
ลักษณะที่สําคัญคือ ดอกยอยที่อยูบนสุดจะแกหรือบานกอนดอกยอยอื่น ๆ ที่อยูถัดออกมาดานขาง
3. ดอกรวม (composite flower) เปนดอกชอชนิดหนึ่ง (แบบhead ) ซึ่งจะประกอบดวย
ดอกยอยเล็ก ๆ จํานวนมากรวมอยูบนฐานรองดอก มีกานชูดอกอันเดียวกันมองดูคลายดอกเดี่ยว เชน
ดอกบานชื่น
รังไข
ฐานรองดอก
รังไขอยูใตฐานรองดอก
รังไข
ฐานรองดอก
นี่ไงตัวอยางดอกเดี่ยว
รังไขอยูเหนือฐานรองดอก
รังไข
ฐานรองดอก
41
ภาพที่ 4 ดอกเดี่ยว
ชอกระจุกแนน head
ชอดอกที่มีดอกยอยอัดกันแนนบน
ฐานรองดอกรูปจานที่แผกวางออก
ตรงกลางนูนเล็กนอย เชน ทานตะวัน
ดาวเรือง บานไมรูโรย
ชอแบบหางกระรอก catkin
ชอดอกที่มีลักษณะคลายดอก
เชิงลด ชอดอกมีแกนกลางยาว
ดอกยอยไมมีกานดอกยอย
ตางกันตรงที่ปลายชอดอก
หอยลง เชน หางกระรอกแดง
ชอเชิงลดมีกาบ spadix
ชอดอกแบบเชิงลดที่มีดอกแยกเพศติดอยู
บนแกนกลางไมมีกานดอกยอยมีริ้วประดั
บแผนใหญเปนกาบหุม เชน หนาวัว บอน
ชอเชิงลด spike
ชอดอกที่มีแกนกลางยาว
ดอกยอยทุกดอกไมมีกาน
ดอกยอย เชน กระถินณรงค
ภาพที่ 5 ดอกชอ
ดอกชบา ดอกมะเขือ
มาดูดอกชอในแบบตางๆกันดีกวา
42
43

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
Coverslide Bio
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
krubenjamat
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
แวมไพร์ แวมไพร์
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
chunkidtid
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
Anana Anana
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Suntharee Yodkham
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
Wan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ใบความรู้เรื่องพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
Photosynthesis Game (Thai)
Photosynthesis Game (Thai)Photosynthesis Game (Thai)
Photosynthesis Game (Thai)
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
Workshop : Teaching Mathematics in English by Professor Dr.Kathryn Chaval (Th...
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ใบกิจกรรมการรักษาดุลยภาพ
ใบกิจกรรมการรักษาดุลยภาพใบกิจกรรมการรักษาดุลยภาพ
ใบกิจกรรมการรักษาดุลยภาพ
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
เอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลกเอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลก
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
มาตรฐานของวิทยาศาสตร์ในยุคศตวรรษที่ 21 Next generation science standards
มาตรฐานของวิทยาศาสตร์ในยุคศตวรรษที่ 21  Next generation science standards มาตรฐานของวิทยาศาสตร์ในยุคศตวรรษที่ 21  Next generation science standards
มาตรฐานของวิทยาศาสตร์ในยุคศตวรรษที่ 21 Next generation science standards
 
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
 
หนังสือเล่มเล็ก สำหรับครูที่เริ่มการสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ
หนังสือเล่มเล็ก สำหรับครูที่เริ่มการสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษหนังสือเล่มเล็ก สำหรับครูที่เริ่มการสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ
หนังสือเล่มเล็ก สำหรับครูที่เริ่มการสอนวิทย์ด้วยภาษาอังกฤษ
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐานตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การโต้แย้งเป็นฐาน
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 

Similar to 3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
Pew Juthiporn
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
witthawat silad
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
witthawat silad
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
Ketsarin Prommajun
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
Aon Narinchoti
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
krupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 

Similar to 3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3) (20)

การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
วิพากษ์วิจารณ์
 วิพากษ์วิจารณ์ วิพากษ์วิจารณ์
วิพากษ์วิจารณ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี

More from กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 
Poster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริตPoster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริต
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Mind mapping genetics
 

3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)

  • 1. 23 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 การจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู 7 ขั้น กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รหัสวิชา ว 42244 วิชา ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ชื่อหนวย การสืบพันธุของพืชดอก เวลา 12 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง โครงสรางของพืชดอก เวลา 2 ชั่วโมง ผูสอน นางสาวกมลรัตน ฉิมพาลี มาตรฐานการเรียนรู ตามมาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐานของกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว.1.1 : เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ ของระบบตางๆของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูสื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิตอื่น 1. สาระสําคัญ โครงสรางของดอกที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุในพืชแตละชนิดมีโครงสรางของดอกแตกตางกัน บางชนิดมีโครงสรางหลักครบทั้ง 4 สวน ซึ่งไดแก กลีบเลี้ยง (sepal) กลีบดอก (petal) เกสรเพศผู (stamen) และเกสรเพศเมีย(pistil) เรียกวา ดอกสมบูรณ(complete flower) ถาขาดสวนใด สวนหนึ่งไปไมครบ 4 สวน เรียกวา ดอกไมสมบูรณ(incomplete flower) และดอกที่มีทั้งเกสรเพศผู และเพศเมียอยูภายในดอกเดียวกัน เรียกวา ดอกสมบูรณเพศ (perfect flower) ถามีแตเกสรเพศผู หรือ เกสรเพศเมียอยางเดียว เรียกวา ดอกไมสมบูรณเพศ (imperfect flower) 2. ผลการเรียนรู 1. สังเกต เปรียบเทียบ และอภิบายโครงสรางของดอกและการสรางเซลลสืบพันธุของพืชดอก พรอมทั้งระบุคําศัพทและประโยคภาษาอังกฤษสั้นๆที่เกี่ยวของ 3. จุดประสงคการเรียนรู 3.1 ดานความรู (K) 6. ระบุโครงสรางและสวนประกอบของพืชดอก 7. อธิบายความหมายของดอกสมบูรณเพศและดอกไมสมบูรณเพศ 3.2 ดานทักษะกระบวนการ (P) 8. จัดประเภทพืชดอกโดยใชเกณฑตางๆ 9. เปรียบเทียบความแตกตางของเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย 3.3 ดานคุณลักษณะ (A) 10. ใหความรวมมือแกหมูคณะ ทํางานเสร็จทันตามเวลาที่กําหนด ปฏิบัติตามกฎกติกาที่ระบุไวในกิจกรรม 4. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
  • 2. 24 1. ความสามารถในการสื่อสาร - สามารถถายทอดความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาชีววิทยา ความรูความเขาใจ ความรูสึกและทัศนคติของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ในรูปแบบของวาจา งานเขียน วิดีทัศน และสื่อสารโดยใชคําศัพทและประโยคพื้นฐานเปนภาษาอังกฤษ 2. ความสามารถในการคิด - สามารถคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ คิดเปนระบบและ คิดอยางสรางสรรค เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน เพื่อสรางองคความรูหรือสารสนเทศเกี่ยวกับการตัดสินใจ การเลือกแนวทางปฎิบัติ และนําความรูไปตอยอดเพิ่มเติม ใหเกิดประโยชนอยางเปนรูปธรรม 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน 6. สาระการเรียนรู 3. โครงสรางของพืชดอก 4. ดอกสมบูรณและดอกไมสมบูรณ 7. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู 7 ขั้น ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความรูเดิม (Elicitation Phase) 1.1 นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 1.2 ครูนําดอกไม มานําเสนอหนาหอง ดอกไมประกอบดวยดอกกลวยไม กุหลาบ ชบา ตําลึง ฟกทอง และเฟองฟา 1.3 ครูตั้งคําถามชวนคิดวา “สวนประกอบของดอกไมแตละชนิด เหมือนหรือตางกันอยางไร” 1.4 เปดโอกาสใหนักเรียนไดเสนอความคิดเห็น เพื่อกระตุนใหนักเรียน แสดงความรูเดิมออกมา ขั้นที่ 2 ขั้นเราความสนใจ (Engagement Phase) 2.1 นักเรียนแบงออกเปน 5 กลุม โดยใชวิธีการแบงกลุมแบบความรวมมือ คือในแตละกลุมจะมีนักเรียนที่เรียนเกง ปานกลางและออน อยูรวมกันใน หนึ่งกลุมเพื่อใหเกิดการชวยเหลือซึ่งกันและกัน (ครูแบงกลุมนักเรียนไวลวงหนา) 2.2 นักเรียนทําการศึกษาดอกไมที่ไดรับมอบหมาย 2.4 นักเรียนแตละกลุมเลือกเกณฑที่จะใชจัดประเภทดอกไมโดยใช สวนประกอบตางๆของพืชดอก (ครูเดินไปแตละกลุมเพื่อตั้งคําถามใหคิดและใหความชวยเหลือ) ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู 2.5 ครูสุมตัวอยางนักเรียน 2
  • 3. 25 กลุมเพื่อนําเสนอวิธีการที่กลุมของตนเองใชเปนเกณฑในการแบงกลุมของพืช ดอก ขั้นที่ 3 ขั้นสํารวจคนหา (Exploration Phase) 3.1 นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมารับใบความรูที่ 1 เรื่องโครงสรางของพืชดอก นักเรียนรวมมือกันในการทําใบงานที่ 1 เรื่องฉันคือพืชดอก ใบความรูที่ 2 เรื่องการจําแนกดอกตามเกณฑตางๆ ใบงานที่ 2 เรื่องการแบงชนิดของดอกและใบงานที่ 3 เรื่องการศึกษาโครงสราง ของดอกไม 3.2 ครูแนะนําวิธีการทํางานในกลุมรวมกัน และอธิบายการสุมนักเรียนใน ขั้นที่ 4 ขั้นอธิบาย (Explanation Phase) 4.1 ครูจับฉลากเพื่อหากลุมที่จะนําเสนอใบงาน 4.2 นักเรียนรายงานการทําใบงาน และความรูที่ไดรับจากการทําใบงาน 4.3 ครูถามสมาชิกในแตละกลุมวา “มีคําถามใดบางที่ครูถามไปและยังไมไดตอบ ใหนักเรียนชวยตอบคําถามนั้น” เชน สวนประกอบของดอกไมแตละชนิดเหมือนหรือตางกันอยางไร, นักเรียนแบงกลุมของพืชดอกโดยใชเกณฑใด 4.4 เมื่อครบทุกกลุมครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น 4.5 ครูอานคําศัพทและเปดจากอินเตอรเน็ตเพื่อใหนักเรียนฝกฟง การออกเสียงคําศัพทและเขียนประโยคภาษาอังกฤษ อธิบายโครงสรางประโยค ความหมาย อานและทอง (ใชเกมใครทองไดมากที่สุด 5 คนแรกรับ very good) ขั้นที่ 5 ขั้นขยายความรู (Elaboration Phase) 5.1 ครูนําประเด็นที่เกิดความขัดแยงกัน จากการนําเสนอของแตละกลุม มาใหนักเรียนชวยกันอภิปราย วานักเรียนมีความคิดเห็นอยางไร 5.2 ครูจัดการทดลองสาธิตเพื่อใหนักเรียนศึกษา การวางตัวของรังไข 5.3 นักเรียนทํามโนทัศน เรื่องโครงสรางของพืชดอกลงสมุด 5.4 นักเรียนและครูชวยกันสรุปสิ่งที่ไดจากการเรียนรูในกิจกรรม การเรียนการสอน ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase) 6.1 ใบงาน (การทํางานเปนกลุม) 6.2 การตอบคําถาม (ความเขาใจภาพรวม) 6.3 การสรุปองคความรูและประเด็นสําคัญที่ไดจากการเรียนลงในสมุด ของนักเรียนแตละคน (ความเขาใจรายบุคคล) ขั้นการสอน กิจกรรมการเรียนรู ขั้นที่ 7 ขั้นนําความรูไปใช 7.1 นักเรียนและครูชวยกันสรางตนแบบความจําหรือคําสําคัญ เพื่อใชกระตุนความรูที่นักเรียนไดเรียนไปในวันนี้
  • 4. 26 (Extention Phase) การศึกษานอกเวลาเรียน 7.2 นักเรียนสรางบทสนทนาจากความรูที่ไดรับ ในรูปแบบตางๆเชน การสนทนาระหวางครูและนักเรียน พอแมและลูก ระหวางเพื่อนนักเรียน ในเรื่องโครงสรางของพืชดอก 7.3 นักเรียนสรางคําถามและเฉลยคําตอบจากความรูที่ไดศึกษา 8. สื่อและแหลงการเรียนรู 3. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม 4 4. ใบความรูที่ 1 เรื่องโครงสรางของพืชดอก 5. ใบความรูที่ 2 เรื่องการจําแนกดอกตามเกณฑตางๆ 6. ใบงานที่ 1 เรื่องฉันคือพืชดอก 7. ใบงานที่ 2 เรื่องการแบงชนิดของดอก 8. ใบงานที่ 3 เรื่องการศึกษาโครงสรางของดอกไม 9. การวัดและการประเมินผล สิ่งที่ตอง ประเมิน ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/วิธีการ/เครื่องมือ เกณฑการผาน ผูประเมิน ดานความรู 1. ระบุโครงสรางและ สวนประกอบของ พืชดอก (K) การตรวจใบงานที่ 1 และใบงานที่ 3 การสังเกตการตอบคําถาม 1. นักเรียนทําใบงาน ไดถูกตองอยางนอย รอยละ 80 ครู 2. อธิบายความหมายของ ดอกสมบูรณเพศและ ดอกไมสมบูรณเพศ การตรวจใบงานที่ 2 และใบงานที่ 3 การสังเกตการตอบคําถาม 1. นักเรียนทําใบงาน ไดถูกตองอยางนอย รอยละ 80 ครู ดานทักษะ 1. จัดประเภทพืชดอกโดย ใชเกณฑตางๆ (P) การตรวจใบงานที่ 2 และใบงานที่ 3 การสังเกตการณ ตอบคําถาม การตรวจกิจกรรมการศึกษา นอกเวลาเรียน การตรวจแผนผังมโนทัศน 1. นักเรียนสามารถ ใชเกณฑในการจัด ประเภทไดอยางนอย 2 เกณฑ ครู สิ่งที่ตอง ประเมิน ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/วิธีการ/เครื่องมือ เกณฑการผาน ผูประเมิน ดานทักษะ 3. เปรียบเทียบความแตก ตางของเกสรเพศผู ใบงานที่ 1และใบงานที่ 3 การตอบคําถาม 1. นักเรียนผานระดับ 2 ขึ้นไป ครู
  • 5. 27 และเกสรเพศเมีย (P) แผนผังมโนทัศน การศึกษานอกเวลาเรียน ดานเจตคติ (เงื่อนไข คุณธรรม) 4. ใหความรวมมือแก หมูคณะทํางานเสร็จทัน ตามเวลาที่กําหนด ปฏิบัติตามกฎกติกาที่ ระบุไวในกิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรมการ ทํางาน 1. นักเรียนผานระดับ 2 ขึ้นไป ครู/ นักเรียน สมรรถนะ สําคัญของ ผูเรียน 1. ความสามารถใน การสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด การตรวจใบงานที่ 1-3 1. นักเรียนผานระดับ 2 ขึ้นไป ครู คุณลักษณะ อันพึง ประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน วิเคราะหจากแบบประเมิน พฤติกรรมการทํางาน (จากดานเจตคติ) นักเรียนผานระดับ 2 ขึ้นไป ครู/ นักเรียน 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู ชั้น..................... วันที่ .......... เดือน........................................................ พ.ศ.......................... 8.1 ผลการจัดการเรียนรู 8.1.1 ความรู (K) แบบฝกหัด ผานการประเมิน........................คน คิดเปนรอยละ.................. ไมผานการประเมิน....................คน คิดเปนรอยละ.................. แบบทดสอบ ผานการประเมิน........................คน คิดเปนรอยละ.................. ไมผานการประเมิน....................คน คิดเปนรอยละ.................. 8.1.2 ทักษะกระบวนการ (P) ระดับคุณภาพ 3 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. ระดับคุณภาพ 2 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. ระดับคุณภาพ 1 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. 8.1.3 เจตคติ (A) ระดับคุณภาพ 3 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. ระดับคุณภาพ 2 จำนวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. ระดับคุณภาพ 1 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ................... 8.1.4 สมรรถนะ (C : competency)
  • 6. 28 ระดับคุณภาพ 3 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. ระดับคุณภาพ 2 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. ระดับคุณภาพ 1 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. 8.1.5 คุณลักษณะอันพึงประสงค ระดับคุณภาพ 3 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. ระดับคุณภาพ 2 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. ระดับคุณภาพ 1 จํานวน..........................คน คิดเปนรอยละ.................. 8.2 ปญหาที่พบและแนวทางแกไข ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 8.3 ขอเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ลงชื่อ....................................................... (....................................................) แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน วันที่………………………เรื่อง……………...................................ชั้น…………… รายชื่อสมาชิก 1………………………………………………เลขที่…………………. 2………………………………………………เลขที่………………….. 3………………………………………………เลขที่………………….. 4………………………………………………เลขที่…………………..
  • 7. 29 รายการประเมิน ระดับคุณภาพ หมายเหตุ 5 4 3 2 1 วิธีปฏิบัติงาน 1. การศึกษาวิธีการทํางาน 2. การแบงหนาที่การทํางาน 3. การตรงเวลา 4.ความถูกตองเหมาะสมของการใชวัสดุอุปกรณ เกณฑการประเมิน 16-20 = ดี 10-15 = ปานกลาง 4-9 = ควรปรับปรุง รวม คะแนนที่ได/คะแนนเต็ม = /20 ผาน/ไมผาน ผลงาน 5. ความคิดสรางสรรค (ชิ้นงาน) 6. ความถูกตอง (ใบงาน) 7. ความสะอาดและสวยงามของชิ้นงาน เกณฑการประเมิน 10-15 = ดี 5-9 = ปานกลาง 0-4 =ควรปรับปรุง รวม คะแนนที่ได/คะแนนเต็ม = /15 ผาน/ไมผาน พฤติกรรมการทํางานกลุม 8. ความรวมมือในกลุม 9. ความเหมาะสมในการแสดง ความคิดเห็น เกณฑการประเมิน 8-10 = ดี 5-7 = ปานกลาง 2-4 = ควรปรับปรุง รวม คะแนนที่ได/คะแนนเต็ม = /10 ผาน/ไมผาน รวมทั้งหมด คะแนนที่ได/คะแนนเต็ม = /50 ผาน/ไมผาน ผูประเมิน.................................................... การประเมินผังมโนทัศน คะแนน ใหความหมาย หลักการของแผนผัง 0 ไมใหความหมายหรือให ความหมายไมถูกตอง ไมมีความสัมพันธหรือผิด หลักการ 1 ใหความหมายถูกตองเปน สวนใหญ แผนผังมีความสัมพัธและ ถูกตองเปนสวนใหญ 2 ใหความหมายถูกตอง สมบูรณ แผนผังมีความถูกตองอยาง สมบูรณ
  • 8. 30 ใบงานที่ 1 เรื่องฉันคือพืชดอก ผูสอน กมลรัตน ฉิมพาลี รายชื่อสมาชิกในกลุม 1……………………………………………………………….. 2……………………………………………………………………… 3………………………………………………………………...4……………………………………………………………………… 5…………………………………………………………………6…………………………………………………………………… วันที่ ...........................................เดือน.........................................พ.ศ. ............................. คําชี้แจง : ใหนักเรียนเลือกคําที่กําหนดใหทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีความหมายตรงกับภาพ โดยเติมลงในชองวางใหถูกตอง (สามารถเลือกไดมากกวา 1 ครั้ง)
  • 9. 31 ปรับปรุงภาพจาก http://www.caribbeanedu.com/images/kewl/flower_parts.jpg ใบงานที่ 2 เรื่องการแบงชนิดของดอก ผูสอน กมลรัตน ฉิมพาลี รายชื่อสมาชิกในกลุม 1………………………………………………… 2……………………………………………… 3………………………………………………….4……………………………………………… 5………………………………………………….6……………………………………………… วันที่ ...........................................เดือน.........................................พ.ศ. ............................. กลีบดอก เกสรตัวผู ยอดเกสรตัวเมี ยกานชูอับเรณู กานเกสรตัวเมี ย กลีบเลี้ยง กานดอก รังไข เซลลไข อับเรณู ฐานรองดอก ออวุล sepal stamen stigma style filament petal flower stalk ovary Egg cell anther pedicel ovule ภาพ ข. ปรับปรุงภาพจาก http://web.gccaz.edu/~lsola/Flower/lilycut.jpg
  • 10. 32 การจัดประเภทของพืชดอก ดอกสมบูรณ ดอกไมสมบูรณ เพราะ คําชี้แจง : จงจําแนกดอกไมที่กําหนดใหเติมในตารางใหถูกตอง
  • 12. 34 ดอกเดี่ยว ดอกชอ ใบงานที่ 3 เรื่องการศึกษาโครงสรางของดอกไม ผูสอน กมลรัตน ฉิมพาลี รายชื่อสมาชิกในกลุม 1……………………………………………………………….. 2……………………………………………………………………… 3………………………………………………………………...4……………………………………………………………………… 5…………………………………………………………………6…………………………………………………………………… วันที่ ...........................................เดือน.........................................พ.ศ. ............................. เกณฑที่ใชคือ..................................................................................................................................... เกณฑที่ใชคือ..................................................................................................................................... คําชี้แจง : ใหนักเรียนศึกษาสวนประกอบของดอกไมที่นํามา ศึกษาสวนประกอบตางๆแลวเลือกสวนตางๆติดลงในตารางใหถูกตอง
  • 14. 36 กานดอก สรุป ลักษณะดอกไมที่นํามาศึกษาเปน ดอกครบสวน ดอกไมครบสวน ดอกสมบูรณเพศ ดอกไมสมบูรณเพศ ดอกเดี่ยว ดอกชอ รังไขอยูเหนือฐานรองดอก รังไขอยูใตฐานรองดอก วิชา ชีววิทยา รหัส ว 32242 ใบความรูที่ 1 เรื่องโครงสรางของดอก เอกสารประกอบ แผนการสอนที่ 1 หนวยที่ 1 โรงเรียนถนนหักพิทยาคม ผูสอนนางสาวกมลรัตน ฉิมพาลี โครงสรางของดอก (Flower structure) ดอก (Flower) พืชดอก(Angiosperm) มีดอก (Flower) เปนอวัยวะซึ่งทํา หนาที่ในการสืบพันธุ พัฒนามาจากตาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปเปนกลุมใบที่จัดเรียงตัวอยูรอบแกนเดียวกัน ประโยคภาษาอังกฤษที่เขียนได
  • 15. 37 1. สวนประกอบของดอก ดอกของพืชดอกจะวางตั้งอยูบนฐานรองดอก (receptacle) ที่เชื่อมติดกับกานดอก(peduncle) มีสวนประกอบดวยกันอยู 4 วง คือ 1. วงกลีบเลี้ยง (calyx) ประกอบดวยกลีบเลี้ยง (sepal) มีรูปรางคลายใบ สีเขียว อยูวง นอกสุด ซึ่งก็คือชั้นนอกสุดของตาดอก 2. วงกลีบดอก (collora) ประกอบดวยกลีบดอก (petal) อยูถัดเขาไปจากวง รูปราง คลายใบ มีสีสันตางๆ เพื่อชวยในการลอแมลงที่ชวยผสมเกสรวงกลีบเลี้ยงและกลีบดอก เปนชั้นที่ไมไดทํา หนาที่เกี่ยวของในการสืบพันธุ แตจะมีหนาที่ปองกันอวัยวะสืบพันธุ และดึงดูดแมลงที่ชวยในการผสมพันธุ วงทั้ง 2 ชั้นนี้จะเรียกรวมกันวา วงกลีบรวม (periants) ในพืชบางชนิดมีวงกลีบรวมที่มีลักษณะของกลีบเลี้ยงและกลีบดอกเหมือนกันจนแยกไมออก เชน ดอกทิวลิป จะเรียกแตละกลีบวากลีบรวม (tepal) 3. วงเกสรเพศผู (androecium) ประกอบดวยเกสรเพศผู (stamen) ซึ่งเกสรเพศผูแต ละอันประกอบดวยอับเกสรตัวผู (anther) ภายในบรรจุละอองเรณู (pollen) และกานชูอับเรณู (filament) 4. วงเกสรเพศเมีย (gynoecium) ประกอบดวยเกสรเพศเมีย (pistil หรือ carpel) ตั้ง แต 1 ถึงหลายอัน ซึ่งเกสรเพศเมียแตละอันประกอบดวยรังไข (ovary) ไข (ovule) กานเกสรเพศเมีย (style) และยอดเกสรตัวเมีย (stigma) ภาพที่ 1: โครงสรางดอก 2. การจัดเรียงตัวของสวนประกอบดอก (Arrangement of flower parts) โครงสรางและการจัดเรียงตัวของสวนตางๆ ดอก มีความแตกตางกันไปตามชนิดพืช ซึ่ง สามารถใชเปนดัชนีในการจําแนกชนิดพืชไดเปนอยางดี พืชบางชนิดมีโครงสรางครบทั้ง 4 ชั้น แตในบางชนิดอาจขาดวงใดวงหนึ่งไป การเรียงตัวของชั้นทั้ง 4 แตกตางกันไป นอกจากนี้ลักษณะ ของชั้นทั้ง 4 แตกตางกันไป เชน ลักษณะของฐานรองดอก มีทั้งขนาดเล็ก ขนาดใหญ รูปรางกลม หรือแผแบนคลายจานกลีบดอกมีสีสันและจํานวนกลีบแตกตางกันไปตามชนิด เกสรเพศเมียและ เพศผูมีการเรียงตัวของสวนประกอบตางๆ แตกตางกันไป ภาพจาก : http://extension.oregonstate.edu/mg/botany/flower2.html ดอกสมบูรณ ดอกไมสมบูรณ
  • 16. 38 วิชา ชีววิทยา รหัส ว 42224 ใบความรูที่ 2 เรื่องการจําแนกดอกตามเกณฑตางๆ เอกสารประกอบ แผนการสอนที่ 1 หนวยที่ 2 โรงเรียนถนนหักพิทยาคม ผูสอนนางสาวกมลรัตน ฉิมพาลี ลักษณะเพศของพืชดอก (Plant sexuality) การจําแนกลักษณะเพศชองพืชดอก โดยใชเกณฑตางๆไดดังนี้ 1. การจําแนกโดยลักษณะโครงสรางดอก มีอยู 2 ชนิด คือ พืชที่มีสวนประกอบดอกครบทั้ง 4 วง จะเรียกวา ดอกสมบูรณ (complete flower) แตถาสวนประกอบขาดไปวงใดวงหนึ่งจะเรียกวา ดอกไมสมบูรณ (incomplete flower) ดอกสมบูรณที่มีทั้งเกสรเพศผูและเพศเมียอยูรวมกัน จะเรียกวา ดอกสมบูรณเพศ (perfect flower, bisexual หรือ hermaphrodite) ซึ่งพืช angiosperm
  • 17. 39 สวนใหญจะมีดอกแบบนี้ ดอกที่มีเกสรเพียงเพศใดเพศหนึ่งเทานั้นเรียกวา ดอกไมสมบูรณเพศ (imperfect flower หรือunisexual) ซึ่งแยกออกไดเปน ดอกเพศผู (staminate flower) เปนดอกที่มีแตเกสรเพศผู ดอกเพศเมีย (pistillate flower) เปนดอกที่มีแตเกสรเพศเมีย 2. การจําแนกโดยลักษณะตนพืช แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ ตนพืชที่มีดอกที่เปนเพศผูหรือเพศเมียอยูภายในดอกเดียวกัน หรือตนเดียวกันเรียกวา พืชตางเพศรวมตน (monoecious plant) แตพืชที่มีดอกเพศผูและเพศเมียอยูแยกตนกันเรียกวา พืชตางเพศตางตน (dioecious plant) ดอกเพศผู ดอกเพศเมีย Monoecious Dioecious ดังภาพที่ 1 และภาพที่ 2 3. ตําแหนงของรังไข 1. รังไขที่อยูเหนือฐานรองดอก (superior ovary) เปนรังไขที่อยูเหนือจุดติดของเกสรตัวผู 2. รังไขที่มีฐานรองดอกหุมเอาไวหมด (inferior ovary) เปนรังไขที่อยูต่ํากวาจุดติดของเกสรตัวผู หรือรังไขอยูต่ํากวาสวนอื่นของดอก 3. รังไขที่มีจุดติดของรังไขและเกสรตัวผู บนฐานรองดอกก้ํากึ่งกัน มีสวนของกลีบเลี้ยง กลีบดอก และเกสรตัวผูติดกับฐานรองดอกบริเวณขาง ๆ โดยรอบรังไข และฐานรองดอกเวาลงไปและมีขอบโคงขึ้นเปนรูปถวยอยูรอบ ๆ รังไข ภาพที่ 2 เกสรของดอก ปรับปรุงภาพจาก www.nysaes.cornell.edu ภาพที่ 1 ดอกสมบูรณ ปรับปรุงภาพจาก www.quorumsensing.ifas.ufl.edu หมายเลข 2 คือเกสรตัวเมีย หมายเลข 4 คือเกสรตัวเมีย เกสรตัวผู ดอกสมบูรณเพศ
  • 18. 40 รูปภาพที่ 3 แสดงตําแหนงของรังไข 4. ดอกเดี่ยวและดอกชอ จําแนกชนิดของดอกโดยพิจารณาจากจํานวนดอกบนหนึ่งกาน สามารถแบงออกไดเปนดอกเดี่ยว ดอกชอ และดอกรวม 1. ดอกเดี่ยว ( solitary folwer คือ ดอกไมที่มีดอกอยูเพียงดอกเดียวบนกานชูดอกเพียงกานเดียว เชน ดอกมะเขือ ดอกชบา 2. ดอกชอ ( inflorescence folwer ) คือ ดอกหลาย ๆ ดอกที่อยูบนกานดอกเดียวกัน เชน ดอกผกากรอง ดอกหางนกยูง ดอกชอเปนกลุมของดอกที่อยูบนกานชอดอก ( peduncle ) เดียวกัน เรียกวา ชอดอก ( infolrescenec) แตละดอกในชอดอกนี้เรียกวา ดอกยอย ( floret ) ซึ่งอาจมีกานดอกของตัวเองเรียกวา เพดิเซล ( pedicel ) ชอดอกของพืชแตละชนิดรูปรางลักษณะแตกตางกัน นักพฤกษศาสตรไดจําแนกชอดอกออกเปน 2 พวก ใหญ ๆ คือ 2.1. ชอดอกที่มีดอกชอเกิดตามแกนกลาง ชอดอกนี้เจริญออกไปไดเรื่อย ๆ ทําใหชอดอกยาวขึ้น ดอกที่เกิดกอนอยูดานลางจะบานกอน 2.2. ชอดอกที่ดอกยอยแตกออกจากแกนกลางหรือไมแตกออกจากแกนกลางก็ได ลักษณะที่สําคัญคือ ดอกยอยที่อยูบนสุดจะแกหรือบานกอนดอกยอยอื่น ๆ ที่อยูถัดออกมาดานขาง 3. ดอกรวม (composite flower) เปนดอกชอชนิดหนึ่ง (แบบhead ) ซึ่งจะประกอบดวย ดอกยอยเล็ก ๆ จํานวนมากรวมอยูบนฐานรองดอก มีกานชูดอกอันเดียวกันมองดูคลายดอกเดี่ยว เชน ดอกบานชื่น รังไข ฐานรองดอก รังไขอยูใตฐานรองดอก รังไข ฐานรองดอก นี่ไงตัวอยางดอกเดี่ยว รังไขอยูเหนือฐานรองดอก รังไข ฐานรองดอก
  • 19. 41 ภาพที่ 4 ดอกเดี่ยว ชอกระจุกแนน head ชอดอกที่มีดอกยอยอัดกันแนนบน ฐานรองดอกรูปจานที่แผกวางออก ตรงกลางนูนเล็กนอย เชน ทานตะวัน ดาวเรือง บานไมรูโรย ชอแบบหางกระรอก catkin ชอดอกที่มีลักษณะคลายดอก เชิงลด ชอดอกมีแกนกลางยาว ดอกยอยไมมีกานดอกยอย ตางกันตรงที่ปลายชอดอก หอยลง เชน หางกระรอกแดง ชอเชิงลดมีกาบ spadix ชอดอกแบบเชิงลดที่มีดอกแยกเพศติดอยู บนแกนกลางไมมีกานดอกยอยมีริ้วประดั บแผนใหญเปนกาบหุม เชน หนาวัว บอน ชอเชิงลด spike ชอดอกที่มีแกนกลางยาว ดอกยอยทุกดอกไมมีกาน ดอกยอย เชน กระถินณรงค ภาพที่ 5 ดอกชอ ดอกชบา ดอกมะเขือ มาดูดอกชอในแบบตางๆกันดีกวา
  • 20. 42
  • 21. 43