SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสร้ างคาในภาษาไทย
คา คือ พยางค์ที่มีความหมาย เช่น พ่อ ไป ทํางาน หนังสื อ
คามูล หมายถึง คําคําเดียวที่ไม่ได้ประสมกับคําอื่น ซึ่งคํามูลมีลกษณะดังนี้คือ
ั
๑. มีความหมายสมบูรณ์ในตัว
๒. มีมาแต่เดิมในทุกภาษา
็
๓. อาจมีพยางค์เดียวหรื อหลายพยางค์กได้ เช่น แม่ กรรม ฉัน เหนือ ว้าย ป้ า แดง
ดํา แบตเตอรี่ สับปะรด เป็ นต้น
ข้ อสั งเกตเกียวกับคามูล
่
๑. คํามูลในภาษาไทยมักเป็ นคําพยางค์เดียวสะกดตรงตัวไม่มีคาควบกลํ้าหรื อ
ํ
การันต์
๒. คํามูลหลายพยางค์ เมื่อแยกออกเป็ นแต่ละพยางค์จะไม่มีความหมาย หรื อ
ความหมายไม่เกี่ยวข้องกับคํามูลนั้น ๆ เลย
การสร้ างคาใหม่ ตามแบบภาษาไทย มีอยู่ ๓ แบบ คือ
๑. คําประสม
๒. คําซ้อน
๓. คําซํ้า
คาประสม
คาประสม คือ คําที่เกิดจากการเอาคํามูลที่มีความหมายต่างกันตั้งแต่ ๒ คํา
ขึ้นไปมารวมกันเข้าเป็ นคําเดียว กลายเป็ นคําใหม่ มีความหมายใหม่ แต่ยงมีเค้า
ั
ความหมายเดิมอยู่ เช่น
ลูกเสื อ (นักเรี ยนที่แต่งเครื่ องแบบ)
แสงอาทิตย์ (งูชนิดหนึ่งมีเกล็ดสะท้อนแสงอาทิตย์ได้ซ่ ึ งแปลกกว่างูชนิดอื่น ๆ)
หางเสื อ (ที่บงคับทิศทางเรื อ)
ั
การเกิดคาประสมในภาษาไทย
๑. เกิดจากคาไทยประสมกับคาไทย เช่ น
ไฟ + ฟ้ า
= ไฟฟ้ า
ผัด + เปรี้ ยว + หวาน
= ผัดเปรี้ ยวหวาน
๒. เกิดจากคาไทยประสมกับคาต่ างประเทศ เช่ น
-ไทย + บาลี เช่น
หลัก(ไทย)+ ฐาน ( บาลี ) - หลักฐาน
ราช ( บาลี ) + วัง ( ไทย ) - ราชวัง
-ไทย + สันสฤต เช่น
ทุน ( ไทย ) + ทรัพย์ ( สันสฤต ) - ทุนทรัพย์
ตัก ( ไทย ) + บาตร ( สันสฤต ) - ตักบาตร
-ไทย + เขมร เช่น
นา ( ไทย ) + ดํา ( เขมร = ปลูก ) - นาดํา
นา ( ไทย ) + ปรัง ( เขมร = ฤดูแล้ง ) - นาปรัง
-จีน + ไทย เช่น
หวย ( จีน ) + ใต้ดิน ( ไทย ) - หวยใต้ดิน
ผ้า ( ไทย ) + ผวย ( จีน ) - ผ้าผวย
-ไทย + อังกฤษ เช่น
เหยือก ( อังกฤษ - jug ) + นํ้า ( ไทย ) - เหยือกนํ้า
พวง (ไทย ) + หรี ด ( อังกฤษ - wreath ) - พวงหรี ด
๓. เกิดจากคาต่ างประเทศประสมกับคาต่ างประเทศ เช่ น
บาลี + จีน
- รถ ( บาลี ) + เก๋ ง ( จีน )
- รถเก๋ ง
บาลี + สันสฤต - กิตติ ( บาลี ) + ศัพท์ ( สันสฤต ) กิตติศพท์
ั
ชนิดของคาทีเ่ อามาประสมกัน
๑. คานามประสมกับคานาม เช่น พ่อตา แม่ยาย ลูกน้อง หน้าม้า ลิ้นปี่ คอหอย
หีบเสี ยง กล้วยแขก แม่น้ า
ํ
ราชวัง
๒. คานามประสมกับคากริยา เช่น นักร้อง หมอดูบานพัก เรื อบิน ยาถ่าย รถเข็น
้
ไก่ชน คานหาม นํ้าค้าง คนเดินตลาด
๓. คานามประสมกับคาวิเศษ์ เช่น นํ้าแข็ง หัวใส หัวหอม ใจดี ใจเย็น ม้า
เร็ว นํ้าหวาน ปากเบา ปลาเนื้ออ่อน
๔. คานามประสมกับคาลักษ์นาม เช่น วงแขน วงกบ ดวงหน้า ลูกชิ้น ดวงใจ
เพื่อนฝูง
๕. คานามประสมกับคาสรรพนาม เช่น คุณยาย คุณพระ คุณหลวง
๖. คากริยาประสมกับคากริยา เช่น ตีพิมพ์ เรี ยงพิมพ์ พิมพ์ดีด นอนกิน ฟาดฟัน
กันสาด ตีชิง ห่อหมก เที่ยวขึ้น เที่ยวล่อง
๗. คากริยาประสมกับคาวิเศษ์ เช่น ลงแดง ยินดี ถือดี ยิมหวาน สายหยุด ดู
้
ถูก ผัดเผ็ด ต้มจืด บานเย็น บานเช้า
๘. คาวิเศษ์ประสมกับคาวิเศษ์ เช่น หวานเย็น เขียวหวาน เปรี้ ยวหวาน ดํา
ขํา คมขํา คมคาย
ประโยชนของคาประสม
๑. ทําให้มีคาใช้ในภาษามากขึ้น
ํ
๒. ช่วยย่อความยาวๆ ให้ส้ นเข้า เป็ นความสะดวกทั้งในการพูด และการเขียน
ั
เช่น
นักร้อง
= ผูที่ชานาญในการร้องเพลง
้ ํ
ชาวนา
= ผูที่มีชีวตอยูในผืนนา
้
ิ ่
หมอนวด = ผูที่ชานาญในการนวด
้ ํ
๓. ช่วยให้การใช้คาไทยที่มาจากภาษาต่างประเทศ ประสมกลมกลืนกับคําไทยแท้
ํ
ได้สนิท เช่น
พลเมือง
= พล ( บาลี ) + เมือง ( ไทย )
เสื้ อเชิ้ต
= เสื้ อ ( ไทย ) + เชิ้ต ( อังกฤษ - shirt )
รถเก๋ ง
= รถ ( บาลี ) + เก๋ ง ( จีน )
คาซ้ อน
คำซ้อน คือ คาทีเ่ กิดจากการเอาคามูลทีมความหมายเหมือนกัน หรือ
่ ี
คล้ ายคลึง หรือตรงกันข้ าม เป็ นประเภทเดียวกันตั้งแต่ ๒ คาขึนไป มาเรียงซ้ อน
้
กันเพือให้ ความหมายชัดเจนขึน เช่ น เสื่ อสาด อ้ วนพี ใหญ่ โต
่
้
สาเหตุการเกิดและประโยชนของคาซ้ อน
๑. คาไทย คําเดียวนั้นอาจมีความหมายได้หลายอย่าง หากพูดเพียงคําเดียวอาจทํา
ให้เข้าใจความหมายผิดพลาดได้ จึงต้องซ้อนคําเพื่อบอกความหมายให้ชดเจน เช่น
ั
ตา ( อวัยวะ ) ใช้ซอนกับ นัยน์ เป็ น นัยน์ตา
้
ขับ ( ไล่ )
ใช้ซอน กับ ไล่
้
เป็ น ขับไล่
ขับ ( ร้องเพลง ) ใช้ซอน กับ กล่อม เป็ น ขับกล่อม
้
ขัด ( ทําให้สะอาด) ใช้ซอน กับ ถู
้
เป็ น ขัดถู
ขัด ( ไม่สะดวก ) ใช้ซอน กับ ขวาง
้
เป็ น ขัดขวาง
๒. คาไทยมีคาพ้องเสี ยงมาก ถ้าพูดเพียงคําก็ยากที่จะเข้าใจความหมายได้ จึงต้อง
ใช้คาที่มีความหมายเหมือนกัน หรื อคล้ายคลึงเป็ นประเภทเดียวกันมาซ้อนไว้ เพือ
ํ
่
บอกความหมายให้ชดเจน เช่น
ั
ค่า ใช้ซอนกับ งวด เป็ น ค่างวด
้
ฆ่า ใช้ซอนกับ ฟัน เป็ น ฆ่าฟัน
้
ข้า ใช้ซอนกับ ทาส เป็ น ข้าทาส
้
มัน ใช้ซอนกับ คง เป็ น มันคง
้
่
่
หมั้น ใช้ซอนกับ หมาย เป็ น หมั้นหมาย
้
๓. ภาษาไทยเป็ นภาษามีวรร์ยุกต คําไทยที่มีสระและพยัญชนะเดียวกัน ถ้า
เสี ยงวรรณยุกต์ต่างกันเพียงเล็กน้อย ความหมายของคําก็จะแตกต่างกันไปด้วย ถ้า
ฟั งผิดเพี้ยนไป หรื อฟังไม่ถนัด ก็จะทําให้เข้าใจความหมายผิดพลาดได้ ดั้งนั้น
จึงต้องมีการซ้อนคําขึ้น เพื่อกํากับความหมายให้ชดเจน เช่น
ั
เสื อ ใช้ซอนกับ สาง เป็ น เสื อสาง
้
เสื่ อ ใช้ซอนกับ สาด เป็ น เสื่ อสาด
้
เสื้ อ ใช้ซอนกับ ผ้า เป็ น เสื้ อผ้า
้
คํา ใช้ซอนกับ ถ้อย เป็ น ถ้อยคํา
้
คํ่า ใช้ซอนกับ คืน เป็ น คํ่าคืน
้
คํ้า ใช้ซอนกับ จุน เป็ น คํ้าจุน
้
ขํา ใช้ซอนกับ ขัน เป็ น ขําขัน
้
๔. คาไทยส่ วนมากเป็ นคาพยางคเดียว เวลาพูดอาจฟั งไม่ทน หรื อฟังไม่ถนัด ก็
ั
จะทําให้เข้าใจความหมายผิดพลาดได้
เราจึงซ้อนคําขึ้นเพือบอกความหมายได้
่
ชัดเจน เช่น
ปัด ใช้ซอนกับ กวาด
้
เป็ น ปัดกวาด
ขัด ใช้ซอนกับ ขวาง
้
เป็ น ขัดขวาง
เช็ด ใช้ซอนกับ ถู
้
เป็ น เช็ดถู
อบ ใช้ซอนกับ รม
้
เป็ น อบรม
คับ ใช้ซอนกับ แคบ
้
เป็ น คับแคบ
๕. ภาษาไทยเรามีคาทีมาจากภาษาต่ างประเทศปะปนอยู่มาก ระยะแรกๆ ก็ยงไม่
่
ั
เป็ นที่เข้าใจความหมายของคํากันอย่างแพร่ หลาย
จึงต้องนําคําไทยที่มีความหมาย
เหมือนกัน หรื อคล้ายคลึงเป็ นประเภทเดียวกันมาเรี ยงซ้อนไว้เพื่อขยายความหมาย
ให้ชดเจน เช่น
ั
ทรัพย์ ใช้ซอนกับ สิ น
้
เป็ น ทรัพย์สิน
ซาก
ใช้ซอนกับ ศพ
้
เป็ น ซากศพ
เขียว
ใช้ซอนกับ ขจี
้
เป็ น เขียวขจี
รู ป
ใช้ซอนกับ ร่ าง
้
เป็ น รู ปร่ าง
ลักษ์ะของคาซ้ อนในภาษาไทย
๑. คาไทยกลางซ้ อนกับคาไทยกลาง เช่ น หัวหู แข้งขา เก้อเขิน แก้ไข
ใหญ่โต หน้าตา บ้านเรื อน ดินฟ้ า
เป็ ดไก่ โต้แย้ง ทักท้วง ชุกชุม
๒. คาไทยกลางซ้ อนกับคาไทยถิ่น เช่ น
พัดวี
- วี
ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง
พัด
เสื่ อสาด - สาด
ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง
เสื่ อ
อ้วนพี - พี
ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง
อ้วน
เข็ดหลาบ - หลาบ ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง
เข็ด
เติบโต - เติบ
ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง
โต
อิดโรย - อิด
ภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง
เหนื่อย
ละทิ้ง - ละ
ภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง
ทิ้ง
เก็บหอม - หอม
ภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง
ออม
บาดแผล - บาด
ภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง
แผล
่
่
ยุงยาก - ยาก
ภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง
ยุง
มากหลาย -หลาย
ภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง
มาก
๓. คาไทยกลางซ้ อนกับคาต่ างประเทศ เช่ น
ข้าทาส - ทาส
ภาษาบาลี - สันสฤต
จิตใจ
- จิต
ภาษาบาลี
ทรัพย์สิน - ทรัพย์ ภาษาสันสฤต
โง่เขลา - เขลา
ภาษาเขมร
แบบแปลน - แปลน ภาษาอังกฤษ - plan
๔. คาต่ างประเทศซ้ อนกับคาต่ างประเทศ เช่ น
สรงสนาน
- สรง
ภาษาเขมร
สนาน
ภาษาสันสฤต
ทรัพย์สมบัติ - ทรัพย์ ภาษาสันสฤต
สมบัติ
ภาษาบาลี
เหตุการณ์ - เหตุ , การณ์ ภาษาบาลี
รู ปทรง - รู ป
ภาษาบาลี
ทรง
- ภาษาเขมร
อิทธิฤทธิ์ - อิทธิ ภาษาบาลี
ฤทธิ์
- ภาษาสันสฤต
เลอเลิศ - เลอ , เลิศ ภาษาเขมร
เฉลิมฉลอง - เฉลิม , ฉลอง ภาษาเขมร
๕. คาซ้ อนทีซ้อนกัน ๒ คู่ จะปรากฏในลักษ์ะดังนี้
่
ก. มีสัมผัสทีคู่กลาง เช่น อุปถัมภ์ค้ าชู ล้มหายตายจาก ไฟไหม้ไต้ลน
่
ํ
เจ็บไข้ได้ป่วย ยิมแย้มแจ่มใส เจ็บท้องข้องใจ เก็บหอมรอมริ บ แลบลิ้น
้
ปลิ้นตา ว่านอนสอนง่าย กินเหล้าเมายา ขี้หดตดหาย ขนมนมเนย
ข. มีพยางคหน้ าซ้ากัน เช่น ปากเปี ยกปากแฉะ ชัวครู่ ชวยาม ถึงพริ กถึงขิง
ั่
่
อาบนํ้าอาบท่ากินข้าวกินปลา นํ้าหูน้ าตา เป็ นฟื นเป็ นไฟ คุมดีคุมร้าย
ํ
้ ้
มีชื่อมีเสี ยง มิดีมิร้าย ความคิดความอ่าน หนักอกหนักใจ ไม่มากไม่นอย
้
ลักษ์ะคาซ้ อนดังทีกล่ าวมานี้ จะสั งเกตเห็นว่ า
่
๑. ถ้าคําหน้ามีพยางค์เดียว คําที่นามาซ้อนจะใช้คาพยางค์เดียว ถ้าคําหน้า ๒
ํ
ํ
พยางค์ คําที่นามาซ้อนจะใช้คา ๒ พยางค์ดวย ทั้งนี้เพือการถ่วงดุลทางเสี ยง
ํ
ํ
้
่
๒. คําที่นามาซ้อนกันมักเป็ นคําประเภทเดียวกันทั้งนี้เพราะช่วยขยายความหมายให้
ํ
ชัดเจนขึ้นดังตัวอย่าง
คํานาม
- คํานาม เช่น แข้งขา ม้าลา บ้านเรื อน เรื อดไร
คํากริ ยา
- คํากริ ยา เช่น ดูดดื่ม เหลียวแล ร้องรํา กดขี่
คําวิเศษณ์
- คําวิเศษณ์ เช่น ขมขื่น ซื่อตรง ใหญ่โต เร็วไว
ลักษ์ะของความหมายทีเ่ กิดจากคาซ้ อน
เมื่อนําคํามาซ้อนกันแล้ว จะเกิดความหมายขึ้นในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
๑. ความหมายคงเดิม คือ ความหมายก็ยงคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ซากศพ อ้วนพี
ั
โต้แย้ง สูญหาย
๒.ความหมายกว้ างออก คือ ความหมายจะกว้างกว่าความหมายในคําเดิม เช่น
ตับไตไส้พง หมายถึง อวัยวะภายในอะไรก็ได้ ไม่ได้หมายเฉพาะอวัยวะ
ุ
๔ อย่างนี้เท่านั้น
ไฟไหม้ไต้ลน หมายถึง ร้อนอกร้อนใจ
หมูเห็ดเป็ ดไก่ หมายถึง อาหารหลายชนิด
ถ้วยโถโอชาม หมายถึง ภาชนะที่ใช้ในครัว
กินข้าวกินปลา หมายถึง กินอาหาร
ปู่ ยาตายาย
หมายถึง บรรพบุรุษ
ขนมนมเนย หมายถึง อาหารประเภทของหวาน
๓.ความหมายย้ ายที่ คือ ความหมายจะเป็ นอย่างอื่นซึ่งไม่ตรงกับความหมายของคํา
เดิม เช่น
ขมขื่น
หมายถึง ความรู้สึกเป็ นทุกข์ มิได้หมายถึงรสขมและขื่น
เหลียวแล
หมายถึง การเอาใจใส่ เป็ นธุระ
เดือดร้อน
หมายถึง ความลําบากใจ
เบิกบาน
หมายถึง ความรู้สึกร่ าเริ งแจ่มใส
ดูดดื่ม
หมายถึง ความซาบซึ้ ง
๔.ความหมายอยู่ทคาหน้ า เช่น เป็ นลมเป็ นแล้ง ขันหมากรากพลู ใต้ ถุนรุ นช่อง
ี่
อายุอานาม ความคิดความอ่าน มีชื่อมีเสี ยง ใจคอ ( ไม่ค่อยจะดี )หัว หู ( ยิง
่
เหยิง ) มิดมิร้าย
ี
๕.ความหมายอยู่ทคาหลัง เช่น เสี ยอกเสี ยใจ ดีอกดีใจ ว่านอนสอนง่ าย ตั้ง
ี่
เนื้อตั้งตัว เครื่ องไม้เครื่องมือ หูตา ( มืดมัว )
๖.ความหมายอยู่ทคาต้ นและคาท้ าย เช่น ผลหมากรากไม้ อดตาหลับขับตานอน
ี่
ตกไร้ได้ยาก ติดสอยห้อยตาม เคราะหหามยามร้ าย
๗.ได้ ความหมายทั้งสองคา เช่น ดินฟ้ าอากาศ เอวบางร่ างน้อย ยศถาบรรดาศักดิ์
อํานาจวาสนา บุญญาบารมี
๘.ความหมายของคาคู่หน้ ากับคู่หลังตรงกันข้ าม
เช่น หน้าไหว้หลังหลอก
ปากหวานก้นเปรี้ ยว หน้าเนื้อใจเสื อ หน้าชื่นอกตรม ปากปราศรัยนํ้าใจ
เชือดคอ ไม่มากไม่นอย
้
๙.คา ๆ เดียวกัน เมื่อนําคําต่างกันมาซ้อน จะทําให้ได้ความหมายต่าง ๆ กัน
ออกไป เช่น
แน่น
- แน่นหนา แน่นแฟ้ น
กีด
- กีดกัน
กีดขวาง
หลอก - หลอกลวง หลอกล่อ หลอกหลอน
คม
- คมคาย คมขํา คมสัน
แอบ
- แอบอิง แอบอ้าง แอบแฝง
ขัด
- ขัดสน ขัดข้อง ขัดขืน ขัดขวาง ขัดยอก
“ คาซ้ อนเพือเสี ยง ”
่
ลักษ์ะของคาซ้ อนเพือเสี ยง
่
คําซ้อนเพื่อเสี ยงมีหลายลักษณะดังนี้
๑.คําที่ซอนกันเพื่อไม่ให้เสี ยงคอนกัน ซึ่ งได้แก่ลกษณะดังต่อไปนี้
้
ั
ก.คํา ๒ คําที่ซอนกัน คําแรกมีพยางค์มากกว่าคําหลัง ทําให้เสี ยงคอนกัน
้
จึงเอาพยางค์แรกของคําหน้ามาเติมลงหน้าคําหลังที่มีพยางค์นอยกว่า
้
เพื่อถ่วงดุล
ทางเสี ยงให้เท่ากัน ทําให้ออกเสี ยงได้สะดวกและรื่ นหูข้ ึน เช่น
ขโมยโจร
เป็ น
ขโมยขโจร
จมูกปาก
เป็ น
จมูกจปาก
โกหกไหว้
เป็ น
โกหกโกไหว้
สะกิดเกา
เป็ น
สะกิดสะเกา
พยศเกียรติ
เป็ น
พยศพเกียรติ
ข.คํา ๒ คําซ้อนกัน โดยเฉพาะคําหน้าที่มีตวสะกดในแม่ กก เราออก
ั
เสี ยงตัวสะกดของคําหน้าเหมือนคําสมาสไป เช่น ดุกดิก เป็ นดุกกะดิก ซึ่งทํา
ให้เสี ยงคอนกัน จึงเติมพยางค์ กะ หรื อ กระ ลงข้างหน้าคําหน้า เพื่อถ่วงดุลทาง
เสี ยงให้เท่ากัน ทําให้ออกเสี ยงได้สะดวก เช่น
ดุกดิก
ออกเสี ยงเป็ น ดุกกะดิก เป็ น กระดุกกระดิก
โดกเดก
ออกเสี ยงเป็ น โดกกะเดก เป็ น กระโดกกระเดก
จุกจิก
ออกเสี ยงเป็ น จุกกะจิก เป็ น กระจุกกระจิก
เสื อกสน
ออกเสี ยงเป็ น เสื อกกะสนเป็ น กระเสื อกกระสน
โตกตาก
ออกเสี ยงเป็ น โตกกะตากเป็ น กระโตกกระตาก
ปลกเปลี้ย ออกเสี ยงเป็ น ปลกกะเปลี้ย เป็ น กระปลกกระเปลี้ย
ค.คํา ๒ คําซ้อนกัน คําหน้าไม่มีตวสะกดในแม่ กก แต่เราเติมเสี ยง กะ
ั
หรื อ กระ ลงหน้าคําหน้าและหน้าคําหลัง เพื่อให้ออกเสี ยงได้สะดวกและรู ปคํา
สละสลวยขึ้น เช่น
รุ่ งริ่ ง
เป็ น
กะรุ่ งกะริ่ ง
เร่ อร่ า
เป็ น
กะเล่อกะล่า
ชุ่มชวย
เป็ น
กระชุ่มกระชวย
จุ๋มจิ๋ม
เป็ น
กระจุ๋มกระจิ๋ม
ฉับเฉง
เป็ น
กระฉับกระเฉง
๒.คําซ้อนเพื่อเสี ยงที่เกิดขึ้นเพราะการยืดเสี ยงจากคําพยางค์เดียวออกเป็ น
๒
พยางค์ คําหลังที่เกิดขึ้นใช้พยัญชนะตัวเดียวกันกับคําหน้า ส่ วนสระจะเป็ นสระ
่
อะไรก็ได้แล้วแต่เสี ยงจะหลุดปากออกไป คําหลังนี้อาจจะมีความหมายอยูในภาษาถิ่น
หรื อไม่มีความหมายเลยก็ได้ เช่น
พูด
เป็ น พูดเพิด
แว่น
เป็ น แว่นเวิน
่
กิน
เป็ น กินแก็น
ซื้อ
เป็ น ซื้อเซ้อ ( เซ้อ - ภาษาถิ่นใต้หมายถึงซื้ อ )
กวาด
เป็ น กวาดแกวด ( แกวด - ภาษาถิ่นไทยขาว หมายถึงกวาด )
คาซ้า
คาซ้า คือ คําที่เกิดจากการซํ้าเสี ยงคําเดียวกันตั้งแต่ ๒ หนขึ้นไป เพื่อทําให้
เกิดคําใหม่ได้ความหมายใหม่ เช่น ดํา ๆ หวาน ๆ คอยค้อยคอย
ชนิดของคาไทยทีเ่ อามาซ้ากัน
ในภาษาไทยเราสามารถเอาคําทุกชนิดมาซํ้าได้ ดังนี้
๑.ซํ้าคํานาม
เช่น พี่ ๆ เด็ก ๆ น้อง ๆ
๒.ซํ้าคําสรรพนาม เช่น เขา ๆ เรา ๆ คุณ ๆ
๓.ซํ้าคําวิเศษณ์
เช่น เร็ว ๆ ไว ๆ ช้า ๆ
๔.ซํ้าคํากริ ยา
เช่น นัง ๆ นอน ๆ เดิน ๆ
่
๕.ซํ้าคําบุรพบท
เช่น ใกล้ ๆ ไกล ๆ เหนือ ๆ
๖.ซํ้าคําสันธาน
เช่น ทั้ง ๆ ที่ เหมือน ๆ ราว ๆ กับ
๗.ซํ้าคําอุทาน
เช่น โฮ ๆ กรี๊ ด ๆ อุ๊ย ๆ
ลักษ์ะของการซ้าคาในภาษาไทย
๑.ซํ้าคําเดียวกัน ๒ หน ระดับเสี ยงวรรณยุกต์คงเดิม เช่น เร็ว ๆ หนุ่ม ๆ หนัก
ๆ เบา ๆ
๒.ซํ้าคําเดียวกัน ๒ หน โดยเน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่คาหน้า เช่น ว้าน
ํ
หวาน น้าหนา จ๊นจน อร้อยอร่ อย
๓.ซํ้าคําเดียวกัน ๓ หน โดยเน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่คากลาง เช่น ดีดี๊ดี
ํ
คมค้มคม จืดจื๊ดจืด สวยซ้วยสวย
๔.ซํ้าคําประสม ๒ พยางค์ ๒ หน โดยเน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่พยางค์
หลังของคําหน้า เช่น เจ็บใจ๊เจ็บใจ ดีใจ๊ดีใจ ยินดี๊ยนดี
ิ
๕.ซํ้าคําเดียวกัน ๒ หน ระดับเสี ยงวรรณยุกต์คงเดิมแต่เกิดการกร่ อนเสี ยง
ขึ้นอย่างที่บาลีเรี ยกว่า อัพภาส และสันสฤตเรี ยกว่า อัภยภาส เช่น ลิ่ว ๆ
เป็ น ละลิ่ว ครื น ๆ เป็ น คระครื น ซึ่งโดยมากใช้ในคําประพันธ์
ลักษ์ะความหมายของคาซ้า
๑.บอกความหมายเป็ นพหูพจน มักเป็ นคํานามและสรรพนาม เช่น
เด็ก ๆ กําลังร้องเพลง พี่ ๆ ไปโรงเรี ยน หนุ่ม ๆ กําลังเล่นฟุตบอล
๒.บอกความหมายเป็ นเอกพจน
แยกจํานวนออกเป็ นส่ วน ๆ มักเป็ นคํา
ลักษณะนาม เช่น
ล้างชามให้สะอาดเป็ นใบ ๆ อ่านหนังสื อเป็ นเรื่ อง ๆ ไสกบไม้ให้เป็ นแผ่น ๆ
๓.เน้ นความหมายของคาเดิม มักเป็ นคําวิเศษณ์ เช่น พูดดัง ๆ ฟั งดี ๆ นังนิ่ง ๆ
่
ถ้าต้องการเน้นให้เป็ นจริ งเป็ นจังอย่างมันใจมากขึ้น เราก็เน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่
่
คําหน้า เช่น เสี ยงดั้งดัง พูดดี๊ดี ช่างเงี้ยบเงียบ
๔.ลดความหมายของคาเดิม มักเป็ นคําวิเศษณ์บอกสี เช่น เสื้ อสี แดง ๆ
กางเกงสี ดา ๆ บ้านสี ขาว ๆ
ํ
แต่ถาเน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่คาหน้า
้
ํ
ก็จะเป็ นการเน้นความหมาย
ของคําเดิม เช่น เสื้ อสี แด๊งแดง กางเกงสี ด๊าดํา บ้านสี คาวขาว
ํ
้
๕.บอกความหมายโดยประมา์ทั้งทีเ่ กียวกับเวลาและสถานที่ ดังนี้
่
ก.บอกเวลาโดยประมาณ เช่น สมศรี ชอบเดินเล่นเวลาเย็น ๆ
เขาตื่นเช้า ๆ เสมอ นํ้าค้างจะลงหนักเวลาดึก ๆ
ข.บอกสถานที่โดยประมาณ เช่นมีร้านขายหนังสื อแถว ๆ สี่ แยก
่
รถควํากลาง ๆ สะพาน ต้นประดู่ใหญ่อยูใกล้ ๆ โรงเรี ยน
่
่ ั
๖.บอกความหมายสลับกัน เช่น เขาเดินเข้า ๆ ออก ๆ อยูต้ งนานแล้ว ฉัน
หลับ ๆ ตื่น ๆ ตลอดคืน
สมหมายได้แต่นง ๆ นอน ๆ ทั้งวัน
ั่
๗.บอกความหมายเป็ นสานวน เช่น งู ๆ ปลา ๆ ดี ๆ ชัว ๆ ไป ๆ
่
มา ๆ ถู ๆ ไถๆ
๘.บอกความหมายแสดงการเปรียบเทียบขั้นปกติ ขั้นกว่ า และขั้นสุ ด เช่น
ขั้นปกติ
ขั้นกว่า
ขั้นสุ ด
เชย ๆ
เชย
เช้ยเชย
หลวม ๆ
หลวม
ล้วมหลวม
เบา ๆ
เบา
เบ๊าเบา
การสร้างคําแบบคําประสม คําซ้อน และคําซํ้า นี้เป็ นวิธีการสร้างคําที่เป็ น
ระเบียบวิธีของภาษาไทยของเราเอง
แต่การสร้างคําใหม่ในภาษาไทยไม่ได้มีเพียง
๓ วิธีเท่านั้น เรายังมีวธีการสร้างคําใหม่ๆ ขึ้นใช้ในภาษาไทยด้วยวิธีการอื่นๆ อีก
ิ
คาสมาส
คําสมาสเป็ นวิธีสร้างคําในภาษาบาลีและสันสกฤต โดยนําคําตั้งแต่ ๒ คําขึ้นไปมา
ประกอบกันคล้ายคําประสม แต่คาที่นามาประกอบแบบคําสมาสนั้น นํามาประกอบ
ํ ํ
หน้าศัพท์ การแปล
คําสมาสจึงแปลจากข้างหลังมาข้างหน้า เช่น
บรม (ยิงใหญ่) + ครู
= บรมครู (ครู ผยงใหญ่)
ู ้ ิ่
่
สุ นทร (ไพเราะ) + พจน์ (คําพูด)
= สุ นทรพจน์ (คําพูดที่ไพเราะ)
การนําคํามาสมาสกัน อาจเป็ นคําบาลีสมาสกับบาลี สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต
หรื อบาลี สมาสกับสันสกฤตก็ได้ในบางครั้ง คําประสมที่เกิดจากคําไทยประสมกับคํา
บาลีหรื อคําสันสกฤตบางคํา มีลกษณะคล้ายคําสมาสเพราะแปลจากข้างหลังมา
ั
ข้างหน้า เช่น ราชวัง แปลว่า วังของพระราชา อาจจัดว่าเป็ นคําสมาสได้ ส่ วนคํา
ประสมที่มีความหมายจากข้างหน้าไปข้างหลังและมิได้ทาให้ ความหมาย ผิดแผกแม้
ํ
คํานั้นประสมกับคําบาลีหรื อสันสกฤตก็ถือว่าเป็ นคําประสม เช่น มูลค่า ทรัพย์สิน เป็ น
ต้น
การเรียงคาตามแบบสร้ างของคาสมาส
๑. ถ้าเป็ นคําที่มาจากบาลีและสันสกฤต ให้เรี ยงบทขยายไว้ขางหน้า
้
เช่น อุทกภัย หมายถึง ภัยจากนํ้า
อายุขย หมายถึง สิ้ นอายุ
ั
๒. ถ้าพยางค์ทายของคําหน้าประวิสรรชนีย ์ ให้ตดวิสรรชนียออก เช่น ธุระ
้
ั
์
สมาสกับ กิจ เป็ น ธุรกิจ
พละ สมาสกับ ศึกษา เป็ น พลศึกษา
๓. ถ้าพยางค์ทายของคําหน้ามีตวการันต์ให้ตดการัตน์ออกเมื่อเข้าสมาส
้
ั
ั
เช่น ทัศน์ สมาสกับ ศึกษา เป็ น ทัศนศึกษา
แพทย์ สมาสกับ สมาคม เป็ น แพทยสมาคม
๔. ถ้าคําซํ้าความ โดยคําหนึ่งไขความอีกคําหนึ่ง ไม่มีวธีเรี ยงคําที่แน่นอน
ิ
เช่น นร (คน) สมาสกับ ชน (คน) เป็ น นรชน (คน)
คช (ช้าง) สมาสกับ สาร (ช้าง) เป็ น คชสาร (ช้าง)
การอ่ านคาสมาส
่่
การอ่านคําสมาสมีหลักอยูวา ถ้าพยางค์ทายของคําลงท้ายด้วย สระอะ, อิ, อุ เวลาเข้า
้
สมาสให้อ่านออกเสี ยง อะ อิ อุ นั้นเพียงครึ่ งเสี ยง เช่น
เกษตร สมาสกับ ศาสตร์ เป็ น เกษตรศาสตร์ อ่านว่า กะ-เสด-ตระ-สาด
อุทก สมาสกับ ภัย
เป็ น อุทกภัย
อ่านว่า อุ-ทก-กะ-ไพ
ประวัติ สมาสกับ ศาสตร์ เป็ น ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ-หวัด-ติ-สาด
ภูมิ
สมาสกับ ภาค
เป็ น ภูมิภาค
อ่านว่า พู-มิ-พาก
เมรุ
สมาสกับ มาศ
เป็ น เมรุ มาศ
อ่านว่า เม-รุ -มาด
เชตุ สมาสกับ พน
เป็ น เชตุพน
อ่านว่า เช-ตุ-พน
ข้ อสังเกต
๑. มีคาไทยบางคํา ที่คาแรกมาจากภาษาบาลีสนสกฤต ส่ วนคําหลังเป็ นคําไทย คํา
ํ
ํ
ั
เหล่านี้ ได้แปลความหมายตามกฎเกณฑ์ของคําสมาส แต่อ่านเหมือนกับว่าเป็ น
คําสมาส ทั้งนี้ เป็ นการอ่านตามความนิยม เช่น
เทพเจ้า
อ่านว่า
เทพ-พะ-เจ้า
พลเรื อน
อ่านว่า
พล-ละ-เรื อน
กรมวัง
อ่านว่า
กรม-มะ-วัง
๒. โดยปกติการอ่านคําไทยที่มีมากกว่า ๑ พยางค์ มักอ่านตรงตัว เช่น
บากบัน
อ่านว่า
บาก-บัน
่
่
ลุกลน
อ่านว่า
ลุก-ลน
แต่มีคาไทยบางคําที่เราอ่านออกเสี ยงตัวสะกดด้วย ทั้งที่เป็ นคําไทยมิใช่คาสมาสซึ่ ง
ํ
ํ
ผูเ้ รี ยนจะต้องสังเกต เช่น
ตุ๊กตา
อ่านว่า
ตุ๊ก-กะ-ตา
จักจัน
อ่านว่า
จัก-กะ-จัน
่
่
จักจี้
อ่านว่า
จัก-กะ-จี้
๊
๊
ชักเย่อ
อ่านว่า
ชัก-กะ-เย่อ
สัปหงก
อ่านว่า
สับ-ปะ-หงก
คาสนธิ
การสนธิ คือ การเชื่อมเสี ยงให้กลมกลืนกันตามหลักไวยากรณ์บาลีสนสกฤต เป็ น
ั
การเชื่อม อักษรให้ต่อเนื่องกันเพื่อตัดอักษรให้นอยลง ทําให้คาพูดสละสลวย นําไปใช้
้
ํ
ประโยชน์ในการแต่งคําประพันธ์
คําสนธิ เกิดจากการเชื่อมคําในภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น ถ้าคําที่นามาเชื่อม
ํ
กัน ไม่ใช่ภาษาบาลีสนสกฤต ไม่ถือว่าเป็ นสนธิ เช่น กระยาหาร มาจากคํา กระยา +
ั
่
อาหาร ไม่ใช่สนธิ เพราะ กระยาเป็ นคําไทยและถึงแม้วา คําที่นามารวมกันแต่ไม่ได้
ํ
เชื่อมกัน เป็ นเพียงประสมคําเท่านั้น ก็ไม่ถือว่าสนธิ เช่น
ทิชาชาติ
มาจาก
ทีชา + ชาติ
ทัศนาจร
มาจาก
ทัศนา + จร
วิทยาศาสตร์
มาจาก
วิทยา + ศาสตร์
แบบสร้างของคําสนธิที่ใช้ในภาษาบาลีและสันสกฤต มีอยู่ ๓ ประเภท คือ
๑. สระสนธิ
๒. พยัญชนะสนธิ
๓. นิคหิตสนธิ
สําหรับการสนธิในภาษาไทย ส่ วนมากจะใช้แบบสร้างของสระสนธิ
แบบสร้ างของคาสนธิทใช้ ในภาษาไทย
ี่
๑. สระสนธิ
การสนธิสระทําได้ ๓ วิธี คือ
๑.๑ ตัดสระพยางค์ทาย แล้วใช้สระพยางค์หน้าของคําหลังแทน เช่น
้
ั
มหา
สนธิกบ
อรรณพ
เป็ น มหรรณพ
ั
นร
สนธิกบ
อินทร์
เป็ น นริ นทร์
ั
ปรมะ
สนธิกบ
อินทร์
เป็ น ปรมินทร์
ั
รัตนะ
สนธิกบ
อาภรณ์
เป็ น รัตนาภรณ์
ั
วชิร
สนธิกบ
อาวุธ
เป็ น วชิราวุธ
ั
ฤทธิ
สนธิกบ
อานุภาพ
เป็ น ฤทธานุภาพ
ั
มกร
สนธิกบ
อาคม
เป็ น มกราคม
๑.๒ ตัดสระพยางค์ทายของคําหน้า แล้วใช้สระพยางค์หน้าของคําหลังแต่เปลี่ยน
้
รู ป อะ เป็ น อา อิ เป็ น เอ
อุ เป็ น อู หรื อ โอ ตัวอย่างเช่น
เปลี่ยนรู ป อะ เป็ นอา
ั
เทศ
สนธิกบ
อภิบาล
เป็ น เทศาภิบาล
ั
ราช
สนธิกบ
อธิราช
เป็ น ราชาธิราช
ั
ประชา
สนธิกบ
อธิปไตย
เป็ น ประชาธิปไตย
ั
จุฬา
สนธิกบ
อลงกรณ์
เป็ น จุฬาลงกรณ์
เปลี่ยนรู ป อิ เป็ น เอ
ั
นร
สนธิกบ
อิศวร
เป็ น นเรศวร
ั
ปรม
สนธิกบ
อินทร์
เป็ น ปรเมนทร์
ั
คช
สนธิกบ
อินทร์
เป็ น คเชนทร์
เปลี่ยนรู ป อุ เป็ น อู หรื อ โอ
ั
ราช
สนธิกบ อุปถัมภ์ เป็ น ราชูปถัมภ์
ั
สาธารณะ
สนธิกบ อุปโภค
เป็ น สาธารณูปโภค
ั
วิเทศ
สนธิกบ อุบาย
เป็ น วิเทโศบาย
ั
สุ ข
สนธิกบ อุทย
ั
เป็ น สุ โขทัย
ั
นย
สนธิกบ อุบาย
เป็ น นโยบาย
๑.๓ เปลี่ยนสระพยางค์ทายของคําหน้า อิ อี เป็ น ย
้
อุ อู เป็ น ว แล้วใช้สระ พยางค์หน้าของคําหลังแทน เช่น
เปลี่ยน อิ อี เป็ น ย
ั
มติ
สนธิกบ
อธิบาย
เป็ น มัตยาธิบาย
ั
รังสี
สนธิกบ
โอภาส
เป็ น รังสโยภาส, รังสิ โยภาส
ั
สามัคคี
สนธิกบ
อาจารย์ เป็ น สามัคยาจารย์
เปลี่ยน อุ อู เป็ น ว
ั
สิ นธุ
สนธิกบ
อานนท์ เป็ น
สิ นธวานนท์
ั
จักษุ
สนธิกบ
อาพาธ
เป็ น
จักษวาพาธ
ั
ธนู
สนธิกบ
อาคม
เป็ น
ธันวาคม
๒. พยัญชนะสนธิ
ั
พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีนอย คือเมื่อนําคํา ๒ คํามาสนธิกน ถ้าหากว่า
้
พยัญชนะ ตัวสุ ดท้าย ของคําหน้ากับพยัญชนะตัวหน้าของคําหลังเหมือนกัน ให้ตด
ั
พยัญชนะที่เหมือนกัน ออกเสี ยตัวหนึ่ง เช่น
ั
เทพ สนธิกบ พนม
เป็ น
เทพนม
ั
นิวาส สนธิกบ สถาน
เป็ น
นิวาสถาน
๓. นิคหิตสนธิ
นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใช้วธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ให้
ิ
่
สังเกตพยัญชนะตัวแรกของคําหลังว่าอยูในวรรคใด แล้วแปลงนิคหิตเป็ นพยัญชนะตัว
สุ ดท้ายของวรรคนั้น
เช่น
ั
สํ
สนธิกบ
กรานต
เป็ น
สงกรานต์
(ก เป็ นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุ ดท้ายของวรรคกะ คือ ง)
ั
สํ
สนธิกบ
คม
เป็ น
สังคม
(ค เป็ นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุ ดท้ายของวรรคกะ คือ ง)
ั
สํ
สนธิกบ
ฐาน
เป็ น
สัณฐาน
(ฐ เป็ นพยัญชนะวรรค ตะ พยัญชนะตัวสุ ดท้ายของวรรคกะ คือ ณ)
ั
สํ
สนธิกบ
ปทาน
เป็ น
สัมปทาน
(ป เป็ นพยัญชนะวรรค ปะ พยัญชนะตัวสุ ดท้ายของวรรคกะ คือ ม)
ถ้าพยัญชนะตัวแรกของคําหลังเป็ นเศษวรรค ให้คงนิคหิต (_ํํ ) ตามรู ปเดิม อ่าน
ออกเสี ยง อัง หรื อ อัน เช่น
ั
สํ
สนธิกบ
วร
เป็ น
สังวร
ั
สํ
สนธิกบ
หรณ์
เป็ น
สังหรณ์
ั
สํ
สนธิกบ
โยค
เป็ น
สังโยค
ั
ถ้า สํ สนธิกบคําที่ข้ ึนต้นด้วยสระ จะเปลี่ยนนิคหิ ตเป็ น ม เสมอ เช่น
ั
สํ
สนธิกบ
อิทธิ
เป็ น
สมิทธิ
ั
สํ
สนธิกบ
อาคม
เป็ น
สมาคม
ั
สํ
สนธิกบ
อาส
เป็ น
สมาส
ั
สํ
สนธิกบ
อุทย
ั
เป็ น
สมุทย
ั
คาแผลง
คําแผลง คือ คําที่สร้างขึ้นใช้ในภาษาไทยอีกวิธีหนึ่ง โดยเปลี่ยนแปลงอักษรที่
่
ประสมอยูในคําไทยหรื อคําที่มาจากภาษาอื่นให้ผดไปจากเดิม ด้วยวิธีตด เติม หรื อ
ิ
ั
เปลี่ยนรู ป แต่ยงคงรักษาความหมายเดิมหรื อเค้าความเดิมอยู่
ั
แบบสร้ างของการแผลงคา
การแผลงคําทําได้ ๓ วิธี คือ
๑. การแผลงสระ
๒. การแผลงพยัญชนะ
๓. การแผลงวรรณยุกต์
๑. การแผลงสระ เป็ นการเปลี่ยนรู ปสระของคํานั้น ๆ ให้เป็ นสระรู ปอื่น
ตัวอย่ าง
คาเดิม
คาแผลง
คาเดิม
คาแผลง
ชยะ
ชัย
สายดือ
สะดือ
โอชะ
โอชา
สุ ริยะ
สุ รีย ์
วชิระ
วิเชียร
ดิรัจฉาน
เดรัจฉาน
พัชร
เพชร
พิจิตร
ไพจิตร
คะนึง
คํานึง
พีช
พืช
ครหะ
เคราะห์
กีรติ
เกียรติ
ชวนะ
เชาวน์
สุ คนธ์
สุ วคนธ์
สรเสริ ญ
สรรเสริ ญ
ยุวชน
เยาวชน
ทูรเลข
โทรเลข
สุ ภา
สุ วภา
๒. การแผลงพยัญชนะ
การแผลงพยัญชนะก็เช่นเดียวกับการแผลงสระ คือ ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวเกิดจาก
ความเจริ ญของภาษา การแผลงพยัญชนะเป็ นการเปลี่ยนรู ปพยัญชนะตัวหนึ่งให้เป็ น
อีกตัวหนึ่ง หรื อเพิ่มพยัญชนะลงไปให้เสี ยงผิดจากเดิม หรื อมีพยางค์มากกว่าเดิม หรื อ
ตัดรู ปพยัญชนะ การศึกษาที่มาของถ้อยคําเหล่านี้จะช่วยให้เข้าใจความหมายของคําได้
ถูกต้อง
ตัวอย่ าง
คาเดิม
คาแผลง
คาเดิม
คาแผลง
กราบ
กําราบ
บวช
ผนวช
เกิด
กําเนิด
ผทม
ประทม, บรรทม
ขจาย
กําจาย
เรี ยบ
ระเบียบ
แข็ง
กําแหง, คําแหง
แสดง
สําแดง
คูณ
ควณ, คํานวณ, คํานูณ
พรั่ง
สะพรั่ง
เจียร
จําเนียร
รวยรวย
ระรวย
เจาะ
จําเพาะ, เฉพาะ
เชิญ
อัญเชิญ
เฉี ยง
เฉลียง, เฉวียง
เพ็ญ
บําเพ็ญ
ช่วย
ชําร่ วย
ดาล
บันดาล
ตรับ
ตํารับ
อัญชลี
ชลี, ชุลี
ถก
ถลก
อุบาสิ กา
สี กา
๓. การแผลงวรร์ยุกต
การแผลงวรรณยุกต์เป็ นการเปลี่ยนแปลงรู ป หรื อเปลี่ยนเสี ยงวรรณยุกต์ เพื่อให้
เสี ยงหรื อรู ปวรรณยุกต์ผดไปจากเดิม
ิ
ตัวอย่ าง
คาเดิม
คาแผลง
คาเดิม
คาแผลง
เพียง
เพี้ยง
พุทโธ
พุทโธ่
เสนหะ
เสน่ห์
บ
บ่
สรุป
๑. แบบสร้างของคํา คือ วิธีการนําอักษรมาผสมคํา และมีความหมายที่สมบูรณ์ คํา
ชนิดต่าง ๆ เหล่านี้มีชื่อเรี ยกตามลักษณะแบบสร้างของคํา เช่น คํามูล คําประสม
คําสมาส คําสนธิ
แบบสร้างของคํามูลและคําประสม คือ วิธีการสร้างคํา ซึ่งส่ วนใหญ่เป็ น
ลักษณะเฉพาะ ของภาษาไทย แบบสร้างของคํามูลอาจมีพยางค์เดียวเป็ นคําโดด หรื อมี
็
หลายพยางค์กได้แต่คามูลนั้นเมื่อแยกพยางค์ แล้วแต่ละพยางค์ ไม่ได้ความหมาย
ํ
ครบถ้วน ต้องนําพยางค์ เหล่านั้นมารวมกัน จึงจะเกิดเป็ นคําและมีความหมาย ส่ วนคํา
ประสม คือคําที่เกิดจาก การนําคํามูลมาประสมกันเพื่อสร้างคําใหม่ข้ ึนมา
๒. คําสมาสมีลกษณะดังนี้
ั
(๑) ต้องเป็ นคําที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต
(๒) พยางค์ สุ ดท้ายของคํานําหน้าประวิสรรชนียหรื อตัวการันต์ไม่ได้
์
(๓) เรี ยงต้นศัพท์ไว้หลัง ศัพท์ประกอบไว้หน้าเมื่อแปลความหมายให้แปลจากหลังไป
หน้า
(๔) ส่ วนมากออกเสี ยงสระ ตรงพยางค์สุดท้ายของคําหน้า ซึ่ งจะมีคายกเว้นไม่กี่คา
ํ
ํ
เช่น ชลบุรี สุ พรรณบุรี ฯลฯ
๓. แบบสร้างของคําสนธิ มีดงนี้
ั
(๑) ต้องเป็ นคําที่มาจากบาลี สันสกฤต
(๒) มีการ เปลี่ยนแปลงระหว่างคําที่เชื่อม
(๓) พยางค์ตนของคําหลังต้องขึ้นต้นด้วยสระ หรื อ ตัว อ
้
๔. คําแผลงคําที่สร้างขึ้นใช้ในภาษาไทยวิธีหนึ่ง โดยเปลี่ยนแปลงอักษรที่ประสม
่
อยูในคําเดิมให้ผดไปจากเดิม ด้วยวิธีตดเติมหรื อเปลี่ยนรู ป แต่ยงรักษาความหมายเดิม
ิ
ั
ั
หรื อเค้าความเดิมอยู่
แบบสร้างคําแผลงมี ๓ วิธี คือ
(๑) การแผลงสระ เช่น คติ แผลงเป็ น คดี และนูน แผลงเป็ น โน้น
้
(๒) การแผลงพยัญชนะ เช่น กด แผลงเป็ น กําหนด อวย แผลงเป็ น อํานวย
(๓) การแผลงวรรณยุกต์ เช่น โน่น แผลงเป็ น โน้น นี่ แผลงเป็ น นี้ เป็ นต้น
๕. คําซํ้า คือ การสร้างคําด้วยการนําคําที่มีเสี ยง และความหมายเหมือนกันมาซํ้ากัน
เพื่อเปลี่ยนความหมายของคํานั้นให้แตกต่างไปหลายลักษณะ
๖. คําซ้อน คือ คําประสมชนิดหนึ่งที่เกิดจากการนําเอาคําตั้งแต่สองคําขึ้นไป ซึ่ งมี
เสี ยง ต่างกัน แต่มีความหมายเหมือนกันหรื อคล้ายคลึงกันหรื อเป็ นไปในทํานอง
ั
เดียวกัน มาซ้อนคู่กน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 

Was ist angesagt? (20)

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 

Ähnlich wie การสร้างคำในภาษาไทย

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพAnan Pakhing
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพThanit Lawyer
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)Thanit Lawyer
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 

Ähnlich wie การสร้างคำในภาษาไทย (20)

การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (1)
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 

Mehr von ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

Mehr von ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (20)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 

การสร้างคำในภาษาไทย

  • 1. การสร้ างคาในภาษาไทย คา คือ พยางค์ที่มีความหมาย เช่น พ่อ ไป ทํางาน หนังสื อ คามูล หมายถึง คําคําเดียวที่ไม่ได้ประสมกับคําอื่น ซึ่งคํามูลมีลกษณะดังนี้คือ ั ๑. มีความหมายสมบูรณ์ในตัว ๒. มีมาแต่เดิมในทุกภาษา ็ ๓. อาจมีพยางค์เดียวหรื อหลายพยางค์กได้ เช่น แม่ กรรม ฉัน เหนือ ว้าย ป้ า แดง ดํา แบตเตอรี่ สับปะรด เป็ นต้น ข้ อสั งเกตเกียวกับคามูล ่ ๑. คํามูลในภาษาไทยมักเป็ นคําพยางค์เดียวสะกดตรงตัวไม่มีคาควบกลํ้าหรื อ ํ การันต์ ๒. คํามูลหลายพยางค์ เมื่อแยกออกเป็ นแต่ละพยางค์จะไม่มีความหมาย หรื อ ความหมายไม่เกี่ยวข้องกับคํามูลนั้น ๆ เลย การสร้ างคาใหม่ ตามแบบภาษาไทย มีอยู่ ๓ แบบ คือ ๑. คําประสม ๒. คําซ้อน ๓. คําซํ้า คาประสม คาประสม คือ คําที่เกิดจากการเอาคํามูลที่มีความหมายต่างกันตั้งแต่ ๒ คํา ขึ้นไปมารวมกันเข้าเป็ นคําเดียว กลายเป็ นคําใหม่ มีความหมายใหม่ แต่ยงมีเค้า ั ความหมายเดิมอยู่ เช่น ลูกเสื อ (นักเรี ยนที่แต่งเครื่ องแบบ) แสงอาทิตย์ (งูชนิดหนึ่งมีเกล็ดสะท้อนแสงอาทิตย์ได้ซ่ ึ งแปลกกว่างูชนิดอื่น ๆ) หางเสื อ (ที่บงคับทิศทางเรื อ) ั
  • 2. การเกิดคาประสมในภาษาไทย ๑. เกิดจากคาไทยประสมกับคาไทย เช่ น ไฟ + ฟ้ า = ไฟฟ้ า ผัด + เปรี้ ยว + หวาน = ผัดเปรี้ ยวหวาน ๒. เกิดจากคาไทยประสมกับคาต่ างประเทศ เช่ น -ไทย + บาลี เช่น หลัก(ไทย)+ ฐาน ( บาลี ) - หลักฐาน ราช ( บาลี ) + วัง ( ไทย ) - ราชวัง -ไทย + สันสฤต เช่น ทุน ( ไทย ) + ทรัพย์ ( สันสฤต ) - ทุนทรัพย์ ตัก ( ไทย ) + บาตร ( สันสฤต ) - ตักบาตร -ไทย + เขมร เช่น นา ( ไทย ) + ดํา ( เขมร = ปลูก ) - นาดํา นา ( ไทย ) + ปรัง ( เขมร = ฤดูแล้ง ) - นาปรัง -จีน + ไทย เช่น หวย ( จีน ) + ใต้ดิน ( ไทย ) - หวยใต้ดิน ผ้า ( ไทย ) + ผวย ( จีน ) - ผ้าผวย -ไทย + อังกฤษ เช่น เหยือก ( อังกฤษ - jug ) + นํ้า ( ไทย ) - เหยือกนํ้า พวง (ไทย ) + หรี ด ( อังกฤษ - wreath ) - พวงหรี ด ๓. เกิดจากคาต่ างประเทศประสมกับคาต่ างประเทศ เช่ น บาลี + จีน - รถ ( บาลี ) + เก๋ ง ( จีน ) - รถเก๋ ง
  • 3. บาลี + สันสฤต - กิตติ ( บาลี ) + ศัพท์ ( สันสฤต ) กิตติศพท์ ั ชนิดของคาทีเ่ อามาประสมกัน ๑. คานามประสมกับคานาม เช่น พ่อตา แม่ยาย ลูกน้อง หน้าม้า ลิ้นปี่ คอหอย หีบเสี ยง กล้วยแขก แม่น้ า ํ ราชวัง ๒. คานามประสมกับคากริยา เช่น นักร้อง หมอดูบานพัก เรื อบิน ยาถ่าย รถเข็น ้ ไก่ชน คานหาม นํ้าค้าง คนเดินตลาด ๓. คานามประสมกับคาวิเศษ์ เช่น นํ้าแข็ง หัวใส หัวหอม ใจดี ใจเย็น ม้า เร็ว นํ้าหวาน ปากเบา ปลาเนื้ออ่อน ๔. คานามประสมกับคาลักษ์นาม เช่น วงแขน วงกบ ดวงหน้า ลูกชิ้น ดวงใจ เพื่อนฝูง ๕. คานามประสมกับคาสรรพนาม เช่น คุณยาย คุณพระ คุณหลวง ๖. คากริยาประสมกับคากริยา เช่น ตีพิมพ์ เรี ยงพิมพ์ พิมพ์ดีด นอนกิน ฟาดฟัน กันสาด ตีชิง ห่อหมก เที่ยวขึ้น เที่ยวล่อง ๗. คากริยาประสมกับคาวิเศษ์ เช่น ลงแดง ยินดี ถือดี ยิมหวาน สายหยุด ดู ้ ถูก ผัดเผ็ด ต้มจืด บานเย็น บานเช้า ๘. คาวิเศษ์ประสมกับคาวิเศษ์ เช่น หวานเย็น เขียวหวาน เปรี้ ยวหวาน ดํา ขํา คมขํา คมคาย ประโยชนของคาประสม ๑. ทําให้มีคาใช้ในภาษามากขึ้น ํ ๒. ช่วยย่อความยาวๆ ให้ส้ นเข้า เป็ นความสะดวกทั้งในการพูด และการเขียน ั เช่น นักร้อง = ผูที่ชานาญในการร้องเพลง ้ ํ
  • 4. ชาวนา = ผูที่มีชีวตอยูในผืนนา ้ ิ ่ หมอนวด = ผูที่ชานาญในการนวด ้ ํ ๓. ช่วยให้การใช้คาไทยที่มาจากภาษาต่างประเทศ ประสมกลมกลืนกับคําไทยแท้ ํ ได้สนิท เช่น พลเมือง = พล ( บาลี ) + เมือง ( ไทย ) เสื้ อเชิ้ต = เสื้ อ ( ไทย ) + เชิ้ต ( อังกฤษ - shirt ) รถเก๋ ง = รถ ( บาลี ) + เก๋ ง ( จีน ) คาซ้ อน คำซ้อน คือ คาทีเ่ กิดจากการเอาคามูลทีมความหมายเหมือนกัน หรือ ่ ี คล้ ายคลึง หรือตรงกันข้ าม เป็ นประเภทเดียวกันตั้งแต่ ๒ คาขึนไป มาเรียงซ้ อน ้ กันเพือให้ ความหมายชัดเจนขึน เช่ น เสื่ อสาด อ้ วนพี ใหญ่ โต ่ ้ สาเหตุการเกิดและประโยชนของคาซ้ อน ๑. คาไทย คําเดียวนั้นอาจมีความหมายได้หลายอย่าง หากพูดเพียงคําเดียวอาจทํา ให้เข้าใจความหมายผิดพลาดได้ จึงต้องซ้อนคําเพื่อบอกความหมายให้ชดเจน เช่น ั ตา ( อวัยวะ ) ใช้ซอนกับ นัยน์ เป็ น นัยน์ตา ้ ขับ ( ไล่ ) ใช้ซอน กับ ไล่ ้ เป็ น ขับไล่ ขับ ( ร้องเพลง ) ใช้ซอน กับ กล่อม เป็ น ขับกล่อม ้ ขัด ( ทําให้สะอาด) ใช้ซอน กับ ถู ้ เป็ น ขัดถู ขัด ( ไม่สะดวก ) ใช้ซอน กับ ขวาง ้ เป็ น ขัดขวาง ๒. คาไทยมีคาพ้องเสี ยงมาก ถ้าพูดเพียงคําก็ยากที่จะเข้าใจความหมายได้ จึงต้อง ใช้คาที่มีความหมายเหมือนกัน หรื อคล้ายคลึงเป็ นประเภทเดียวกันมาซ้อนไว้ เพือ ํ ่ บอกความหมายให้ชดเจน เช่น ั ค่า ใช้ซอนกับ งวด เป็ น ค่างวด ้
  • 5. ฆ่า ใช้ซอนกับ ฟัน เป็ น ฆ่าฟัน ้ ข้า ใช้ซอนกับ ทาส เป็ น ข้าทาส ้ มัน ใช้ซอนกับ คง เป็ น มันคง ้ ่ ่ หมั้น ใช้ซอนกับ หมาย เป็ น หมั้นหมาย ้ ๓. ภาษาไทยเป็ นภาษามีวรร์ยุกต คําไทยที่มีสระและพยัญชนะเดียวกัน ถ้า เสี ยงวรรณยุกต์ต่างกันเพียงเล็กน้อย ความหมายของคําก็จะแตกต่างกันไปด้วย ถ้า ฟั งผิดเพี้ยนไป หรื อฟังไม่ถนัด ก็จะทําให้เข้าใจความหมายผิดพลาดได้ ดั้งนั้น จึงต้องมีการซ้อนคําขึ้น เพื่อกํากับความหมายให้ชดเจน เช่น ั เสื อ ใช้ซอนกับ สาง เป็ น เสื อสาง ้ เสื่ อ ใช้ซอนกับ สาด เป็ น เสื่ อสาด ้ เสื้ อ ใช้ซอนกับ ผ้า เป็ น เสื้ อผ้า ้ คํา ใช้ซอนกับ ถ้อย เป็ น ถ้อยคํา ้ คํ่า ใช้ซอนกับ คืน เป็ น คํ่าคืน ้ คํ้า ใช้ซอนกับ จุน เป็ น คํ้าจุน ้ ขํา ใช้ซอนกับ ขัน เป็ น ขําขัน ้ ๔. คาไทยส่ วนมากเป็ นคาพยางคเดียว เวลาพูดอาจฟั งไม่ทน หรื อฟังไม่ถนัด ก็ ั จะทําให้เข้าใจความหมายผิดพลาดได้ เราจึงซ้อนคําขึ้นเพือบอกความหมายได้ ่ ชัดเจน เช่น ปัด ใช้ซอนกับ กวาด ้ เป็ น ปัดกวาด ขัด ใช้ซอนกับ ขวาง ้ เป็ น ขัดขวาง เช็ด ใช้ซอนกับ ถู ้ เป็ น เช็ดถู อบ ใช้ซอนกับ รม ้ เป็ น อบรม คับ ใช้ซอนกับ แคบ ้ เป็ น คับแคบ
  • 6. ๕. ภาษาไทยเรามีคาทีมาจากภาษาต่ างประเทศปะปนอยู่มาก ระยะแรกๆ ก็ยงไม่ ่ ั เป็ นที่เข้าใจความหมายของคํากันอย่างแพร่ หลาย จึงต้องนําคําไทยที่มีความหมาย เหมือนกัน หรื อคล้ายคลึงเป็ นประเภทเดียวกันมาเรี ยงซ้อนไว้เพื่อขยายความหมาย ให้ชดเจน เช่น ั ทรัพย์ ใช้ซอนกับ สิ น ้ เป็ น ทรัพย์สิน ซาก ใช้ซอนกับ ศพ ้ เป็ น ซากศพ เขียว ใช้ซอนกับ ขจี ้ เป็ น เขียวขจี รู ป ใช้ซอนกับ ร่ าง ้ เป็ น รู ปร่ าง ลักษ์ะของคาซ้ อนในภาษาไทย ๑. คาไทยกลางซ้ อนกับคาไทยกลาง เช่ น หัวหู แข้งขา เก้อเขิน แก้ไข ใหญ่โต หน้าตา บ้านเรื อน ดินฟ้ า เป็ ดไก่ โต้แย้ง ทักท้วง ชุกชุม ๒. คาไทยกลางซ้ อนกับคาไทยถิ่น เช่ น พัดวี - วี ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง พัด เสื่ อสาด - สาด ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง เสื่ อ อ้วนพี - พี ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง อ้วน เข็ดหลาบ - หลาบ ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง เข็ด เติบโต - เติบ ภาษาถิ่นใต้ หมายถึง โต อิดโรย - อิด ภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง เหนื่อย ละทิ้ง - ละ ภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง ทิ้ง เก็บหอม - หอม ภาษาถิ่นเหนือ หมายถึง ออม บาดแผล - บาด ภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง แผล ่ ่ ยุงยาก - ยาก ภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง ยุง
  • 7. มากหลาย -หลาย ภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง มาก ๓. คาไทยกลางซ้ อนกับคาต่ างประเทศ เช่ น ข้าทาส - ทาส ภาษาบาลี - สันสฤต จิตใจ - จิต ภาษาบาลี ทรัพย์สิน - ทรัพย์ ภาษาสันสฤต โง่เขลา - เขลา ภาษาเขมร แบบแปลน - แปลน ภาษาอังกฤษ - plan ๔. คาต่ างประเทศซ้ อนกับคาต่ างประเทศ เช่ น สรงสนาน - สรง ภาษาเขมร สนาน ภาษาสันสฤต ทรัพย์สมบัติ - ทรัพย์ ภาษาสันสฤต สมบัติ ภาษาบาลี เหตุการณ์ - เหตุ , การณ์ ภาษาบาลี รู ปทรง - รู ป ภาษาบาลี ทรง - ภาษาเขมร อิทธิฤทธิ์ - อิทธิ ภาษาบาลี ฤทธิ์ - ภาษาสันสฤต เลอเลิศ - เลอ , เลิศ ภาษาเขมร เฉลิมฉลอง - เฉลิม , ฉลอง ภาษาเขมร ๕. คาซ้ อนทีซ้อนกัน ๒ คู่ จะปรากฏในลักษ์ะดังนี้ ่ ก. มีสัมผัสทีคู่กลาง เช่น อุปถัมภ์ค้ าชู ล้มหายตายจาก ไฟไหม้ไต้ลน ่ ํ เจ็บไข้ได้ป่วย ยิมแย้มแจ่มใส เจ็บท้องข้องใจ เก็บหอมรอมริ บ แลบลิ้น ้ ปลิ้นตา ว่านอนสอนง่าย กินเหล้าเมายา ขี้หดตดหาย ขนมนมเนย
  • 8. ข. มีพยางคหน้ าซ้ากัน เช่น ปากเปี ยกปากแฉะ ชัวครู่ ชวยาม ถึงพริ กถึงขิง ั่ ่ อาบนํ้าอาบท่ากินข้าวกินปลา นํ้าหูน้ าตา เป็ นฟื นเป็ นไฟ คุมดีคุมร้าย ํ ้ ้ มีชื่อมีเสี ยง มิดีมิร้าย ความคิดความอ่าน หนักอกหนักใจ ไม่มากไม่นอย ้ ลักษ์ะคาซ้ อนดังทีกล่ าวมานี้ จะสั งเกตเห็นว่ า ่ ๑. ถ้าคําหน้ามีพยางค์เดียว คําที่นามาซ้อนจะใช้คาพยางค์เดียว ถ้าคําหน้า ๒ ํ ํ พยางค์ คําที่นามาซ้อนจะใช้คา ๒ พยางค์ดวย ทั้งนี้เพือการถ่วงดุลทางเสี ยง ํ ํ ้ ่ ๒. คําที่นามาซ้อนกันมักเป็ นคําประเภทเดียวกันทั้งนี้เพราะช่วยขยายความหมายให้ ํ ชัดเจนขึ้นดังตัวอย่าง คํานาม - คํานาม เช่น แข้งขา ม้าลา บ้านเรื อน เรื อดไร คํากริ ยา - คํากริ ยา เช่น ดูดดื่ม เหลียวแล ร้องรํา กดขี่ คําวิเศษณ์ - คําวิเศษณ์ เช่น ขมขื่น ซื่อตรง ใหญ่โต เร็วไว ลักษ์ะของความหมายทีเ่ กิดจากคาซ้ อน เมื่อนําคํามาซ้อนกันแล้ว จะเกิดความหมายขึ้นในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ความหมายคงเดิม คือ ความหมายก็ยงคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ซากศพ อ้วนพี ั โต้แย้ง สูญหาย ๒.ความหมายกว้ างออก คือ ความหมายจะกว้างกว่าความหมายในคําเดิม เช่น ตับไตไส้พง หมายถึง อวัยวะภายในอะไรก็ได้ ไม่ได้หมายเฉพาะอวัยวะ ุ ๔ อย่างนี้เท่านั้น ไฟไหม้ไต้ลน หมายถึง ร้อนอกร้อนใจ หมูเห็ดเป็ ดไก่ หมายถึง อาหารหลายชนิด ถ้วยโถโอชาม หมายถึง ภาชนะที่ใช้ในครัว กินข้าวกินปลา หมายถึง กินอาหาร ปู่ ยาตายาย หมายถึง บรรพบุรุษ
  • 9. ขนมนมเนย หมายถึง อาหารประเภทของหวาน ๓.ความหมายย้ ายที่ คือ ความหมายจะเป็ นอย่างอื่นซึ่งไม่ตรงกับความหมายของคํา เดิม เช่น ขมขื่น หมายถึง ความรู้สึกเป็ นทุกข์ มิได้หมายถึงรสขมและขื่น เหลียวแล หมายถึง การเอาใจใส่ เป็ นธุระ เดือดร้อน หมายถึง ความลําบากใจ เบิกบาน หมายถึง ความรู้สึกร่ าเริ งแจ่มใส ดูดดื่ม หมายถึง ความซาบซึ้ ง ๔.ความหมายอยู่ทคาหน้ า เช่น เป็ นลมเป็ นแล้ง ขันหมากรากพลู ใต้ ถุนรุ นช่อง ี่ อายุอานาม ความคิดความอ่าน มีชื่อมีเสี ยง ใจคอ ( ไม่ค่อยจะดี )หัว หู ( ยิง ่ เหยิง ) มิดมิร้าย ี ๕.ความหมายอยู่ทคาหลัง เช่น เสี ยอกเสี ยใจ ดีอกดีใจ ว่านอนสอนง่ าย ตั้ง ี่ เนื้อตั้งตัว เครื่ องไม้เครื่องมือ หูตา ( มืดมัว ) ๖.ความหมายอยู่ทคาต้ นและคาท้ าย เช่น ผลหมากรากไม้ อดตาหลับขับตานอน ี่ ตกไร้ได้ยาก ติดสอยห้อยตาม เคราะหหามยามร้ าย ๗.ได้ ความหมายทั้งสองคา เช่น ดินฟ้ าอากาศ เอวบางร่ างน้อย ยศถาบรรดาศักดิ์ อํานาจวาสนา บุญญาบารมี ๘.ความหมายของคาคู่หน้ ากับคู่หลังตรงกันข้ าม เช่น หน้าไหว้หลังหลอก ปากหวานก้นเปรี้ ยว หน้าเนื้อใจเสื อ หน้าชื่นอกตรม ปากปราศรัยนํ้าใจ เชือดคอ ไม่มากไม่นอย ้ ๙.คา ๆ เดียวกัน เมื่อนําคําต่างกันมาซ้อน จะทําให้ได้ความหมายต่าง ๆ กัน ออกไป เช่น แน่น - แน่นหนา แน่นแฟ้ น
  • 10. กีด - กีดกัน กีดขวาง หลอก - หลอกลวง หลอกล่อ หลอกหลอน คม - คมคาย คมขํา คมสัน แอบ - แอบอิง แอบอ้าง แอบแฝง ขัด - ขัดสน ขัดข้อง ขัดขืน ขัดขวาง ขัดยอก “ คาซ้ อนเพือเสี ยง ” ่ ลักษ์ะของคาซ้ อนเพือเสี ยง ่ คําซ้อนเพื่อเสี ยงมีหลายลักษณะดังนี้ ๑.คําที่ซอนกันเพื่อไม่ให้เสี ยงคอนกัน ซึ่ งได้แก่ลกษณะดังต่อไปนี้ ้ ั ก.คํา ๒ คําที่ซอนกัน คําแรกมีพยางค์มากกว่าคําหลัง ทําให้เสี ยงคอนกัน ้ จึงเอาพยางค์แรกของคําหน้ามาเติมลงหน้าคําหลังที่มีพยางค์นอยกว่า ้ เพื่อถ่วงดุล ทางเสี ยงให้เท่ากัน ทําให้ออกเสี ยงได้สะดวกและรื่ นหูข้ ึน เช่น ขโมยโจร เป็ น ขโมยขโจร จมูกปาก เป็ น จมูกจปาก โกหกไหว้ เป็ น โกหกโกไหว้ สะกิดเกา เป็ น สะกิดสะเกา พยศเกียรติ เป็ น พยศพเกียรติ ข.คํา ๒ คําซ้อนกัน โดยเฉพาะคําหน้าที่มีตวสะกดในแม่ กก เราออก ั เสี ยงตัวสะกดของคําหน้าเหมือนคําสมาสไป เช่น ดุกดิก เป็ นดุกกะดิก ซึ่งทํา ให้เสี ยงคอนกัน จึงเติมพยางค์ กะ หรื อ กระ ลงข้างหน้าคําหน้า เพื่อถ่วงดุลทาง เสี ยงให้เท่ากัน ทําให้ออกเสี ยงได้สะดวก เช่น ดุกดิก ออกเสี ยงเป็ น ดุกกะดิก เป็ น กระดุกกระดิก โดกเดก ออกเสี ยงเป็ น โดกกะเดก เป็ น กระโดกกระเดก
  • 11. จุกจิก ออกเสี ยงเป็ น จุกกะจิก เป็ น กระจุกกระจิก เสื อกสน ออกเสี ยงเป็ น เสื อกกะสนเป็ น กระเสื อกกระสน โตกตาก ออกเสี ยงเป็ น โตกกะตากเป็ น กระโตกกระตาก ปลกเปลี้ย ออกเสี ยงเป็ น ปลกกะเปลี้ย เป็ น กระปลกกระเปลี้ย ค.คํา ๒ คําซ้อนกัน คําหน้าไม่มีตวสะกดในแม่ กก แต่เราเติมเสี ยง กะ ั หรื อ กระ ลงหน้าคําหน้าและหน้าคําหลัง เพื่อให้ออกเสี ยงได้สะดวกและรู ปคํา สละสลวยขึ้น เช่น รุ่ งริ่ ง เป็ น กะรุ่ งกะริ่ ง เร่ อร่ า เป็ น กะเล่อกะล่า ชุ่มชวย เป็ น กระชุ่มกระชวย จุ๋มจิ๋ม เป็ น กระจุ๋มกระจิ๋ม ฉับเฉง เป็ น กระฉับกระเฉง ๒.คําซ้อนเพื่อเสี ยงที่เกิดขึ้นเพราะการยืดเสี ยงจากคําพยางค์เดียวออกเป็ น ๒ พยางค์ คําหลังที่เกิดขึ้นใช้พยัญชนะตัวเดียวกันกับคําหน้า ส่ วนสระจะเป็ นสระ ่ อะไรก็ได้แล้วแต่เสี ยงจะหลุดปากออกไป คําหลังนี้อาจจะมีความหมายอยูในภาษาถิ่น หรื อไม่มีความหมายเลยก็ได้ เช่น พูด เป็ น พูดเพิด แว่น เป็ น แว่นเวิน ่ กิน เป็ น กินแก็น ซื้อ เป็ น ซื้อเซ้อ ( เซ้อ - ภาษาถิ่นใต้หมายถึงซื้ อ ) กวาด เป็ น กวาดแกวด ( แกวด - ภาษาถิ่นไทยขาว หมายถึงกวาด )
  • 12. คาซ้า คาซ้า คือ คําที่เกิดจากการซํ้าเสี ยงคําเดียวกันตั้งแต่ ๒ หนขึ้นไป เพื่อทําให้ เกิดคําใหม่ได้ความหมายใหม่ เช่น ดํา ๆ หวาน ๆ คอยค้อยคอย ชนิดของคาไทยทีเ่ อามาซ้ากัน ในภาษาไทยเราสามารถเอาคําทุกชนิดมาซํ้าได้ ดังนี้ ๑.ซํ้าคํานาม เช่น พี่ ๆ เด็ก ๆ น้อง ๆ ๒.ซํ้าคําสรรพนาม เช่น เขา ๆ เรา ๆ คุณ ๆ ๓.ซํ้าคําวิเศษณ์ เช่น เร็ว ๆ ไว ๆ ช้า ๆ ๔.ซํ้าคํากริ ยา เช่น นัง ๆ นอน ๆ เดิน ๆ ่ ๕.ซํ้าคําบุรพบท เช่น ใกล้ ๆ ไกล ๆ เหนือ ๆ ๖.ซํ้าคําสันธาน เช่น ทั้ง ๆ ที่ เหมือน ๆ ราว ๆ กับ ๗.ซํ้าคําอุทาน เช่น โฮ ๆ กรี๊ ด ๆ อุ๊ย ๆ ลักษ์ะของการซ้าคาในภาษาไทย ๑.ซํ้าคําเดียวกัน ๒ หน ระดับเสี ยงวรรณยุกต์คงเดิม เช่น เร็ว ๆ หนุ่ม ๆ หนัก ๆ เบา ๆ ๒.ซํ้าคําเดียวกัน ๒ หน โดยเน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่คาหน้า เช่น ว้าน ํ หวาน น้าหนา จ๊นจน อร้อยอร่ อย ๓.ซํ้าคําเดียวกัน ๓ หน โดยเน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่คากลาง เช่น ดีดี๊ดี ํ คมค้มคม จืดจื๊ดจืด สวยซ้วยสวย ๔.ซํ้าคําประสม ๒ พยางค์ ๒ หน โดยเน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่พยางค์ หลังของคําหน้า เช่น เจ็บใจ๊เจ็บใจ ดีใจ๊ดีใจ ยินดี๊ยนดี ิ
  • 13. ๕.ซํ้าคําเดียวกัน ๒ หน ระดับเสี ยงวรรณยุกต์คงเดิมแต่เกิดการกร่ อนเสี ยง ขึ้นอย่างที่บาลีเรี ยกว่า อัพภาส และสันสฤตเรี ยกว่า อัภยภาส เช่น ลิ่ว ๆ เป็ น ละลิ่ว ครื น ๆ เป็ น คระครื น ซึ่งโดยมากใช้ในคําประพันธ์ ลักษ์ะความหมายของคาซ้า ๑.บอกความหมายเป็ นพหูพจน มักเป็ นคํานามและสรรพนาม เช่น เด็ก ๆ กําลังร้องเพลง พี่ ๆ ไปโรงเรี ยน หนุ่ม ๆ กําลังเล่นฟุตบอล ๒.บอกความหมายเป็ นเอกพจน แยกจํานวนออกเป็ นส่ วน ๆ มักเป็ นคํา ลักษณะนาม เช่น ล้างชามให้สะอาดเป็ นใบ ๆ อ่านหนังสื อเป็ นเรื่ อง ๆ ไสกบไม้ให้เป็ นแผ่น ๆ ๓.เน้ นความหมายของคาเดิม มักเป็ นคําวิเศษณ์ เช่น พูดดัง ๆ ฟั งดี ๆ นังนิ่ง ๆ ่ ถ้าต้องการเน้นให้เป็ นจริ งเป็ นจังอย่างมันใจมากขึ้น เราก็เน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่ ่ คําหน้า เช่น เสี ยงดั้งดัง พูดดี๊ดี ช่างเงี้ยบเงียบ ๔.ลดความหมายของคาเดิม มักเป็ นคําวิเศษณ์บอกสี เช่น เสื้ อสี แดง ๆ กางเกงสี ดา ๆ บ้านสี ขาว ๆ ํ แต่ถาเน้นระดับเสี ยงวรรณยุกต์ที่คาหน้า ้ ํ ก็จะเป็ นการเน้นความหมาย ของคําเดิม เช่น เสื้ อสี แด๊งแดง กางเกงสี ด๊าดํา บ้านสี คาวขาว ํ ้ ๕.บอกความหมายโดยประมา์ทั้งทีเ่ กียวกับเวลาและสถานที่ ดังนี้ ่ ก.บอกเวลาโดยประมาณ เช่น สมศรี ชอบเดินเล่นเวลาเย็น ๆ เขาตื่นเช้า ๆ เสมอ นํ้าค้างจะลงหนักเวลาดึก ๆ ข.บอกสถานที่โดยประมาณ เช่นมีร้านขายหนังสื อแถว ๆ สี่ แยก ่ รถควํากลาง ๆ สะพาน ต้นประดู่ใหญ่อยูใกล้ ๆ โรงเรี ยน ่ ่ ั ๖.บอกความหมายสลับกัน เช่น เขาเดินเข้า ๆ ออก ๆ อยูต้ งนานแล้ว ฉัน หลับ ๆ ตื่น ๆ ตลอดคืน สมหมายได้แต่นง ๆ นอน ๆ ทั้งวัน ั่
  • 14. ๗.บอกความหมายเป็ นสานวน เช่น งู ๆ ปลา ๆ ดี ๆ ชัว ๆ ไป ๆ ่ มา ๆ ถู ๆ ไถๆ ๘.บอกความหมายแสดงการเปรียบเทียบขั้นปกติ ขั้นกว่ า และขั้นสุ ด เช่น ขั้นปกติ ขั้นกว่า ขั้นสุ ด เชย ๆ เชย เช้ยเชย หลวม ๆ หลวม ล้วมหลวม เบา ๆ เบา เบ๊าเบา การสร้างคําแบบคําประสม คําซ้อน และคําซํ้า นี้เป็ นวิธีการสร้างคําที่เป็ น ระเบียบวิธีของภาษาไทยของเราเอง แต่การสร้างคําใหม่ในภาษาไทยไม่ได้มีเพียง ๓ วิธีเท่านั้น เรายังมีวธีการสร้างคําใหม่ๆ ขึ้นใช้ในภาษาไทยด้วยวิธีการอื่นๆ อีก ิ คาสมาส คําสมาสเป็ นวิธีสร้างคําในภาษาบาลีและสันสกฤต โดยนําคําตั้งแต่ ๒ คําขึ้นไปมา ประกอบกันคล้ายคําประสม แต่คาที่นามาประกอบแบบคําสมาสนั้น นํามาประกอบ ํ ํ หน้าศัพท์ การแปล คําสมาสจึงแปลจากข้างหลังมาข้างหน้า เช่น บรม (ยิงใหญ่) + ครู = บรมครู (ครู ผยงใหญ่) ู ้ ิ่ ่ สุ นทร (ไพเราะ) + พจน์ (คําพูด) = สุ นทรพจน์ (คําพูดที่ไพเราะ) การนําคํามาสมาสกัน อาจเป็ นคําบาลีสมาสกับบาลี สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต หรื อบาลี สมาสกับสันสกฤตก็ได้ในบางครั้ง คําประสมที่เกิดจากคําไทยประสมกับคํา บาลีหรื อคําสันสกฤตบางคํา มีลกษณะคล้ายคําสมาสเพราะแปลจากข้างหลังมา ั ข้างหน้า เช่น ราชวัง แปลว่า วังของพระราชา อาจจัดว่าเป็ นคําสมาสได้ ส่ วนคํา ประสมที่มีความหมายจากข้างหน้าไปข้างหลังและมิได้ทาให้ ความหมาย ผิดแผกแม้ ํ
  • 15. คํานั้นประสมกับคําบาลีหรื อสันสกฤตก็ถือว่าเป็ นคําประสม เช่น มูลค่า ทรัพย์สิน เป็ น ต้น การเรียงคาตามแบบสร้ างของคาสมาส ๑. ถ้าเป็ นคําที่มาจากบาลีและสันสกฤต ให้เรี ยงบทขยายไว้ขางหน้า ้ เช่น อุทกภัย หมายถึง ภัยจากนํ้า อายุขย หมายถึง สิ้ นอายุ ั ๒. ถ้าพยางค์ทายของคําหน้าประวิสรรชนีย ์ ให้ตดวิสรรชนียออก เช่น ธุระ ้ ั ์ สมาสกับ กิจ เป็ น ธุรกิจ พละ สมาสกับ ศึกษา เป็ น พลศึกษา ๓. ถ้าพยางค์ทายของคําหน้ามีตวการันต์ให้ตดการัตน์ออกเมื่อเข้าสมาส ้ ั ั เช่น ทัศน์ สมาสกับ ศึกษา เป็ น ทัศนศึกษา แพทย์ สมาสกับ สมาคม เป็ น แพทยสมาคม ๔. ถ้าคําซํ้าความ โดยคําหนึ่งไขความอีกคําหนึ่ง ไม่มีวธีเรี ยงคําที่แน่นอน ิ เช่น นร (คน) สมาสกับ ชน (คน) เป็ น นรชน (คน) คช (ช้าง) สมาสกับ สาร (ช้าง) เป็ น คชสาร (ช้าง) การอ่ านคาสมาส ่่ การอ่านคําสมาสมีหลักอยูวา ถ้าพยางค์ทายของคําลงท้ายด้วย สระอะ, อิ, อุ เวลาเข้า ้ สมาสให้อ่านออกเสี ยง อะ อิ อุ นั้นเพียงครึ่ งเสี ยง เช่น เกษตร สมาสกับ ศาสตร์ เป็ น เกษตรศาสตร์ อ่านว่า กะ-เสด-ตระ-สาด อุทก สมาสกับ ภัย เป็ น อุทกภัย อ่านว่า อุ-ทก-กะ-ไพ ประวัติ สมาสกับ ศาสตร์ เป็ น ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ-หวัด-ติ-สาด ภูมิ สมาสกับ ภาค เป็ น ภูมิภาค อ่านว่า พู-มิ-พาก เมรุ สมาสกับ มาศ เป็ น เมรุ มาศ อ่านว่า เม-รุ -มาด
  • 16. เชตุ สมาสกับ พน เป็ น เชตุพน อ่านว่า เช-ตุ-พน ข้ อสังเกต ๑. มีคาไทยบางคํา ที่คาแรกมาจากภาษาบาลีสนสกฤต ส่ วนคําหลังเป็ นคําไทย คํา ํ ํ ั เหล่านี้ ได้แปลความหมายตามกฎเกณฑ์ของคําสมาส แต่อ่านเหมือนกับว่าเป็ น คําสมาส ทั้งนี้ เป็ นการอ่านตามความนิยม เช่น เทพเจ้า อ่านว่า เทพ-พะ-เจ้า พลเรื อน อ่านว่า พล-ละ-เรื อน กรมวัง อ่านว่า กรม-มะ-วัง ๒. โดยปกติการอ่านคําไทยที่มีมากกว่า ๑ พยางค์ มักอ่านตรงตัว เช่น บากบัน อ่านว่า บาก-บัน ่ ่ ลุกลน อ่านว่า ลุก-ลน แต่มีคาไทยบางคําที่เราอ่านออกเสี ยงตัวสะกดด้วย ทั้งที่เป็ นคําไทยมิใช่คาสมาสซึ่ ง ํ ํ ผูเ้ รี ยนจะต้องสังเกต เช่น ตุ๊กตา อ่านว่า ตุ๊ก-กะ-ตา จักจัน อ่านว่า จัก-กะ-จัน ่ ่ จักจี้ อ่านว่า จัก-กะ-จี้ ๊ ๊ ชักเย่อ อ่านว่า ชัก-กะ-เย่อ สัปหงก อ่านว่า สับ-ปะ-หงก คาสนธิ การสนธิ คือ การเชื่อมเสี ยงให้กลมกลืนกันตามหลักไวยากรณ์บาลีสนสกฤต เป็ น ั การเชื่อม อักษรให้ต่อเนื่องกันเพื่อตัดอักษรให้นอยลง ทําให้คาพูดสละสลวย นําไปใช้ ้ ํ ประโยชน์ในการแต่งคําประพันธ์ คําสนธิ เกิดจากการเชื่อมคําในภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น ถ้าคําที่นามาเชื่อม ํ
  • 17. กัน ไม่ใช่ภาษาบาลีสนสกฤต ไม่ถือว่าเป็ นสนธิ เช่น กระยาหาร มาจากคํา กระยา + ั ่ อาหาร ไม่ใช่สนธิ เพราะ กระยาเป็ นคําไทยและถึงแม้วา คําที่นามารวมกันแต่ไม่ได้ ํ เชื่อมกัน เป็ นเพียงประสมคําเท่านั้น ก็ไม่ถือว่าสนธิ เช่น ทิชาชาติ มาจาก ทีชา + ชาติ ทัศนาจร มาจาก ทัศนา + จร วิทยาศาสตร์ มาจาก วิทยา + ศาสตร์ แบบสร้างของคําสนธิที่ใช้ในภาษาบาลีและสันสกฤต มีอยู่ ๓ ประเภท คือ ๑. สระสนธิ ๒. พยัญชนะสนธิ ๓. นิคหิตสนธิ สําหรับการสนธิในภาษาไทย ส่ วนมากจะใช้แบบสร้างของสระสนธิ แบบสร้ างของคาสนธิทใช้ ในภาษาไทย ี่ ๑. สระสนธิ การสนธิสระทําได้ ๓ วิธี คือ ๑.๑ ตัดสระพยางค์ทาย แล้วใช้สระพยางค์หน้าของคําหลังแทน เช่น ้ ั มหา สนธิกบ อรรณพ เป็ น มหรรณพ ั นร สนธิกบ อินทร์ เป็ น นริ นทร์ ั ปรมะ สนธิกบ อินทร์ เป็ น ปรมินทร์ ั รัตนะ สนธิกบ อาภรณ์ เป็ น รัตนาภรณ์ ั วชิร สนธิกบ อาวุธ เป็ น วชิราวุธ ั ฤทธิ สนธิกบ อานุภาพ เป็ น ฤทธานุภาพ ั มกร สนธิกบ อาคม เป็ น มกราคม
  • 18. ๑.๒ ตัดสระพยางค์ทายของคําหน้า แล้วใช้สระพยางค์หน้าของคําหลังแต่เปลี่ยน ้ รู ป อะ เป็ น อา อิ เป็ น เอ อุ เป็ น อู หรื อ โอ ตัวอย่างเช่น เปลี่ยนรู ป อะ เป็ นอา ั เทศ สนธิกบ อภิบาล เป็ น เทศาภิบาล ั ราช สนธิกบ อธิราช เป็ น ราชาธิราช ั ประชา สนธิกบ อธิปไตย เป็ น ประชาธิปไตย ั จุฬา สนธิกบ อลงกรณ์ เป็ น จุฬาลงกรณ์ เปลี่ยนรู ป อิ เป็ น เอ ั นร สนธิกบ อิศวร เป็ น นเรศวร ั ปรม สนธิกบ อินทร์ เป็ น ปรเมนทร์ ั คช สนธิกบ อินทร์ เป็ น คเชนทร์ เปลี่ยนรู ป อุ เป็ น อู หรื อ โอ ั ราช สนธิกบ อุปถัมภ์ เป็ น ราชูปถัมภ์ ั สาธารณะ สนธิกบ อุปโภค เป็ น สาธารณูปโภค ั วิเทศ สนธิกบ อุบาย เป็ น วิเทโศบาย ั สุ ข สนธิกบ อุทย ั เป็ น สุ โขทัย ั นย สนธิกบ อุบาย เป็ น นโยบาย ๑.๓ เปลี่ยนสระพยางค์ทายของคําหน้า อิ อี เป็ น ย ้ อุ อู เป็ น ว แล้วใช้สระ พยางค์หน้าของคําหลังแทน เช่น เปลี่ยน อิ อี เป็ น ย ั มติ สนธิกบ อธิบาย เป็ น มัตยาธิบาย
  • 19. ั รังสี สนธิกบ โอภาส เป็ น รังสโยภาส, รังสิ โยภาส ั สามัคคี สนธิกบ อาจารย์ เป็ น สามัคยาจารย์ เปลี่ยน อุ อู เป็ น ว ั สิ นธุ สนธิกบ อานนท์ เป็ น สิ นธวานนท์ ั จักษุ สนธิกบ อาพาธ เป็ น จักษวาพาธ ั ธนู สนธิกบ อาคม เป็ น ธันวาคม ๒. พยัญชนะสนธิ ั พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีนอย คือเมื่อนําคํา ๒ คํามาสนธิกน ถ้าหากว่า ้ พยัญชนะ ตัวสุ ดท้าย ของคําหน้ากับพยัญชนะตัวหน้าของคําหลังเหมือนกัน ให้ตด ั พยัญชนะที่เหมือนกัน ออกเสี ยตัวหนึ่ง เช่น ั เทพ สนธิกบ พนม เป็ น เทพนม ั นิวาส สนธิกบ สถาน เป็ น นิวาสถาน ๓. นิคหิตสนธิ นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใช้วธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ให้ ิ ่ สังเกตพยัญชนะตัวแรกของคําหลังว่าอยูในวรรคใด แล้วแปลงนิคหิตเป็ นพยัญชนะตัว สุ ดท้ายของวรรคนั้น เช่น ั สํ สนธิกบ กรานต เป็ น สงกรานต์ (ก เป็ นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุ ดท้ายของวรรคกะ คือ ง) ั สํ สนธิกบ คม เป็ น สังคม (ค เป็ นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุ ดท้ายของวรรคกะ คือ ง) ั สํ สนธิกบ ฐาน เป็ น สัณฐาน
  • 20. (ฐ เป็ นพยัญชนะวรรค ตะ พยัญชนะตัวสุ ดท้ายของวรรคกะ คือ ณ) ั สํ สนธิกบ ปทาน เป็ น สัมปทาน (ป เป็ นพยัญชนะวรรค ปะ พยัญชนะตัวสุ ดท้ายของวรรคกะ คือ ม) ถ้าพยัญชนะตัวแรกของคําหลังเป็ นเศษวรรค ให้คงนิคหิต (_ํํ ) ตามรู ปเดิม อ่าน ออกเสี ยง อัง หรื อ อัน เช่น ั สํ สนธิกบ วร เป็ น สังวร ั สํ สนธิกบ หรณ์ เป็ น สังหรณ์ ั สํ สนธิกบ โยค เป็ น สังโยค ั ถ้า สํ สนธิกบคําที่ข้ ึนต้นด้วยสระ จะเปลี่ยนนิคหิ ตเป็ น ม เสมอ เช่น ั สํ สนธิกบ อิทธิ เป็ น สมิทธิ ั สํ สนธิกบ อาคม เป็ น สมาคม ั สํ สนธิกบ อาส เป็ น สมาส ั สํ สนธิกบ อุทย ั เป็ น สมุทย ั คาแผลง คําแผลง คือ คําที่สร้างขึ้นใช้ในภาษาไทยอีกวิธีหนึ่ง โดยเปลี่ยนแปลงอักษรที่ ่ ประสมอยูในคําไทยหรื อคําที่มาจากภาษาอื่นให้ผดไปจากเดิม ด้วยวิธีตด เติม หรื อ ิ ั เปลี่ยนรู ป แต่ยงคงรักษาความหมายเดิมหรื อเค้าความเดิมอยู่ ั แบบสร้ างของการแผลงคา การแผลงคําทําได้ ๓ วิธี คือ ๑. การแผลงสระ ๒. การแผลงพยัญชนะ ๓. การแผลงวรรณยุกต์
  • 21. ๑. การแผลงสระ เป็ นการเปลี่ยนรู ปสระของคํานั้น ๆ ให้เป็ นสระรู ปอื่น ตัวอย่ าง คาเดิม คาแผลง คาเดิม คาแผลง ชยะ ชัย สายดือ สะดือ โอชะ โอชา สุ ริยะ สุ รีย ์ วชิระ วิเชียร ดิรัจฉาน เดรัจฉาน พัชร เพชร พิจิตร ไพจิตร คะนึง คํานึง พีช พืช ครหะ เคราะห์ กีรติ เกียรติ ชวนะ เชาวน์ สุ คนธ์ สุ วคนธ์ สรเสริ ญ สรรเสริ ญ ยุวชน เยาวชน ทูรเลข โทรเลข สุ ภา สุ วภา ๒. การแผลงพยัญชนะ การแผลงพยัญชนะก็เช่นเดียวกับการแผลงสระ คือ ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวเกิดจาก ความเจริ ญของภาษา การแผลงพยัญชนะเป็ นการเปลี่ยนรู ปพยัญชนะตัวหนึ่งให้เป็ น อีกตัวหนึ่ง หรื อเพิ่มพยัญชนะลงไปให้เสี ยงผิดจากเดิม หรื อมีพยางค์มากกว่าเดิม หรื อ ตัดรู ปพยัญชนะ การศึกษาที่มาของถ้อยคําเหล่านี้จะช่วยให้เข้าใจความหมายของคําได้ ถูกต้อง ตัวอย่ าง คาเดิม คาแผลง คาเดิม คาแผลง กราบ กําราบ บวช ผนวช เกิด กําเนิด ผทม ประทม, บรรทม
  • 22. ขจาย กําจาย เรี ยบ ระเบียบ แข็ง กําแหง, คําแหง แสดง สําแดง คูณ ควณ, คํานวณ, คํานูณ พรั่ง สะพรั่ง เจียร จําเนียร รวยรวย ระรวย เจาะ จําเพาะ, เฉพาะ เชิญ อัญเชิญ เฉี ยง เฉลียง, เฉวียง เพ็ญ บําเพ็ญ ช่วย ชําร่ วย ดาล บันดาล ตรับ ตํารับ อัญชลี ชลี, ชุลี ถก ถลก อุบาสิ กา สี กา ๓. การแผลงวรร์ยุกต การแผลงวรรณยุกต์เป็ นการเปลี่ยนแปลงรู ป หรื อเปลี่ยนเสี ยงวรรณยุกต์ เพื่อให้ เสี ยงหรื อรู ปวรรณยุกต์ผดไปจากเดิม ิ ตัวอย่ าง คาเดิม คาแผลง คาเดิม คาแผลง เพียง เพี้ยง พุทโธ พุทโธ่ เสนหะ เสน่ห์ บ บ่ สรุป ๑. แบบสร้างของคํา คือ วิธีการนําอักษรมาผสมคํา และมีความหมายที่สมบูรณ์ คํา ชนิดต่าง ๆ เหล่านี้มีชื่อเรี ยกตามลักษณะแบบสร้างของคํา เช่น คํามูล คําประสม คําสมาส คําสนธิ แบบสร้างของคํามูลและคําประสม คือ วิธีการสร้างคํา ซึ่งส่ วนใหญ่เป็ น ลักษณะเฉพาะ ของภาษาไทย แบบสร้างของคํามูลอาจมีพยางค์เดียวเป็ นคําโดด หรื อมี ็ หลายพยางค์กได้แต่คามูลนั้นเมื่อแยกพยางค์ แล้วแต่ละพยางค์ ไม่ได้ความหมาย ํ
  • 23. ครบถ้วน ต้องนําพยางค์ เหล่านั้นมารวมกัน จึงจะเกิดเป็ นคําและมีความหมาย ส่ วนคํา ประสม คือคําที่เกิดจาก การนําคํามูลมาประสมกันเพื่อสร้างคําใหม่ข้ ึนมา ๒. คําสมาสมีลกษณะดังนี้ ั (๑) ต้องเป็ นคําที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต (๒) พยางค์ สุ ดท้ายของคํานําหน้าประวิสรรชนียหรื อตัวการันต์ไม่ได้ ์ (๓) เรี ยงต้นศัพท์ไว้หลัง ศัพท์ประกอบไว้หน้าเมื่อแปลความหมายให้แปลจากหลังไป หน้า (๔) ส่ วนมากออกเสี ยงสระ ตรงพยางค์สุดท้ายของคําหน้า ซึ่ งจะมีคายกเว้นไม่กี่คา ํ ํ เช่น ชลบุรี สุ พรรณบุรี ฯลฯ ๓. แบบสร้างของคําสนธิ มีดงนี้ ั (๑) ต้องเป็ นคําที่มาจากบาลี สันสกฤต (๒) มีการ เปลี่ยนแปลงระหว่างคําที่เชื่อม (๓) พยางค์ตนของคําหลังต้องขึ้นต้นด้วยสระ หรื อ ตัว อ ้ ๔. คําแผลงคําที่สร้างขึ้นใช้ในภาษาไทยวิธีหนึ่ง โดยเปลี่ยนแปลงอักษรที่ประสม ่ อยูในคําเดิมให้ผดไปจากเดิม ด้วยวิธีตดเติมหรื อเปลี่ยนรู ป แต่ยงรักษาความหมายเดิม ิ ั ั หรื อเค้าความเดิมอยู่ แบบสร้างคําแผลงมี ๓ วิธี คือ (๑) การแผลงสระ เช่น คติ แผลงเป็ น คดี และนูน แผลงเป็ น โน้น ้ (๒) การแผลงพยัญชนะ เช่น กด แผลงเป็ น กําหนด อวย แผลงเป็ น อํานวย (๓) การแผลงวรรณยุกต์ เช่น โน่น แผลงเป็ น โน้น นี่ แผลงเป็ น นี้ เป็ นต้น ๕. คําซํ้า คือ การสร้างคําด้วยการนําคําที่มีเสี ยง และความหมายเหมือนกันมาซํ้ากัน เพื่อเปลี่ยนความหมายของคํานั้นให้แตกต่างไปหลายลักษณะ ๖. คําซ้อน คือ คําประสมชนิดหนึ่งที่เกิดจากการนําเอาคําตั้งแต่สองคําขึ้นไป ซึ่ งมี
  • 24. เสี ยง ต่างกัน แต่มีความหมายเหมือนกันหรื อคล้ายคลึงกันหรื อเป็ นไปในทํานอง ั เดียวกัน มาซ้อนคู่กน