SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หน่วยที่หน่วยที่ 33
การจัดเก็บทรัพยากรการจัดเก็บทรัพยากร
สารสนเทศสารสนเทศ
การจัดหมวดหมู่หนังสือการจัดหมวดหมู่หนังสือ
การจัดหมวดหมู่หนังสือ หมายถึงการจัดหมวดหมู่หนังสือ หมายถึง
การจัดหนังสือการจัดหนังสือ
ที่มีเนื้อเรื่อง หรือแบบการประพันธ์ที่มีเนื้อเรื่อง หรือแบบการประพันธ์
อย่างเดียวกันไว้ด้วยกันอย่างเดียวกันไว้ด้วยกัน
และใช้สัญลักษณ์แทนประเภทของและใช้สัญลักษณ์แทนประเภทของ
หนังสือเหล่านั้นหนังสือเหล่านั้น
ประโยชน์ของการจัดหมู่หนังสือประโยชน์ของการจัดหมู่หนังสือ
1.1. ทำาให้ทรัพยากรสารสนเทศทุกทำาให้ทรัพยากรสารสนเทศทุก
รายการในห้องสมุดมีสัญลักษณ์รายการในห้องสมุดมีสัญลักษณ์
และมีตำาแหน่งการจัดวางที่แน่นอน ช่วยให้ผู้และมีตำาแหน่งการจัดวางที่แน่นอน ช่วยให้ผู้
ใช้สามารถค้นหาได้ง่ายใช้สามารถค้นหาได้ง่าย
2.2. ทำาให้ทรัพยากรที่มีเนื้อหาเรื่องทำาให้ทรัพยากรที่มีเนื้อหาเรื่อง
เดียวกัน หรือใกล้เคียงกันเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน
รวมอยู่ในที่เดียวกันทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้ได้รู้จักรวมอยู่ในที่เดียวกันทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้ได้รู้จัก
หนังสือเล่มอื่นๆ ในแขนงวิชาหนังสือเล่มอื่นๆ ในแขนงวิชา
เดียวกันที่ห้องสมุดมีอยู่เดียวกันที่ห้องสมุดมีอยู่
3.3. ทำาให้ทรัพยากรที่มีเนื้อเรื่องทำาให้ทรัพยากรที่มีเนื้อเรื่อง
สัมพันธ์กันอยู่ไม่ไกลกัน ช่วยให้สัมพันธ์กันอยู่ไม่ไกลกัน ช่วยให้
ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวผู้ใช้ห้องสมุดสามารถศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยว
โยงต่อเนื่องกันได้โดยสะดวกโยงต่อเนื่องกันได้โดยสะดวก
4.4. ช่วยให้การจัดเก็บทรัพยากรคืนที่ช่วยให้การจัดเก็บทรัพยากรคืนที่
การจัดหมู่หนังสือและวัสดุการจัดหมู่หนังสือและวัสดุ
สารสนเทศในห้องสมุดสารสนเทศในห้องสมุด
ระบบการจัดหมู่ระบบการจัดหมู่ (Classification(Classification
system)system) คือระบบที่ใช้คือระบบที่ใช้
สัญลักษณ์ตัวเลข หรือตัวอักษรแทนสัญลักษณ์ตัวเลข หรือตัวอักษรแทน
เนื้อหาของหนังสือ หรือวัสดุเนื้อหาของหนังสือ หรือวัสดุ
สารสนเทศในห้องสมุดสารสนเทศในห้องสมุด
ระบบการจัดหมู่หนังสือที่นิยมใช้ระบบการจัดหมู่หนังสือที่นิยมใช้
 ระบบทศนิยมดิวอี้ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal(Dewey Decimal
Classification)Classification)
DCDC หรือหรือ DDCDDC
 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
(Library of Congress(Library of Congress
Classification) LCClassification) LC หรือหรือ LCCLCC
 ระบบหอสมุดทศนิยมสากลระบบหอสมุดทศนิยมสากล
(Universal Decimal(Universal Decimal
ระบบทศนิยมดิวอี้ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal(Dewey Decimal
Classification)Classification)
D.CD.C หรือหรือ D.D.CD.D.C
Melvin DeweyMelvin Dewey
ระบบทศนิยมดิวอี้ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey(Dewey
Decimal Classification)Decimal Classification)
DCDC หรือหรือ DDCDDC
การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิ
วอี้วอี้( Dewey Decimal Classification )( Dewey Decimal Classification )
เรียกย่อ ๆว่าระบบเรียกย่อ ๆว่าระบบ D.C.D.C. หรือหรือ D.D.CD.D.C เป็นระบบการเป็นระบบการ
จัดหมู่ที่นิยมใช้กันแพร่หลายที่สุดจัดหมู่ที่นิยมใช้กันแพร่หลายที่สุด
ระบบหนึ่ง เมลวิล ดิวอี้ระบบหนึ่ง เมลวิล ดิวอี้(Melvin Dewey )(Melvin Dewey ) ชาวชาว
อเมริกัน เป็นผู้คิดระบบนี้ขึ้นในขณะที่อเมริกัน เป็นผู้คิดระบบนี้ขึ้นในขณะที่
เป็นผู้ช่วยบรรณารักษ์อยู่ที่วิทยาลัยแอมเฮเป็นผู้ช่วยบรรณารักษ์อยู่ที่วิทยาลัยแอมเฮ
อร์สอร์ส( Amherst College)( Amherst College) มลรัฐแมซซาซูมลรัฐแมซซาซู
เซ็ทซ์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ดิวอี้เซ็ทซ์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ดิวอี้ เป็นผู้ก่อตั้งเป็นผู้ก่อตั้ง
สมาคมห้องสมุดในอเมริกัน และเป็นสมาคมห้องสมุดในอเมริกัน และเป็น
ผู้คิดการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ ซึ่งผู้คิดการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ ซึ่ง
เป็นระบบที่ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์เป็นระบบที่ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์
( Pure Notation)( Pure Notation) เป็นระบบที่มีเหตุผล มีความต่อเป็นระบบที่มีเหตุผล มีความต่อ
เนื่อง เริ่มด้วยเนื้อหากว้าง ๆเนื่อง เริ่มด้วยเนื้อหากว้าง ๆ
จนกระทั้งถึงเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงตามลำาดับการจนกระทั้งถึงเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงตามลำาดับการ
จัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของ
ดิวอี้เหมาะสำาหรับห้องสมุดขนาดเล็กและขนาด
1010 หมวดใหญ่หมวดใหญ่ การจัดหมู่หนังสือการจัดหมู่หนังสือ
ระบบทศนิยมของดิวอี้ระบบทศนิยมของดิวอี้
หมวดใหญ่หมวดใหญ่ ( Classes )( Classes ) หรือหรือการแบ่งครั้งที่การแบ่งครั้งที่
11 แบ่งสรรพวิชาออกเป็นแบ่งสรรพวิชาออกเป็น
ประเภทใหญ่ ๆประเภทใหญ่ ๆ 1010 หมวด โดยใช้ตัวเลขหลักหมวด โดยใช้ตัวเลขหลัก
ร้อยเป็นสัญลักษณ์ร้อยเป็นสัญลักษณ์
000000 เบ็ดเตล็ดหรือความรู้ทั่วไปเบ็ดเตล็ดหรือความรู้ทั่วไป
100100 ปรัชญาปรัชญา
200200 ศาสนาศาสนา
300300 สังคมศาสตร์สังคมศาสตร์
400400 ภาษาศาสตร์ภาษาศาสตร์
500500 วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
600600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือวิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือ
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
700700 ศิลปกรรมและการบันเทิงศิลปกรรมและการบันเทิง
800800 วรรณคดีวรรณคดี
ระบบทศนิยมดิวอี้ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.C./
D.D.C. (D.D.C. (ต่อต่อ))
การแบ่งครั้งที่การแบ่งครั้งที่ 2 102 10 หมวดย่อยหมวดย่อย
300300 สังคมวิทยาสังคมวิทยา
310310 สถิติสถิติ
320320 รัฐศาสตร์รัฐศาสตร์
330330 เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
340340 กฎหมายกฎหมาย
350350 รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
360360 สังคมสงเคราะห์สังคมสงเคราะห์
370370 การศึกษาการศึกษา
380380 การค้าและการคมนาคมการค้าและการคมนาคม
390390 ขนบธรรมเนียมประเพณีขนบธรรมเนียมประเพณี
คติชนวิทยาคติชนวิทยา
ระบบทศนิยมดิวอี้ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.C./
D.D.C. (D.D.C. (ต่อต่อ))
การแบ่งครั้งที่การแบ่งครั้งที่ 3 103 10 หมู่ย่อยหมู่ย่อย
370370 การศึกษาการศึกษา
371371 ระบบโรงเรียนระบบโรงเรียน
372372 การประถมศึกษาการประถมศึกษา
373373 การมัธยมศึกษาการมัธยมศึกษา
374374 การศึกษานอกระบบการศึกษานอกระบบ
375375 หลักสูตรหลักสูตร
376376 การศึกษาสำาหรับสตรีการศึกษาสำาหรับสตรี
377377 โรงเรียนและศาสนาโรงเรียนและศาสนา
378378 การอุดมศึกษาการอุดมศึกษา
379379 การศึกษากับรัฐการศึกษากับรัฐ
ระบบทศนิยมดิวอี้ระบบทศนิยมดิวอี้ D.C./D.C./
D.D.C. (D.D.C. (ต่อต่อ))
การแบ่งครั้งที่การแบ่งครั้งที่ 44 จุดทศนิยมจุดทศนิยม
640640 คหกรรมศาสตร์คหกรรมศาสตร์
641641 อาหารและเครื่องดื่มอาหารและเครื่องดื่ม
641.1641.1 โภชนาการ โปรตีนโภชนาการ โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต ไขมัน นำ้าดื่มคาร์โบไฮเดรต ไขมัน นำ้าดื่ม
แร่ธาตุ วิตามินแร่ธาตุ วิตามิน
641.2641.2 เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอร์ สุราเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอร์ สุรา
ไวน์ไวน์
641.3641.3 อาหารและเครื่องดื่มบริโภคอาหารและเครื่องดื่มบริโภค
641.31 ความรู้สำาหรับผู้
บริโภค
641.33 อาหารประเภทพืช
ผัก
641.36 อาหารประเภท
การจัดหมู่หนังสือระบบหอการจัดหมู่หนังสือระบบหอ
สมุดรัฐสภาอเมริกันสมุดรัฐสภาอเมริกัน
((Library of CongressLibrary of Congress
Classification)Classification)
Library of CongressLibrary of Congress
Herbert PutnamHerbert Putnam
การจัดหมู่หนังสือระบบหอการจัดหมู่หนังสือระบบหอ
สมุดรัฐสภาอเมริกันสมุดรัฐสภาอเมริกัน
((Library of CongressLibrary of Congress
Classification)Classification)
การจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุด
รัฐสภาอเมริกันรัฐสภาอเมริกัน
((Library of CongressLibrary of Congress
ClassificationClassification หรือหรือ L.C / L.C.C)L.C / L.C.C)
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เป็นระบบที่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เป็นระบบที่
ใช้การจัดหมู่หนังสือที่หอสมุดใช้การจัดหมู่หนังสือที่หอสมุด
รัฐสภาอเมริกันซึ่งเป็นหอสมุดรัฐสภาอเมริกันรัฐสภาอเมริกันซึ่งเป็นหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
ซึ่งเป็นหอสมุดแห่งชาติของซึ่งเป็นหอสมุดแห่งชาติของ
สหรัฐอเมริกัน ดรสหรัฐอเมริกัน ดร.. เฮอร์เบิร์ต พุทนัมเฮอร์เบิร์ต พุทนัม
((Herbert PutnamHerbert Putnam)) ได้เป็นบรรณารักษ์ได้เป็นบรรณารักษ์
ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน จึงได้คิดระบบของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน จึงได้คิดระบบ
ใหม่ขึ้นใช้เมื่อปี คใหม่ขึ้นใช้เมื่อปี ค..ศศ. 1899. 1899 เพื่อให้เพื่อให้
สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพและลักษณะของสอดคล้องเหมาะสมกับสภาพและลักษณะของ
หนังสือในขณะนั้นที่มีอยู่หนังสือในขณะนั้นที่มีอยู่
ประมาณประมาณ 11 ล้านกว่าเล่ม ระบบนี้จึงได้ชื่อล้านกว่าเล่ม ระบบนี้จึงได้ชื่อ
ตามห้องสมุดแห่งนั้น ปัจจุบันตามห้องสมุดแห่งนั้น ปัจจุบัน
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นที่นิยมใช้ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นที่นิยมใช้
สำาหรับจัดหนังสือในห้องสมุดสำาหรับจัดหนังสือในห้องสมุด
ขนาดใหญ่ ที่มีหนังสือทั่ว ๆ ไปทุกประเภทขนาดใหญ่ ที่มีหนังสือทั่ว ๆ ไปทุกประเภท
การจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุด
รัฐสภาอเมริกันรัฐสภาอเมริกัน
((Library of CongressLibrary of Congress
Classification)Classification)
ระบบการจัดหมู่หนังสือแบบห้องระบบการจัดหมู่หนังสือแบบห้อง
สมุดรัฐสภาอเมริกันสมุดรัฐสภาอเมริกัน
เรียกย่อ ๆ ว่ารัฐสภาฯ หรือระบบเรียกย่อ ๆ ว่ารัฐสภาฯ หรือระบบ LCLC
สัญลักษณ์ของการจัดหมู่สัญลักษณ์ของการจัดหมู่
หนังสือระบบนี้เป็นแบบผสมหนังสือระบบนี้เป็นแบบผสม ((MixedMixed
NotationNotation)) คือมีทั้งตัวอักษรคือมีทั้งตัวอักษร
((โรมันโรมัน)) และตัวเลขและตัวเลข((อารบิคอารบิค))ผสมกันผสมกัน
การแบ่งหมวดหมู่เนื้อหาวิชาการแบ่งหมวดหมู่เนื้อหาวิชา
แบ่งออกเป็นแบ่งออกเป็น 2020 หมวดใหญ่โดยใช้หมวดใหญ่โดยใช้
อักษรอักษร 2121 ตัว คือ อักษรตัว คือ อักษร AA--ZZ
((ยกเว้นยกเว้น I,O,W,XI,O,W,X และและ YY)) และตัวเลขและตัวเลข
การแบ่งหมวดหมู่ใหญ่การแบ่งหมวดหมู่ใหญ่ ((การการ
แบ่งครั้งที่แบ่งครั้งที่ 11))หมวดหมวด AA เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือเป็นสัญลักษณ์ของหนังสือ
ที่เป็นความรู้ทั่วไป ได้แก่ที่เป็นความรู้ทั่วไป ได้แก่
หนังสืออ้างอิงทั่วไปหนังสือพิมพ์ วารสาร สิ่งหนังสืออ้างอิงทั่วไปหนังสือพิมพ์ วารสาร สิ่ง
พิมพ์ของสมาคม และสถาบันพิมพ์ของสมาคม และสถาบัน
วิชาการต่าง ๆ และตารางเลขวิชาการต่าง ๆ และตารางเลข
หมวดหมวด BB เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือเป็นสัญลักษณ์ของหนังสือ
เกี่ยวกับประวัติอารยธรรมเกี่ยวกับประวัติอารยธรรม
โบราณคดี จดหมายเหตุ พงศาวดารโบราณคดี จดหมายเหตุ พงศาวดาร
หมวดหมวด CC เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือเป็นสัญลักษณ์ของหนังสือ
ประเภทประวัติศาสตร์ทั่วไปประเภทประวัติศาสตร์ทั่วไป
ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์
ประเทศต่าง ๆ ทั้งในยุโรป อัฟริกาประเทศต่าง ๆ ทั้งในยุโรป อัฟริกา
เอเชีย และหมู่เกาะต่าง ๆเอเชีย และหมู่เกาะต่าง ๆ
หมวดหมวด DD เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือเป็นสัญลักษณ์ของหนังสือ
ประเภทประวัติศาสตร์ประเภทประวัติศาสตร์
การแบ่งหมวดหมู่ใหญ่การแบ่งหมวดหมู่ใหญ่ ((ต่อต่อ))
หมวดหมวด HH เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือสังคมศาสตร์มีหนังสือสังคมศาสตร์มี
เศรษฐศาสตร์ สถิติและสังคมวิทยาเศรษฐศาสตร์ สถิติและสังคมวิทยา
หมวดหมวด JJ เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือทางด้านการเมืองหนังสือทางด้านการเมือง
การปกครอง รัฐศาสตร์การปกครอง รัฐศาสตร์
หมวดหมวด KK เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือกฎหมายหนังสือกฎหมาย
หมวดหมวด LL เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือเกี่ยวกับการศึกษาหนังสือเกี่ยวกับการศึกษา
หมวดหมวด MM เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือเกี่ยวกับการดนตรีหนังสือเกี่ยวกับการดนตรี
หมวดหมวด NN เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือด้านศิลปกรรมหนังสือด้านศิลปกรรม
การแบ่งหมวดหมู่ใหญ่การแบ่งหมวดหมู่ใหญ่ ((ต่อต่อ))
หมวดหมวด RR เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือแพทยศาสตร์หนังสือแพทยศาสตร์
หมวดหมวด SS เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือเกษตรศาสตร์หนังสือเกษตรศาสตร์
การเลี้ยงสัตว์ การประมง อุตสาหกรรมที่การเลี้ยงสัตว์ การประมง อุตสาหกรรมที่
เกี่ยวเนื่องด้วยพืชและสัตว์ ตลอดจนเกี่ยวเนื่องด้วยพืชและสัตว์ ตลอดจน
กีฬาล่าสัตว์กีฬาล่าสัตว์
หมวดหมวด TT เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือวิทยาศาสตร์ประยุกต์หนังสือวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ได้แก่ หนังสือในสาขาวิชาที่เกี่ยวกับได้แก่ หนังสือในสาขาวิชาที่เกี่ยวกับ
วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้าวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า
วิศวกรรมอุตสาหกรรม วิศวกรรมเคมีวิศวกรรมอุตสาหกรรม วิศวกรรมเคมี
หมวดหมวด UU เป็นสัญลักษณ์ของเป็นสัญลักษณ์ของ
หนังสือยุทธศาสตร์หนังสือยุทธศาสตร์
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
L.C./L.C.C. (L.C./L.C.C. (ต่อต่อ))
การแบ่งครั้งที่การแบ่งครั้งที่
22
BB ปรัชญาปรัชญา
BCBC
ตรรกวิทยาตรรกวิทยา
BDBD ปรัชญาปรัชญา
พยากรณ์พยากรณ์
BFBF จิตวิทยาจิตวิทยา
BHBH
สุนทรียศาสตร์สุนทรียศาสตร์
BJBJ
จริยศาสตร์จริยศาสตร์
BPBP ศาสนาศาสนา
อิสลามอิสลาม
BQBQ ศาสนาพุทธศาสนาพุทธ
BRBR ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
BSBS คัมภีร์ไบเบิลคัมภีร์ไบเบิล
BTBT เทววิทยาเชิงเทววิทยาเชิง
คริสตศาสตร์คริสตศาสตร์
BVBV เทววิทยาภาคเทววิทยาภาค
ปฏิบัติปฏิบัติ
BXBX คริสต์ศาสนาคริสต์ศาสนา
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
L.C./L.C.C. (L.C./L.C.C. (ต่อต่อ))
การแบ่งครั้งที่การแบ่งครั้งที่ 33
QQ วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
QAQA คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
QA101-141.8QA101-141.8
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
QA150-271QA150-271
พีชคณิตพีชคณิต
QA273-280QA273-280
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
สถิติสถิติ
QA276QA276
สถิติศาสตร์สถิติศาสตร์
QA276.A2QA276.A2 ตำาราตำารา
QA276.14QA276.14
พจนานุกรมพจนานุกรม
QA276.2QA276.2 แบบแบบ
ฝึกหัดฝึกหัด
แบบแบบ
ทดสอบทดสอบ
QA276.25QA276.25 คู่มือคู่มือ
ตารางตาราง
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือระบบการแบ่งหมวดหมู่หนังสือระบบ
ทศนิยมสากลทศนิยมสากล
(Universal Decimal(Universal Decimal
Classification)Classification) หรือหรือ UDCUDCระบบทศนิยมสากล แบ่งวิชาความรู้ต่างๆระบบทศนิยมสากล แบ่งวิชาความรู้ต่างๆ
ออกเป็นออกเป็น 1010 หมวดใหญ่ ดังนี้หมวดใหญ่ ดังนี้
00 ทั่วไปทั่วไป
11 ปรัชญาปรัชญา
22 ศาสนาศาสนา
33 สังคมศาสตร์สังคมศาสตร์
44 ภาษาศาสตร์ภาษาศาสตร์
55 วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
66 วิทยาศาสตร์ประยุกต์วิทยาศาสตร์ประยุกต์
77 ศิลปศิลป
88 วรรณคดีวรรณคดี
99 ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
การแบ่งหมวดใหญ่ เป็นการแบ่ง
เนื้อหาทางการแพทย์เป็น 2 ส่วน
1. การแพทย์พื้นฐาน ( Preclinical
sciences ) ใช้สัญลักษณ์
QS-QZ
QS กายวิภาคศาสตร์
QT สรีระวิทยา
QU ชีวเคมี
QV เภสัชศาสตร์
QW วิชาแบคทีเรีย และ
ภูมิคุ้มกัน
QX ปาราสิตวิทยา
QY พยาธิวิทยาคลีนิก
QZ พยาธิวิทยา
การจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุด
แพทย์แห่งชาติอเมริกันแพทย์แห่งชาติอเมริกัน
(National Library of Medicine)(National Library of Medicine)
หรือหรือ NLMNLM
การแบ่งหมวดใหญ่การแบ่งหมวดใหญ่ ((ต่อต่อ))
W อาชีพแพทย์
WA สาธารณสูข
ศาสตร์
WB อายุรศาสตร์
WC โรคติดต่อ
WD 100 โรคขาดธาตุ
อาหาร
WD 200 โรคเกี่ยวกับ
การเผาผลาญ
ในร่างกาย
WD 300 โรคเกิดจาก
ภูมิแพ้
WD 400 สัตว์เป็นพิษ
WD 500 พืชเป็นพิษ
WD 600 โรคเกิดจาก
ตัวกระทำาทางธรรมชาติ
WD 700 เวชศาสตร์
การบินและการแพทย์
อากาศ
WE ระบบกล้าม
เนื้อ และ โครงกระดูก
WF ระบบหายใจ
WG ระบบหัวใจร่วม
หลอดเลือด
WH ระบบทางเดินของ
เลือดและ นำ้าเหลือง
แพทย์และวิชาที่เกี่ยวข้อง ( Medicine and related subje
การแบ่งหมวดใหญ่การแบ่งหมวดใหญ่ ((ต่อต่อ))
WS กุมาร
เวชศาสตร์
WT เวชศาสตร์วัย
ชรา โรคเรื้อรัง
WU ทันตแพทย์
ศัลยกรรมในช่องปาก
WV วิทยาโสต นาสิก ลา
ริงซ์
WW จักษุวิทยา
WX กิจกรรมโรงพยาบาล
WY การพยาบาล
WZ ประวัติการ
แพทย์
แพทย์และวิชาที่เกี่ยวข้อง ( Medicine and related subje
WJ ระบบปัสสาวะและ
อวัยวะสืบพันธ์
WK ระบบต่อมไม่มีท่อ หรือ
ต่อม
เอนนโดรไครน์
WL ระบบประสาท
WM จิตเวชวิทยา
WN รังสีวิทยา
WO ศัลยศาสตร์
WP นารีเวชวิทยา
WQ สูตินารีเวชวิทยา
WR วิทยาโรคผิวหนัง
หนังสือประเภทที่ห้องสมุดไม่นิยม
ให้เป็นสัญลักษณ์นวนิยาย ใช้สัญลักษณ์ น
หรือ นว
นวนิยายภาษาอังกฤษ ใช้สัญลักษณ์
F หรือ Fic ( Fiction )
รวมเรื่องสั้นภาษาอังกฤษ ใช้สัญลักษณ์ Sc
( Short story Collection )
หนังสือสำาหรับเยาวชน ใช้สัญลักษณ์ ย
หนังสือสำาหรับเยาชนภาษาอังกฤษ ใช้สัญลักษณ์
J ( Juvenile Literature )
หนังสือพอคเก็ตบุคส์ ใช้สัญลักษณ์
พ
พอคเก็ตบุคส์ภาษาอังกฤษ ใช้สัญลักษณ์
P ( Pocket Books )
หนังสือชีวประวัติ ใช้สัญลักษณ์ ช
หนังสือที่ใช้อักษรกำากับเหนือเลขหมู่
รายงานผลการวิจัย เติมอักษร วจ
กำากับเหนือเลขหมู่หนังสือ
สิ่งพิมพ์รัฐบาล เติมอักษร สร
กำากับเหนือเลขหมู่หนังสือ
วิทยานิพนธ์ เติมอักษร วพ กำากับ
เหนือเลขหมู่หนังสือ
หนังสืออ้างอิง เติมอักษร อ
กำากับเหนือเลขหมู่หนังสือ
หนังสืออ้างอิงภาษาอังกฤษ เติมอักษร R
กำากับเหนือเลขหมู่หนังสือ
(Reference)
เลขเรียก
หนังสือ
Call Number
เลขเรียกหนังสือเลขเรียกหนังสือ (Call(Call
number)number)
คือ สัญลักษณ์ที่กำาหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคือ สัญลักษณ์ที่กำาหนดขึ้นเพื่อใช้ในการ
ค้นหาหนังสือบนชั้นค้นหาหนังสือบนชั้น
เลขเรียกหนังสือจะประกอบด้วยเลขเรียกหนังสือจะประกอบด้วย
เลขหมู่หนังสือเลขหมู่หนังสือ (Classification(Classification
number)number)
อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งอักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง ชาวไทยชาวไทย
หรืออักษรสองตัวแรกหรืออักษรสองตัวแรก
ของชื่อสกุลชาวต่างประเทศของชื่อสกุลชาวต่างประเทศ
เลขประจำาตัวผู้แต่งเลขประจำาตัวผู้แต่ง
อักษรตัวแรกของชื่อเรื่องอักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง
เลขเรียกหนังสือจะเขียนหรือพิมพ์ไว้ที่เลขเรียกหนังสือจะเขียนหรือพิมพ์ไว้ที่
สันหนังสือสันหนังสือ
ที่มุมซ้ายของบัตรรายการ และจะปรากฏที่ที่มุมซ้ายของบัตรรายการ และจะปรากฏที่
จอคอมพิวเตอร์เมื่อใช้ฐานข้อมูลจอคอมพิวเตอร์เมื่อใช้ฐานข้อมูล
ตัวอย่างเลขเรียกหนังสือภาษาไทย
ชื่อหนังสือ คู่มือทำาบทนิพนธ์ ผู้แต่ง
วาณี ฐาปนวงศ์ศานติ
เลขหมู่เลขหมู่
อักษรตัวแรกของอักษรตัวแรกของ
ชื่อเรื่องชื่อเรื่อง
อักษรตัวแรกของชื่ออักษรตัวแรกของชื่อ
ผู้แต่งผู้แต่ง
เลขผู้เลขผู้
แต่งแต่ง
ตัวอย่างเลขเรียกหนังสือภาษาอังกฤษ
ชื่อหนังสือ Guide to the use of
libraries and information sources
โดย Jean Key Gates
เลขเลข
หมู่หมู่
อักษรตัวแรกของอักษรตัวแรกของ
ชื่อเรื่องชื่อเรื่อง
อักษรตัวอักษรตัว
แรกของแรกของ
ชื่อสกุลผู้ชื่อสกุลผู้
แต่งแต่ง
เลขผู้เลขผู้
แต่งแต่ง
025.025.
5656
Ga25Ga25
9G9G
การเรียงหนังสือบนชั้นการเรียงหนังสือบนชั้น
หนังสือหนังสือ
การจัดเรียงหนังสือบนชั้นในห้องสมุดมีการการจัดเรียงหนังสือบนชั้นในห้องสมุดมีการ
จัดเรียงอย่างมีหลักเกณฑ์ ดังนี้จัดเรียงอย่างมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
1.1. เรียงตามลำาดับเลขหมู่จากน้อยไปเรียงตามลำาดับเลขหมู่จากน้อยไป
หามาก จากซ้าย ไปขวาหามาก จากซ้าย ไปขวา
จากบนลงล่างจากบนลงล่าง
2.2. ถ้าเลขหมู่ซำ้ากันจะเรียงตามลำาดับถ้าเลขหมู่ซำ้ากันจะเรียงตามลำาดับ
ผู้แต่งผู้แต่ง
3.3. ถ้าเลขหมู่เหมือนกันเลขผู้แต่งถ้าเลขหมู่เหมือนกันเลขผู้แต่ง
เหมือนกันให้เรียงเหมือนกันให้เรียง
ตามลำาดับชื่อเรื่องตามลำาดับชื่อเรื่อง
4.4. ถ้าผู้แต่งคนเดียวกันชื่อเรื่องถ้าผู้แต่งคนเดียวกันชื่อเรื่อง
เดียวกันให้เรียงตามลำาดับเดียวกันให้เรียงตามลำาดับ
การเรียงหนังสือบน
ชั้น
การจัดเก็บทรัพยากรการจัดเก็บทรัพยากร
สารสนเทศต่างๆ ของห้องสมุดสารสนเทศต่างๆ ของห้องสมุด
การจัดเก็บวารสารการจัดเก็บวารสาร
ห้องสมุดจะแยกวารสารฉบับปัจจุบันและห้องสมุดจะแยกวารสารฉบับปัจจุบันและ
ฉบับล่วงเวลาออกจากกันฉบับล่วงเวลาออกจากกัน
22 ลักษณะ ดังนี้ลักษณะ ดังนี้
1.1. วารสารฉบับปัจจุบันวารสารฉบับปัจจุบัน (Current(Current
Issues)Issues) ห้องสมุดจะจัดแยกห้องสมุดจะจัดแยก
วารสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในวารสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศใน
ลักษณะจัดเรียงตามลำาดับอักษรลักษณะจัดเรียงตามลำาดับอักษร
ของชื่อวารสารติดไว้ที่ชั้นวารสาร หรือจัดของชื่อวารสารติดไว้ที่ชั้นวารสาร หรือจัด
เรียงตามลำาดับสาขาวิชาของเรียงตามลำาดับสาขาวิชาของ
ชื่อวารสารเพื่อความสะดวกในการค้นหาและชื่อวารสารเพื่อความสะดวกในการค้นหาและ
การจัดเก็บการจัดเก็บ
2.2. วารสารฉบับล่วงเวลาวารสารฉบับล่วงเวลา (Back(Back
Issues)Issues) ห้องสมุดอาจจัดเก็บไว้ห้องสมุดอาจจัดเก็บไว้
ในกล่องวารสารแล้วเรียงตามลำาดับอักษรในกล่องวารสารแล้วเรียงตามลำาดับอักษร
ของชื่อวารสาร หรือเก็บไว้ที่ชั้นของชื่อวารสาร หรือเก็บไว้ที่ชั้น
การจัดเรียงจุลสารและการจัดเรียงจุลสารและ
กฤตภาคกฤตภาค
จุลสารและกฤตภาค เป็นสิ่งพิมพ์ขนาดจุลสารและกฤตภาค เป็นสิ่งพิมพ์ขนาด
เล็กและบางไม่สามารถเล็กและบางไม่สามารถ
นำาไปจัดเรียงได้เช่นเดียวกับหนังสือห้องสมุดนำาไปจัดเรียงได้เช่นเดียวกับหนังสือห้องสมุด
นิยมแยกจุลสารและกฤตภาคนิยมแยกจุลสารและกฤตภาค
ออกจากกันและแยกเป็นภาษาไทยกับภาษาออกจากกันและแยกเป็นภาษาไทยกับภาษา
ต่างประเทศ คือจัดเก็บใส่แฟ้มต่างประเทศ คือจัดเก็บใส่แฟ้ม
หรือกล่องไว้เป็นเรื่องๆ แต่ละเรื่องจะมีหัวหรือกล่องไว้เป็นเรื่องๆ แต่ละเรื่องจะมีหัว
เรื่องกำากับไว้ที่แฟ้มหรือกล่องเรื่องกำากับไว้ที่แฟ้มหรือกล่อง
เรียงลำาดับแฟ้มหรือกล่องตามลำาดับอักษรหัวเรียงลำาดับแฟ้มหรือกล่องตามลำาดับอักษรหัว
เรื่องเรื่อง เช่นเช่น
การศึกษาการศึกษา
การศึกษาการศึกษา - -- - การบริหารการบริหาร
การศึกษาการศึกษา - -- - การปฏิรูปการปฏิรูป
การศึกษาการศึกษา - -- - การวิจัยการวิจัย
การศึกษากับสังคมการศึกษากับสังคม
การจัดเรียงวัสดุไม่ตีการจัดเรียงวัสดุไม่ตี
พิมพ์พิมพ์
วัสดุไม่ตีพิมพ์ มีหลายประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ มีหลายประเภท
ห้องสมุดโดยทั่วไปห้องสมุดโดยทั่วไป
นิยมจัดเก็บโดยแยกประเภท แล้วนิยมจัดเก็บโดยแยกประเภท แล้ว
กำาหนดสัญลักษณ์แทนวัสดุกำาหนดสัญลักษณ์แทนวัสดุ
แต่ละประเภทแล้วจัดเรียงตามลำาดับแต่ละประเภทแล้วจัดเรียงตามลำาดับ
เลขทะเบียน เวลาต้องการใช้เลขทะเบียน เวลาต้องการใช้
ผู้ใช้จะเป็นคนเลือกรายการต่าง ๆ จากผู้ใช้จะเป็นคนเลือกรายการต่าง ๆ จาก
สมุดทะเบียนรายชื่อแล้วสมุดทะเบียนรายชื่อแล้ว
เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการจะเป็นผู้หยิบให้เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการจะเป็นผู้หยิบให้
ตัวอย่างสัญลักษณ์วัสดุโสตทัศน
วัสดุ
CT แถบบันทึกเสียงชนิดตลับ
Cassette Tap PT แถบบันทึกเสียง
ชนิดม้วน Phonotape PD
แผ่นเสียง Phonodisc
VC วีดิ ทัศน์ Video
Cassette Tape
CD ซีดี Compact Disc
MA แผนที่ Map
F ภาพยนตร์ Film
MF ไมโครฟิล์ม
Microfilm
SL สไลด์ Slide
ทดสอบ
เรียงหมวดหมู่ต่อไปนี้
1. 001.11 010 002.11
020.05
อ177ก ก65ค พ342ร
ฉ77ก
2. 658.8 658.08 658.08511
658
O12B Ae45A S162F
O11N
3. นว นว นว นว
ค774ภ ฉ15ก ว11ข ด910ต
4. รส รส รส รส
ก23ว ก111ก ก12อ ก123ก
5. 340.593 340.593 340.593
การบ้านการบ้าน
• ให้นักศึกษาท่องจำาการแบ่งหมวดหมู่
ในครั้งที่ 2 ของระบบดิวอี้
ต่อไปนี้ สอบท่อง
หมวด 300 ตั้งแต่ 310 – 390
หมวด 400 ตั้งแต่ 410 – 490
หมวด 600 ตั้งแต่ 610 – 690
• จับสลากเลือกหมวดหมู่ท่องวัน
พฤหัสฯ ที่ 26 เม.ย. 55

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2Ploykarn Lamdual
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library materialPloykarn Lamdual
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 

Was ist angesagt? (20)

โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxเฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
เฉลยแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 

หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ