SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
หนวยการเรียนรูที่ 2
                                        เรื่อง จํานวนและตัวเลข

รายวิชาที่นามาบูรณาการ
           ํ
   ศิลปะ และภาษาไทย

1. มาตรฐานการเรียนรู
   มฐ. ค 1.1, มฐ. ค 1.2 และ มฐ. ค 6.1
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
   2.1 ค 1.1 ม.1/1, 2
   2.2 ค 1.2 ม.1/1, 2
   2.3 ค 6.1 ม.1/2, 3, 4, 6
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 ระบบตัวเลขอียิปต
   3.2 ระบบตัวเลขบาบิโลน
   3.3 ระบบตัวเลขโรมัน
   3.4 ระบบตัวเลขฮินดูอารบิก
   3.5 ระบบตัวเลขฐานหา
   3.6 ระบบตัวเลขฐานสอง
   3.7 ระบบตัวเลขฐานสิบสอง
   3.8 การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข
   3.9 การบวกลบจํานวนของตัวเลขฐานตางๆ
4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
        1) การทําใบกิจกรรม 6 ใบ
        2) การสรางสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขตางๆ
   4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
        1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการหองสมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม
        2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                       63

5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม
                                                                  แนวทางการจัดการเรียนรู
        รองรอยการเรียนรู
                                                       บทบาทครู                             บทบาทนักเรียน
 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
    1) การทําใบกิจกรรม 6 ใบ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง                       - ฝกคิดตาม และรวมทํากิจกรรมใน
                                                                                 ชั้นเรียน
                                                                               - ทําใบงานแตละเรื่อง
     2) การสรางสัญลักษณใน            - แนะนําวิธีการเขียนสัญลักษณใน         - ใหนักเรียนเขียนสัญลักษณในระบบ
        ระบบตัวเลขตางๆ                  ระบบตัวเลขตางๆ                         ตัวเลขตางๆ
  5.2 ผลการปฏิบัตงาน ไดแก
                   ิ
     1) การปฏิบัติกิจกรรมใน            - แนะนําวิธการเขียนแผนผังความคิด - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด
                                                  ี
        ชั้นเรียนและใชบริการ            รวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหาประจําหนวย    ประจําหนวย
        หองสมุดของโรงเรียน            - แนะนําใหนกเรียนใชบริการหองสมุด - ใหนักเรียนไปคนควาเนื้อหาเพิ่ม
                                                    ั
        อยางเหมาะสม                     ของโรงเรียนอยางเหมาะสม             เติมในหองสมุดโรงเรียน
     2) การมีสวนรวมในการ             - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา    - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบ
        ปฏิบัติกิจกรรมกลุม              กิจกรรมกลุม                        หมายและชวยกันทํากิจกรรมในชั้น
                                                                             เรียน
  5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาใหนักเรียนทําแบบทดสอบ - ทําแบบทดสอบ
      ทางการเรียนหลังเรียนจบ
      หนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                        64

                                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/1
                                  เรื่อง ระบบตัวเลขอียิปตและระบบตัวเลขบาบิโลน
                                                   เวลา 1 ชั่วโมง


1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        เขาใจการเขียนและอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียปตและระบบตัวเลขบาบิโลน
                                                              ิ
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        นักเรียนสามารถเขียนและอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปตและระบบตัวเลขบาบิโลนได
2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) ระบบตัวเลขอียิปต
       2) ระบบตัวเลขบาบิโลน
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การตีความหมาย การสังเกต การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการสังเกต ทักษะการตีความหมาย ทักษะการคิดวิเคราะห
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) บัตรกิจกรรม
       2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และ 2
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงานรับผิดชอบ
        4) รวมกันทําบัตรกิจกรรม ตารางแสดงระบบตัวเลขอียิปตและระบบตัวเลขบาบิโลน
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และ 2
       7) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
       1) นักเรียนใหความรวมมือในการทํางานกลุม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                     65

       2) นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
       นั กเรียนเขาใจหลัก การเขี ยนและการอานสั ญ ลัก ษณ แทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปตและระบบตัวเลข
บาลิโบน
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
       1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
       2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
       3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
       ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
       ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตของมนุษยในสมัยกอนเกี่ยวกับการใชสัญลักษณแทนจํานวน
และพัฒนาการในการใชตัวอักษรโดยเริ่มจากระบบตัวเลขอียิปต ตามดวยระบบตัวเลขบาบิโลน
   5.2 ขั้นสอน
                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
 1. ครูแนะนํ าระบบตั วเลขอี ยิป ต โดยใชแ ผนภาพแสดงตารางคาของตัว เลขในระบบ           ทักษะการคิดวิเคราะห
    ตัวเลขอียิปต แลวใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวนในระบบฐานสิบ แลวอาสา          ทักษะการสังเกต
    ออกมาเขียนสัญลักษณในระบบตัวเลขอียิปตแทนจํานวนดังกลาว เชน
    4 เขียนแทนดวยระบบตัวเลขอียิปต คือ ครูอธิบายเพิ่มเติมวาระบบตัวอียปตยังไมมี
                                                                           ิ
    คาประจําหลัก
 2. ใหนักเรียนศึกษาระบบตัวเลขบาบิโลนจากหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตร เพิ่มเติม          ทักษะการสังเกต
    ม.1 ภาคเรียนที่ 1 และชวยกันแสดงความคิดเห็น โดยจะมีสัญลักษณ 2 แบบ แทน             ทักษะการคิดวิเคราะห
    ซึ่ง สัญลักษณแทน 1 และ สัญลักษณแทน 10 ถึงสัญลักษณที่ใชแทนจํานวนใน              ทักษะการตีความหมาย
    ระบบบาบิโลนพรอมทั้งยกตัวอยางจํานวน แลวเขียนแทนดวยระบบตัวเลขบาบิโลน
 3. แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 5 คน แตละกลุมเลือกหัวหนากลุม หัวหนากลุมแบงงานรับ
    ผิดชอบตัวแทนกลุมออกมารับบัตรกิจกรรม โดยในบัตรกิจกรรมจะใหแตละกลุม               ทักษะการตีความหมาย
    เขียนสัญลักษณในระบบตัวเลขอียิปตหรือตัวเลขบาบิโลนจากจํานวนที่กําหนดให            ทักษะการคิดวิเคราะห
    กลุมละ 1 ขอ ใหเวลากลุมละ 5 นาที
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                   66

                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
 4. ครูและนักเรียนกลุมที่ตั้งโจทยชวยกันเฉลยคําตอบ
 5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ ากิ จ กรรมตรวจสอบความเข าใจ 1 และ 2 ในหนั ง สื อ เรี ย นแม็ ค
    คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหนักเรียนทําเปนกลุม (กลุมเดิม) ใหเวลา
    ตามความเหมาะสม

     5.3 ขั้นสรุป
          ครูใหนกเรียนชวยกันสรุประบบตัวเลขอียปตและระบบตัวเลขบาบิโลน ดังนี้
                  ั                             ิ
          - ระบบตัวเลขอียปตจะมีสัญลักษณแทนจํานวนทั้งหมด 9 ตัว
                            ิ                                                           แทน จํานวน 1,
10 , 100 , 1,000 , 10,000 , 100,000 และ 1,000,000 ตามลําดับ
          - ระบบตัวเลขบาบิโลน มีสญลักษณแทนจํานวน อยู 2 ตัว คือ ( แทน 1 และ แทน 10) โดยตัวเลขบาบิโลน
                                     ั
ตั้งแต 1 ถึง 59 จะไมมีคาประจําหลัก
                         

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - บัตรกิจกรรม
        - แผนภาพสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต
        - กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และ 2
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ครูมอบหมายใหนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติมเรื่องระบบตัวเลขอียิปต ระบบตัวเลขบาบิโลน พรอมทั้งคิด
จํานวน คนละ 5 จํานวน แลวเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขทั้งสองระบบ
        ขั้นวิเคราะห
        ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหหลักการเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต และระบบตัวเลข
บาบิโลน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                              67

         ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะ แลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทํา
เปนรูปเลมรายงาน
         ขั้นประยุกตใช
         ครูใหนักเรียนคัดเลือกผลงานที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องการเขียนสัญลักษณแทนจํานวนของระบบ
ตัวเลขอียิปต และระบบตัวเลขบาบิโลน
     7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
         -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                68

8. บันทึกหลังการสอน
                                                   บันทึกหลังสอน
                                     (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
            ประเด็นการบันทึก                                จุดเดน                               จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู



 2. การใชสื่อการเรียนรู



 3. การประเมินผลการเรียนรู



 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน


 บันทึกเพิ่มเติม
 …………………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………….…..
 …………………………………………………………………………………………………………………………
 ..…………………………………………………………………………………………………………………..……


                                                                       ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ………………………………………………………………………………………………………………….…..…
 ………………………………………………………………………………………………………………….…….
 ……………………………………………………………………………………………………………….……..…
 …..…………………………………………………………………………………………………………….………

                                                                       ลงชื่อ................................................................
                                                                       ตําแหนง...........................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1          69

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   บัตรกิจกรรม

   12,300 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต      เฉลย

   25,690 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต      เฉลย


  1,812 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขบาบิโลน        เฉลย


 43,944 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขบาบิโลน        เฉลย

  269,000 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต      เฉลย



   63,651 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต      เฉลย


   4,569 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต       เฉลย



   5,304 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต       เฉลย


 43,974 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขบาบิโลน        เฉลย
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                          70

    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                                     แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
  ชื่อนักเรียน................................................................ ชั้น............... วันที่............ เดือน.......................... ป................
  ครั้งที่.................................................... ผูสังเกต........................................................................................................
                                                                                                                     ระดับการประเมิน
                              หัวขอการประเมิน
                                                                                             ดีมาก                   ดี       พอใช                     ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรู/ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใช ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ ท าง
   คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย



    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                           แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น.................................. ประจําวันที่............................................ กลุมที่............................

                                                                                                          ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                               ดีมาก                   ดี    ปานกลาง      นอย                                นอยมาก
    การวางแผนแบงงาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                          71

                                            แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/2
                                เรื่อง ระบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิก
                                                  เวลา 1 ชั่วโมง


1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        เขาใจการเขียนและอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิก
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        นักเรียนสามารถเขียนและอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิกได
2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
        1) ระบบตัวเลขโรมัน
        2) ระบบตัวเลขฮินดูอารบิก
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
        การตีความหมาย การสังเกต การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการสังเกต ทักษะการตีความหมาย ทักษะการคิดวิเคราะห
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) บัตรกิจกรรม
       2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3
       3) แบบฝกหัด 1
       4) ตารางแสดงระบบตัวเลขตางๆ
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ
       1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงานรับผิดชอบ
       4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรมตารางแสดงระบบตัวเลขตางๆ
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัด 1
        7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                            72

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) นักเรียนใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นั ก เรียนเข าใจหลั กการเขียนและการอ านสั ญ ลัก ษณ แทนจํานวนในระบบตัวเลขโรมั น และระบบตัวเลข
ฮินดูอารบิก
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
       1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
       2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
       3) ทําไดถกตอง 80% ขึ้นไป
                 ู
   การสรุปผลการประเมิน
       ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
          ครูทบทวนการเขียนและการอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต และระบบตัวเลขบาบิโลน โดย
ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวน แลวอาสาสมัครออกมาเขียนสัญลักษณแทนจํานวนทั้ง 2 ระบบบนกระดาน
    5.2 ขั้นสอน
                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                           ฝกการคิดแบบ
 1. ครูนําตารางแสดงระบบตัวเลขโรมัน และระบบตัวเลขฮินดูอารบิกมาใหนักเรียนดู ทักษะการสังเกต
    และสังเกตขอแตกตางระหวางระบบตัวเลขทั้งสอง โดยครูแนะนําระบบตัวเลขโรมัน ทักษะการคิดวิเคราะห
    เพิ่มเติม ดังนี้ เงื่อนไขของการเขียนตัวเลขโรมัน คือ
    1) สัญลักษณจะเรียงจากสัญลักษณที่มีคามากไปยังสัญลักษณที่มคานอย
                                                                   ี
    2) มีสัญลักษณท่ทําหนาที่เปนตัวลบอยู 3 ตัว คือ I, X, และ C โดย
                          ี
         I จะอยูหนา V และ X เทานั้น เชน 4 เขียนแทนดวย IV
                                              8 เขียนแทนดวย VIII
         X จะอยูหนา L และ C เทานั้น เชน 40 เขียนแทนดวย XL
                                             90 เขียนแทนดวย XC
         C จะอยูหนา D และ M เทานั้น เชน 300 เขียนแทนดวย CCC
                                            700 เขียนแทนดวย DCC
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                    73


                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
 2. ครูยกตัวอยางจํานวนนับใหนักเรียนอาสาสมัครออกมาเขียนสัญลักษณแทนจํานวน ทักษะการตีความหมาย
    ในระบบตัวเลขโรมัน เชน 357 เขียนแทนดวยตัวเลขโรมัน คือ CCCLVII                    ทักษะการคิดวิเคราะห
 3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน แลวครูแจกบัตรกิจกรรมแตละกลุม โดยใหแตละ ทักษะการคิดวิเคราะห
    กลุมเลือกหัวหนากลุมเพื่อออกมานําเสนอคําตอบหนาชั้นเรียน โดยในบัตรกิจกรรม
    ของแตละกลุมจะมีจํานวนนับที่เขียนเปนตัวเลขฮินดูอารบิก ครูใหเวลา 3 นาที แลว
    ใหตัวแทนกลุมออกมาเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขโรมัน
 4. ครูเฉลยบัตรกิจกรรมทั้งหมด
 5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัดที่ 1 ในหนังสือ
    เรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหนักเรียนทําเปนกลุม (กลุม
    เดิม) ใหเวลาตามความเหมาะสม
 6. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ


    5.3 ขั้นสรุป
        ครูใหนักเรียนชวยกันสรุประบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิก ดังนี้
        - ระบบตัวเลขโรมัน มีสัญลักษณพื้นฐานที่ใช 7 ตัว ไดแก I, V, X, L, C, D, M แทนจํานวน 1, 5, 10, 50,
100, 500 และ 1,000 ตามลําดับ
        - ระบบตัวเลขฮินดูอารบิก เปนระบบตัวเลขฐานสิบมีสัญลักษณที่ใชอยู 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8
และ 9
6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - บัตรกิจกรรม
        - กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัดที่ 1
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้
       ขั้นรวบรวมขอมูล
       ครูมอบหมายใหนักเรียนคนควาความรูเพิ่มเติม เรื่องระบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิก
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                  74

           ขั้นวิเคราะห
           ใหนักเรียนแตละคนคนควาหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบตัวเลขโรมัน และระบบตัวเลขฮินดูอารบิก ใน
Internet
        ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทํา
เปนรูปเลมรายงาน
        ขั้นประยุกตใช
         ครูให นั ก เรียนคัด เลื อกผลงานที่ น าสนใจมาจัดบอรดให ความรูเรื่องระบบตัวเลขโรมั น และระบบตัวเลข
ฮินดูอารบิก
    7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
         -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                75

8. บันทึกหลังการสอน
                                                   บันทึกหลังสอน
                                     (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
           ประเด็นการบันทึก                                 จุดเดน                              จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู


 2. การใชสื่อการเรียนรู


 3. การประเมินผลการเรียนรู


 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 …………………………………………………………………………………………………………….………...…
 …………………………………………………………………………………………………………….………...…
 …………………………………………………………………………………………………………….………...…
 …………………………………………………………………………………………………………….………...…


                                                                       ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน


 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ……………………………………………………………………………………………………………….…..……
 ……………………………………………………………………………………………………………….…..……
 ……………………………………………………………………………………………………………….…..……
 ……………………………………………………………………………………………………………….…..……


                                                                       ลงชื่อ................................................................
                                                                       ตําแหนง...........................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                          76

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   บัตรกิจกรรม

       426            เฉลย 426 = 400 + 20 + 6               เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ CDXXVI

      1,203           เฉลย 1,203 = 1,000 + 200 + 3          เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MCCIII

       984            เฉลย 984 = 900 + 80 + 4               เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ CMLXXXIV

       209            เฉลย 209 = 200 + 9                    เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ CCIX

      2,560           เฉลย 2,560 = 2,000 + 500 + 60         เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MMDLX

      8,912           เฉลย 8,912 = 8,000 + 900 + 10 + 2 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MMCCMXII

      3,232           เฉลย 3,232 = 3,000 + 200 + 30 + 2 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MMMCCXXXII

        99            เฉลย 99 = 90 + 9                      เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ XCIX

       199            เฉลย 199 = 100 + 90 + 9               เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ CXCIX

      4,999           เฉลย 4,999 = 4,000 + 900 + 90 + 9 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MLCMXCIX
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                          77

    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                                     แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
  ชื่อนักเรียน................................................................ ชั้น............... วันที่............ เดือน.......................... ป................
  ครั้งที่.................................................... ผูสังเกต........................................................................................................
                                                                                                                     ระดับการประเมิน
                              หัวขอการประเมิน
                                                                                             ดีมาก                   ดี       พอใช                     ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรู/ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใช ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ ท าง
   คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย



    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                           แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น.................................. ประจําวันที่............................................ กลุมที่............................

                                                                                                          ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                               ดีมาก                   ดี    ปานกลาง      นอย                                นอยมาก
    การวางแผนแบงงาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                     78

                                                แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/3
                                                 เรื่อง ระบบตัวเลขฐานหา
                                                        เวลา 1 ชั่วโมง


1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        เขาใจระบบตัวเลขฐานหา
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) นักเรียนสามารถบอกคาของเลขโดดในตัวเลขฐานหาได
        2) เขียนตัวเลขฐานที่กําหนดใหเปนตัวเลขฐานหาได
2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) การเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานหาในรูปกระจาย
       2) การเปลี่ยนฐานตัวเลขโดยใชความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานหา
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดคํานวณ การสังเกต การตีความหมาย การคิดวิเคราะห
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย ทักษะการสังเกต
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) บัตรกิจกรรม
       2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 และ 5
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 และ 5
        7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                             79

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) นักเรียนใหความรวมมือในการทํากิจกรรมกลุม
        2) นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนเขาใจการบอกคาของเลขโดดและการเขียนตัวเลขที่กาหนดใหเปนตัวเลขฐานหา
                                                             ํ
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
       1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
       2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
       3) ทําไดถูกตอง 60% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
       ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
       ครูทบทวนเกี่ยวกับตัวเลขฮินดูอารบิก การเขียนในรูปกระจายของจํานวนนับ
       เชน      4,250 = 4,000 + 200 + 50
                        = (4 × 1,000) + (2 × 100) + (5 × 10)
                        = (4 × 103) + (2 × 102) + (5 × 101)

    5.2 ขั้นสอน
                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                                           ฝกการคิดแบบ
 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 5 แลวนักเรียนอาสาสมัคร                ทักษะการตีความหมาย
    ออกมาเขียนเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 5 เชน 52 = 25 , 53 = 125 ,                              ทักษะการคิดวิเคราะห
 2. ครูแนะนําระบบตัวเลขฐานหา โดยนําตารางแสดงหลักและคาประจําหลักในระบบ                        ทักษะการคิดคํานวณ
    ตัวเลขฐานหาประกอบ แลวอธิบายเพิ่มเติมวาระบบตัวเลขฐานหาใชเลขโดด 4 ตัว
    คือ 0, 1, 2, 3 และ 4
 3. นั ก เรียนแบ งกลุม กลุ ม ละ 5 คน แตล ะกลุ มเลือ กหั วหน ากลุม เพื่ อออกมานํ าเสนอ   ทักษะการตีความหมาย
    คําตอบ หัวหนากลุมแบงงานรับผิดชอบตัวแทนกลุมอกมารับบัตรกิจกรรม โดยใน                     ทักษะการคิดวิเคราะห
    บัตรกิจกรรมจะใหแตละกลุมเปลี่ยนตัวเลขจากฐานหาเปนฐานสิบและเปลี่ยนจากตัว
    เลขฐานสิบเปนเลขฐานหากลุมละ 1 ขอ
 4. ครูและนักเรียนกลุมอื่นชวยกันตรวจคําตอบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                    80

                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
 5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ ากิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ 4 และ 5 ในหนั ง สื อ เรี ย นแม็ ค
    คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหทําเปนกลุม (กลุมเดิม) ใหเวลาตามความ
    เหมาะสม
 6. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ

    5.3 ขั้นสรุป
        ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปหลักการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานหา ดังนี้
        วิธีที่ 1 นําตัวเลขในระบบตัวเลขฐานหาที่มีคาไมเกินจํานวนที่โจทยกําหนด แลวนํามาหารจํานวนในโจทย
จากมากไปนอยจนครบทุกจํานวน เขียนผลหารไวดานขวาแลวนําผลหารจากครั้งแรกจนถึงครั้งสุดทายมาเขียนเรียงกัน
        วิธีที่ 2 นํา 5 ไปหารจํานวนที่ตองการไปจนกวาจะหารไมได แลวเขียนเศษจากการหารแตละขั้นไวดานขวา
นําเศษจากการหารมาเขียนเรียงกันจากขั้นสุดทายไปจนถึงขั้นแรก
6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - แผนตารางแสดงหลักและคาประจําหลักของระบบตัวเลขฐานหา
        - บัตรกิจกรรม
        - กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 และ 5
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ครูมอบหมายใหนักเรียนไปคนควาขอมูลเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานหา จากแหลงการเรียนรูตามความสนใจ
        ขั้นวิเคราะห
        นักเรียนวิเคราะหวาระบบตัวเลขฐานหานําไปใชเกี่ยวกับเรื่องใดบาง
        ขั้นสรุป
        ครูตรวจผลงานของแตละคนพรอมใหขอเสนอแนะ แลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลม
รายงาน
        ขั้นประยุกตใช
        ครูใหนกเรียนคัดเลือกผลงานที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานหา
                ั
    7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
        -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                81

8. บันทึกหลังการสอน
                                                   บันทึกหลังสอน
                                     (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
             ประเด็นการบันทึก                               จุดเดน                               จุดที่ควรปรับปรุง

  1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู


  2. การใชสื่อการเรียนรู


  3. การประเมินผลการเรียนรู


  4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ………………………………………………………………………………………………………………..……..…
 ………………………………………………………………………………………………………………..……..…
 ………………………………………………………………………………………………………………..……..…
 ………………………………………………………………………………………………………………..……..…


                                                                       ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน


 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 …………………………………………………………………………………………………………………..…….
 …………………………………………………………………………………………………………………..…….
 …………………………………………………………………………………………………………………..…….
 …………………………………………………………………………………………………………………..…….


                                                                       ลงชื่อ................................................................
                                                                       ตําแหนง...........................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                    82

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   บัตรกิจกรรม


          จงเปลี่ยน 435 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                 เฉลย   23


          จงเปลี่ยน 425 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                 เฉลย   22


          จงเปลี่ยน 1025 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                เฉลย   27


         จงเปลี่ยน 30245 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                เฉลย   389


         จงเปลี่ยน 21345 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                เฉลย   294


          จงเปลี่ยน 748 ใหเปนตัวเลขฐานหา                 เฉลย   104435


         จงเปลี่ยน 1,254 ใหเปนตัวเลขฐานหา                เฉลย   200045


          จงเปลี่ยน 3,546 ใหเปนตัวเลขฐานหา               เฉลย   1031415


          จงเปลี่ยน 6,548 ใหเปนตัวเลขฐานหา               เฉลย   202143


          จงเปลี่ยน 4,548 ใหเปนตัวเลขฐานหา               เฉลย   121143
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                          83

    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                                     แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
  ชื่อนักเรียน................................................................ ชั้น............... วันที่............ เดือน.......................... ป................
  ครั้งที่.................................................... ผูสังเกต........................................................................................................
                                                                                                                     ระดับการประเมิน
                              หัวขอการประเมิน
                                                                                             ดีมาก                   ดี       พอใช                     ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรู/ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใช ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ ท าง
   คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย



    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                           แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น.................................. ประจําวันที่............................................ กลุมที่............................

                                                                                                          ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                               ดีมาก                   ดี    ปานกลาง      นอย                                นอยมาก
    การวางแผนแบงงาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                     84

                                                แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/4
                                                เรื่อง ระบบตัวเลขฐานสอง
                                                        เวลา 2 ชั่วโมง


1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        เขาใจระบบตัวเลขฐานสอง
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) บอกคาของเลขโดดในตัวเลขฐานสองได
        2) เขียนตัวเลขฐานที่กาหนดใหเปนตัวเลขฐานสองได
                             ํ
2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) การเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานสองในรูปกระจาย
       2) การเปลี่ยนฐานตัวเลขโดยใชความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานสอง
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดคํานวณ การสังเกต การตีความหมาย การคิดวิเคราะห
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย ทักษะการสังเกต
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) บัตรกิจกรรม
       2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6
        7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                              85

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) นักเรียนใหความรวมมือในการทํากิจกรรมกลุม
        2) นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนเขาใจการบอกคาของเลขโดดและการเขียนตัวเลขที่กาหนดใหเปนตัวเลขฐานสอง
                                                             ํ
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
       1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
       2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
       3) ทําไดถูกตอง 60% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
       ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
         ครูทบทวนระบบตัวเลขฐานหา โดยนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวนในระบบตัวเลขฐานหา แลวอาสาสมัครออก
มาเขียนจํานวนใหอยูในระบบตัวเลขฐานสิบ
    5.2 ขั้นสอน
                                    กิจกรรมการเรียนการสอน                                           ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1
 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 2 แลวนักเรียนอาสาสมัครออก              ทักษะการตีความหมาย
     มาเขียนเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 2 เชน 22 = 4 , 23 = 8                                      ทักษะการคิดวิเคราะห
 2. ครูแนะนําระบบตัวเลขฐานสอง โดยนําตารางแสดงหลักและคาประจําหลักในระบบ
     ตัวเลขฐานสองประกอบ แลวอธิบายเพิ่มเติมวาระบบตัวเลขฐานหาใชเลขโดด 2 ตัว คือ
     0 และ 1 ความสําคัญของระบบตัวเลขฐานสอง คือ ใชในระบบคอมพิวเตอร
 3. นักเรียนอาสาสมัครยกตัวอยางระบบตัวเลขฐานสอง แลวใหเพื่อนในหองชวยกันเขียน                 ทักษะการคิดวิเคราะห
     ในรูปการกระจาย พรอมทั้งหาผลลัพธ                                                          ทักษะการคิดคํานวณ
 4. นักเรียนแตละคนยกตัวอยางระบบตัวเลขฐานสองคนละ 1 จํานวน พรอมทั้งเขียนใน
     รูปกระจายหาผลลัพธ แลวออกมานําเสนอหนาชั้นเรียนเปนรายบุคคล
 5. ครูและนักเรียนชวยกันตรวจคําตอบ
 6. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ 6 ข อ 1 ในหนั ง สื อ เรี ย นแม็ ค
     คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหทําเปนรายบุคคล แลวสรางโจทยเพิ่มขึ้น
     อีก คนละ 3 ขอ
 7. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                  86



                                    กิจกรรมการเรียนการสอน                                                  ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 2
 1. ครูแนะนํานักเรียนถึงการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานสองในรูปกระจายแลวหาคําตอบ
     เรียกอีกอยางหนึ่งวา การเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานสองเปนตัวเลขฐานสิบ
 2. ครูนําแถบโจทยการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานสองเปนตัวเลขฐานสิบมาใหนักเรียนชวย                           ทักษะการตีความหมาย
     กันหาคําตอบ เชน                                                                                   ทักษะการคิดวิเคราะห
                            110112 = (1 × 24) + (1 × 23) + (0 × 22) + (1 × 21) + 1                      ทักษะการคิดคํานวณ
                                      = 16 + 8 + 0 + 2 + 1
                                      = 27
 3. ครูแนะนํากรณีเปลี่ยนตัวเลขฐานสิบใหเปนระบบตัวเลขฐานสองมีวิธีการทําอยู 2 วิธี                      ทักษะการตีความหมาย
     ไดแก                                                                                             ทักษะการคิดวิเคราะห
      วิธีท่ี 1 นําตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสองที่มีคาไมเกินจํานวนที่โจทยกําหนด แลวนํา
     มาหารจํานวนในโจทยจากมากไปนอยจนครบทุกจํานวนเขียนผลหารไวดานขวาแลว
     นําผลหารจากครั้งแรกจนถึงครั้งสุดทายมาเขียนเรียงกัน
     วิธีที่ 2 นํา 2 ไปหารจํานวนที่ตองการไปจนกวาจะหารไมไดแลวเขียนเศษจากการหาร
     แตละขั้นไวดานขวา นําเศษจากการหารมาเขียนเรียงกันจากขั้นสุดทายไปจนถึงขั้นแรก
 4. นั ก เรี ย นแบ งกลุ ม กลุ ม ละ 3 คน แต ล ะกลุ ม เลื อ กหั ว หน ากลุ ม เพื่ อ ออกมานํ าเสนอ   ทักษะการตีความหมาย
     คําตอบ หัวหนากลุมแบงงานรับผิดชอบตัวแทนกลุมออกมารับบัตรกิจกรรม โดยใน                            ทักษะการคิดวิเคราะห
     บัตรกิจกรรมจะใหแตละกลุมเปลี่ยนตัวเลขจากฐานสองเปนฐานสิบและเปลี่ยนจาก                            ทักษะการคิดคํานวณ
     ตัวเลขฐานสิบเปนฐานสองกลุมละ 1 ขอ
 5. ครูและนักเรียนกลุมอื่นชวยกันตรวจคําตอบ
 6. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ 6 ข อ 2 ในหนั ง สื อ เรี ย นแม็ ค
     คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหทําเปนกลุม (กลุมเดิม) ใหเวลาตามความ
     เหมาะสม
 7. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ

   5.3 ขั้นสรุป
       ระบบตัวเลขฐานสองเปน ระบบตัวเลขที่ใชเลขโดด 2 ตัว คือ 0 และ 1 ซึ่งมีความสํ าคัญ ในการนําไปใชใน
ระบบคอมพิวเตอร
       ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปหลักการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานสอง ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                              87

       วิธีที่ 1 นําตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสองที่มีคาไมเกินจํานวนที่โจทยกําหนด แลวนํามาหารจํานวนในโจทย
จากมากไปนอยจนครบทุกจํานวน เขียนผลหารไวดานขวา แลวนําผลหารจากครั้งแรกจนถึงครั้งสุดทายมาเขียนเรียงกัน
       วิธีที่ 2 นํา 2 ไปหารจํานวนที่ตองการไปจนกวาจะหารไมได แลวเขียนเศษจากการหารแตละขั้นไวดานขวา
นําเศษจากการหารมาเขียนเรียงกันจากขั้นสุดทายไปจนถึงขั้นแรก
6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - แผนตารางแสดงหลักและคาประจําหลักของระบบตัวเลขฐานสอง
        - แถบโจทยระบบตัวเลขฐานสอง
        - บัตรกิจกรรม
        - กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ครูมอบหมายใหนักเรียนไปคนควาขอมูลเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานสองจากแหลงการเรียนรูตามความสนใจ
        ขั้นวิเคราะห
        นักเรียนวิเคราะหวาระบบตัวเลขฐานสองนําไปใชเกี่ยวกับเรื่องใดบาง
        ขั้นสรุป
        ครูตรวจผลงานของแตละคนพรอมใหขอเสนอแนะ แลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลม
รายงาน
        ขั้นประยุกตใช
        ครูใหนักเรียนคัดเลือกผลงานที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานสอง
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
        ครูสามารถบูรณาการการเรียนกับกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยกําหนดภาระงานให
นักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานสองที่ใชในคอมพิวเตอร
                              ภาระงาน “ขอมูลระบบตัวเลขฐานสองกับคอมพิวเตอร”
ผลการเรียนรู         ใชกระบวนการสืบคนบอกความสําคัญของระบบตัวเลขฐานสอง
ผลงานที่ตองการ ขอมูลระบบตัวเลขฐานสองกับคอมพิวเตอร
           
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                 88

ขั้นตอนการทํางาน 1.        ศึกษาระบบตัวเลขฐานสอง
                 2.        ศึกษาวิธีการสืบคนจากคอมพิวเตอร
                 3.        สืบคนความสําคัญของระบบตัวเลขฐานสองกับคอมพิวเตอร
                 4.        นําเสนอผลงานใหเพื่อนชวยกันแสดงความคิดเห็น
                 5.        นักเรียนชวยกันคัดเลือกผลงานที่นาสนใจติดปายนิเทศใหความรู
เกณฑการประเมิน 1.         ความถูกตองตามหัวขอเรื่อง
                 2.        ความครบถวนของเนื้อหา
                 3.        ความนาสนใจของเนื้อหา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                89

8. บันทึกหลังการสอน
                                                   บันทึกหลังสอน
                                     (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
             ประเด็นการบันทึก                               จุดเดน                               จุดที่ควรปรับปรุง

  1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู


  2. การใชสื่อการเรียนรู


  3. การประเมินผลการเรียนรู


  4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ………………………………………………………………………………………………………………..……..…
 ………………………………………………………………………………………………………………..……..…
 ………………………………………………………………………………………………………………..……..…
 ………………………………………………………………………………………………………………..……..…


                                                                       ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน


 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 …………………………………………………………………………………………………………………..…….
 …………………………………………………………………………………………………………………..…….
 …………………………………………………………………………………………………………………..…….
 …………………………………………………………………………………………………………………..…….


                                                                       ลงชื่อ................................................................
                                                                       ตําแหนง...........................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                   90

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   บัตรกิจกรรมระบบตัวเลขฐานสอง

        จงเปลี่ยน 110102 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                เฉลย 26



        จงเปลี่ยน 101012 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                เฉลย 21



         จงเปลี่ยน 11112 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                เฉลย 15



       จงเปลี่ยน 1011012 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ                เฉลย 45



       จงเปลี่ยน 10011012 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ               เฉลย 77



          จงเปลี่ยน 65 ใหเปนตัวเลขฐานสอง                  เฉลย 10000012



         จงเปลี่ยน 36 ใหเปนตัวเลขฐานสอง                   เฉลย 1001002



         จงเปลี่ยน 123 ใหเปนตัวเลขฐานสอง                  เฉลย 11110112



          จงเปลี่ยน 73 ใหเปนตัวเลขฐานสอง                  เฉลย 10010012


          จงเปลี่ยน 47 ใหเปนตัวเลขฐานสอง                  เฉลย 1011112
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                          91

    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                                     แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
  ชื่อนักเรียน................................................................ ชั้น............... วันที่............ เดือน.......................... ป................
  ครั้งที่.................................................... ผูสังเกต........................................................................................................
                                                                                                                     ระดับการประเมิน
                              หัวขอการประเมิน
                                                                                             ดีมาก                   ดี       พอใช                     ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรู/ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใช ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ ท าง
   คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย



    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                           แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น.................................. ประจําวันที่............................................ กลุมที่............................

                                                                                                          ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                               ดีมาก                   ดี    ปานกลาง      นอย                                นอยมาก
    การวางแผนแบงงาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1                    92

                                               แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/5
                                              เรื่อง ระบบตัวเลขฐานสิบสอง
                                                       เวลา 2 ชั่วโมง


1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        เขาใจระบบตัวเลขฐานสิบสอง
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) บอกคาของเลขโดดในตัวเลขฐานสิบสองได
        2) เขียนตัวเลขฐานที่กาหนดใหเปนตัวเลขฐานสิบสองได
                             ํ
2. สาระสําคัญ
       2.1 สาระการเรียนรู
       1) การเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานสิบสองในรูปกระจาย
       2) การเปลี่ยนฐานตัวเลขโดยใชความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานสิบสอง
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดคํานวณ การสังเกต การตีความหมาย การคิดวิเคราะห
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย ทักษะการสังเกต
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) บัตรกิจกรรม
       2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 และแบบฝกหัด 2
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 และแบบฝกหัด 2
        7) สงงาน
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2kroojaja
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวDestiny Nooppynuchy
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมkanjana2536
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณaapiaa
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 

What's hot (20)

โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
 
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

Similar to Unit2

Similar to Unit2 (20)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (20)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Unit2

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง จํานวนและตัวเลข รายวิชาที่นามาบูรณาการ ํ ศิลปะ และภาษาไทย 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 1.1, มฐ. ค 1.2 และ มฐ. ค 6.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ 2.1 ค 1.1 ม.1/1, 2 2.2 ค 1.2 ม.1/1, 2 2.3 ค 6.1 ม.1/2, 3, 4, 6 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 ระบบตัวเลขอียิปต 3.2 ระบบตัวเลขบาบิโลน 3.3 ระบบตัวเลขโรมัน 3.4 ระบบตัวเลขฮินดูอารบิก 3.5 ระบบตัวเลขฐานหา 3.6 ระบบตัวเลขฐานสอง 3.7 ระบบตัวเลขฐานสิบสอง 3.8 การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข 3.9 การบวกลบจํานวนของตัวเลขฐานตางๆ 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทําใบกิจกรรม 6 ใบ 2) การสรางสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขตางๆ 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการหองสมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 63 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทําใบกิจกรรม 6 ใบ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝกคิดตาม และรวมทํากิจกรรมใน ชั้นเรียน - ทําใบงานแตละเรื่อง 2) การสรางสัญลักษณใน - แนะนําวิธีการเขียนสัญลักษณใน - ใหนักเรียนเขียนสัญลักษณในระบบ ระบบตัวเลขตางๆ ระบบตัวเลขตางๆ ตัวเลขตางๆ 5.2 ผลการปฏิบัตงาน ไดแก ิ 1) การปฏิบัติกิจกรรมใน - แนะนําวิธการเขียนแผนผังความคิด - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด ี ชั้นเรียนและใชบริการ รวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหาประจําหนวย ประจําหนวย หองสมุดของโรงเรียน - แนะนําใหนกเรียนใชบริการหองสมุด - ใหนักเรียนไปคนควาเนื้อหาเพิ่ม ั อยางเหมาะสม ของโรงเรียนอยางเหมาะสม เติมในหองสมุดโรงเรียน 2) การมีสวนรวมในการ - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบ ปฏิบัติกิจกรรมกลุม กิจกรรมกลุม หมายและชวยกันทํากิจกรรมในชั้น เรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาใหนักเรียนทําแบบทดสอบ - ทําแบบทดสอบ ทางการเรียนหลังเรียนจบ หนวยการเรียนรู
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 64 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/1 เรื่อง ระบบตัวเลขอียิปตและระบบตัวเลขบาบิโลน เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู เขาใจการเขียนและอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียปตและระบบตัวเลขบาบิโลน ิ 1.2 จุดประสงคการเรียนรู นักเรียนสามารถเขียนและอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปตและระบบตัวเลขบาบิโลนได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) ระบบตัวเลขอียิปต 2) ระบบตัวเลขบาบิโลน 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การตีความหมาย การสังเกต การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการสังเกต ทักษะการตีความหมาย ทักษะการคิดวิเคราะห 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) บัตรกิจกรรม 2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และ 2 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงานรับผิดชอบ 4) รวมกันทําบัตรกิจกรรม ตารางแสดงระบบตัวเลขอียิปตและระบบตัวเลขบาบิโลน 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และ 2 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) นักเรียนใหความรวมมือในการทํางานกลุม
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 65 2) นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นั กเรียนเขาใจหลัก การเขี ยนและการอานสั ญ ลัก ษณ แทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปตและระบบตัวเลข บาลิโบน 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตของมนุษยในสมัยกอนเกี่ยวกับการใชสัญลักษณแทนจํานวน และพัฒนาการในการใชตัวอักษรโดยเริ่มจากระบบตัวเลขอียิปต ตามดวยระบบตัวเลขบาบิโลน 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1. ครูแนะนํ าระบบตั วเลขอี ยิป ต โดยใชแ ผนภาพแสดงตารางคาของตัว เลขในระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวเลขอียิปต แลวใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวนในระบบฐานสิบ แลวอาสา ทักษะการสังเกต ออกมาเขียนสัญลักษณในระบบตัวเลขอียิปตแทนจํานวนดังกลาว เชน 4 เขียนแทนดวยระบบตัวเลขอียิปต คือ ครูอธิบายเพิ่มเติมวาระบบตัวอียปตยังไมมี ิ คาประจําหลัก 2. ใหนักเรียนศึกษาระบบตัวเลขบาบิโลนจากหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตร เพิ่มเติม ทักษะการสังเกต ม.1 ภาคเรียนที่ 1 และชวยกันแสดงความคิดเห็น โดยจะมีสัญลักษณ 2 แบบ แทน ทักษะการคิดวิเคราะห ซึ่ง สัญลักษณแทน 1 และ สัญลักษณแทน 10 ถึงสัญลักษณที่ใชแทนจํานวนใน ทักษะการตีความหมาย ระบบบาบิโลนพรอมทั้งยกตัวอยางจํานวน แลวเขียนแทนดวยระบบตัวเลขบาบิโลน 3. แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 5 คน แตละกลุมเลือกหัวหนากลุม หัวหนากลุมแบงงานรับ ผิดชอบตัวแทนกลุมออกมารับบัตรกิจกรรม โดยในบัตรกิจกรรมจะใหแตละกลุม ทักษะการตีความหมาย เขียนสัญลักษณในระบบตัวเลขอียิปตหรือตัวเลขบาบิโลนจากจํานวนที่กําหนดให ทักษะการคิดวิเคราะห กลุมละ 1 ขอ ใหเวลากลุมละ 5 นาที
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 66 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 4. ครูและนักเรียนกลุมที่ตั้งโจทยชวยกันเฉลยคําตอบ 5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ ากิ จ กรรมตรวจสอบความเข าใจ 1 และ 2 ในหนั ง สื อ เรี ย นแม็ ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหนักเรียนทําเปนกลุม (กลุมเดิม) ใหเวลา ตามความเหมาะสม 5.3 ขั้นสรุป ครูใหนกเรียนชวยกันสรุประบบตัวเลขอียปตและระบบตัวเลขบาบิโลน ดังนี้ ั ิ - ระบบตัวเลขอียปตจะมีสัญลักษณแทนจํานวนทั้งหมด 9 ตัว ิ แทน จํานวน 1, 10 , 100 , 1,000 , 10,000 , 100,000 และ 1,000,000 ตามลําดับ - ระบบตัวเลขบาบิโลน มีสญลักษณแทนจํานวน อยู 2 ตัว คือ ( แทน 1 และ แทน 10) โดยตัวเลขบาบิโลน ั ตั้งแต 1 ถึง 59 จะไมมีคาประจําหลัก  6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - บัตรกิจกรรม - แผนภาพสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต - กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และ 2 - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติมเรื่องระบบตัวเลขอียิปต ระบบตัวเลขบาบิโลน พรอมทั้งคิด จํานวน คนละ 5 จํานวน แลวเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขทั้งสองระบบ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหหลักการเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต และระบบตัวเลข บาบิโลน
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 67 ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะ แลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทํา เปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนคัดเลือกผลงานที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องการเขียนสัญลักษณแทนจํานวนของระบบ ตัวเลขอียิปต และระบบตัวเลขบาบิโลน 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 68 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….….. ………………………………………………………………………………………………………………………… ..…………………………………………………………………………………………………………………..…… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ………………………………………………………………………………………………………………….…..… ………………………………………………………………………………………………………………….……. ……………………………………………………………………………………………………………….……..… …..…………………………………………………………………………………………………………….……… ลงชื่อ................................................................ ตําแหนง...........................................................
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 69 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล บัตรกิจกรรม 12,300 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต เฉลย 25,690 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต เฉลย 1,812 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขบาบิโลน เฉลย 43,944 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขบาบิโลน เฉลย 269,000 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต เฉลย 63,651 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต เฉลย 4,569 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต เฉลย 5,304 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต เฉลย 43,974 จงเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขบาบิโลน เฉลย
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 70 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน................................................................ ชั้น............... วันที่............ เดือน.......................... ป................ ครั้งที่.................................................... ผูสังเกต........................................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู/ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใช ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ ท าง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น.................................. ประจําวันที่............................................ กลุมที่............................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนแบงงาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 71 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/2 เรื่อง ระบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิก เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู เขาใจการเขียนและอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิก 1.2 จุดประสงคการเรียนรู นักเรียนสามารถเขียนและอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิกได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) ระบบตัวเลขโรมัน 2) ระบบตัวเลขฮินดูอารบิก 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การตีความหมาย การสังเกต การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการสังเกต ทักษะการตีความหมาย ทักษะการคิดวิเคราะห 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) บัตรกิจกรรม 2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 3) แบบฝกหัด 1 4) ตารางแสดงระบบตัวเลขตางๆ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ 1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงานรับผิดชอบ 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรมตารางแสดงระบบตัวเลขตางๆ 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัด 1 7) สงงาน
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 72 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) นักเรียนใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นั ก เรียนเข าใจหลั กการเขียนและการอ านสั ญ ลัก ษณ แทนจํานวนในระบบตัวเลขโรมั น และระบบตัวเลข ฮินดูอารบิก 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถกตอง 80% ขึ้นไป ู การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูทบทวนการเขียนและการอานสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขอียิปต และระบบตัวเลขบาบิโลน โดย ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวน แลวอาสาสมัครออกมาเขียนสัญลักษณแทนจํานวนทั้ง 2 ระบบบนกระดาน 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1. ครูนําตารางแสดงระบบตัวเลขโรมัน และระบบตัวเลขฮินดูอารบิกมาใหนักเรียนดู ทักษะการสังเกต และสังเกตขอแตกตางระหวางระบบตัวเลขทั้งสอง โดยครูแนะนําระบบตัวเลขโรมัน ทักษะการคิดวิเคราะห เพิ่มเติม ดังนี้ เงื่อนไขของการเขียนตัวเลขโรมัน คือ 1) สัญลักษณจะเรียงจากสัญลักษณที่มีคามากไปยังสัญลักษณที่มคานอย ี 2) มีสัญลักษณท่ทําหนาที่เปนตัวลบอยู 3 ตัว คือ I, X, และ C โดย ี I จะอยูหนา V และ X เทานั้น เชน 4 เขียนแทนดวย IV 8 เขียนแทนดวย VIII X จะอยูหนา L และ C เทานั้น เชน 40 เขียนแทนดวย XL 90 เขียนแทนดวย XC C จะอยูหนา D และ M เทานั้น เชน 300 เขียนแทนดวย CCC 700 เขียนแทนดวย DCC
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 73 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูยกตัวอยางจํานวนนับใหนักเรียนอาสาสมัครออกมาเขียนสัญลักษณแทนจํานวน ทักษะการตีความหมาย ในระบบตัวเลขโรมัน เชน 357 เขียนแทนดวยตัวเลขโรมัน คือ CCCLVII ทักษะการคิดวิเคราะห 3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน แลวครูแจกบัตรกิจกรรมแตละกลุม โดยใหแตละ ทักษะการคิดวิเคราะห กลุมเลือกหัวหนากลุมเพื่อออกมานําเสนอคําตอบหนาชั้นเรียน โดยในบัตรกิจกรรม ของแตละกลุมจะมีจํานวนนับที่เขียนเปนตัวเลขฮินดูอารบิก ครูใหเวลา 3 นาที แลว ใหตัวแทนกลุมออกมาเขียนสัญลักษณแทนจํานวนในระบบตัวเลขโรมัน 4. ครูเฉลยบัตรกิจกรรมทั้งหมด 5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัดที่ 1 ในหนังสือ เรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหนักเรียนทําเปนกลุม (กลุม เดิม) ใหเวลาตามความเหมาะสม 6. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบ 5.3 ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนชวยกันสรุประบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิก ดังนี้ - ระบบตัวเลขโรมัน มีสัญลักษณพื้นฐานที่ใช 7 ตัว ไดแก I, V, X, L, C, D, M แทนจํานวน 1, 5, 10, 50, 100, 500 และ 1,000 ตามลําดับ - ระบบตัวเลขฮินดูอารบิก เปนระบบตัวเลขฐานสิบมีสัญลักษณที่ใชอยู 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - บัตรกิจกรรม - กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัดที่ 1 - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนคนควาความรูเพิ่มเติม เรื่องระบบตัวเลขโรมันและระบบตัวเลขฮินดูอารบิก
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 74 ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนคนควาหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบตัวเลขโรมัน และระบบตัวเลขฮินดูอารบิก ใน Internet ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทํา เปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูให นั ก เรียนคัด เลื อกผลงานที่ น าสนใจมาจัดบอรดให ความรูเรื่องระบบตัวเลขโรมั น และระบบตัวเลข ฮินดูอารบิก 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 75 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………….………...… …………………………………………………………………………………………………………….………...… …………………………………………………………………………………………………………….………...… …………………………………………………………………………………………………………….………...… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ……………………………………………………………………………………………………………….…..…… ……………………………………………………………………………………………………………….…..…… ……………………………………………………………………………………………………………….…..…… ……………………………………………………………………………………………………………….…..…… ลงชื่อ................................................................ ตําแหนง...........................................................
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 76 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล บัตรกิจกรรม 426 เฉลย 426 = 400 + 20 + 6 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ CDXXVI 1,203 เฉลย 1,203 = 1,000 + 200 + 3 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MCCIII 984 เฉลย 984 = 900 + 80 + 4 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ CMLXXXIV 209 เฉลย 209 = 200 + 9 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ CCIX 2,560 เฉลย 2,560 = 2,000 + 500 + 60 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MMDLX 8,912 เฉลย 8,912 = 8,000 + 900 + 10 + 2 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MMCCMXII 3,232 เฉลย 3,232 = 3,000 + 200 + 30 + 2 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MMMCCXXXII 99 เฉลย 99 = 90 + 9 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ XCIX 199 เฉลย 199 = 100 + 90 + 9 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ CXCIX 4,999 เฉลย 4,999 = 4,000 + 900 + 90 + 9 เขียนแทนเปนตัวเลขโรมัน คือ MLCMXCIX
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 77 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน................................................................ ชั้น............... วันที่............ เดือน.......................... ป................ ครั้งที่.................................................... ผูสังเกต........................................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู/ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใช ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ ท าง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น.................................. ประจําวันที่............................................ กลุมที่............................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนแบงงาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 78 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/3 เรื่อง ระบบตัวเลขฐานหา เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู เขาใจระบบตัวเลขฐานหา 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) นักเรียนสามารถบอกคาของเลขโดดในตัวเลขฐานหาได 2) เขียนตัวเลขฐานที่กําหนดใหเปนตัวเลขฐานหาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานหาในรูปกระจาย 2) การเปลี่ยนฐานตัวเลขโดยใชความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานหา 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดคํานวณ การสังเกต การตีความหมาย การคิดวิเคราะห 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย ทักษะการสังเกต 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) บัตรกิจกรรม 2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 และ 5 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 และ 5 7) สงงาน
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 79 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) นักเรียนใหความรวมมือในการทํากิจกรรมกลุม 2) นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจการบอกคาของเลขโดดและการเขียนตัวเลขที่กาหนดใหเปนตัวเลขฐานหา ํ 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 60% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูทบทวนเกี่ยวกับตัวเลขฮินดูอารบิก การเขียนในรูปกระจายของจํานวนนับ เชน 4,250 = 4,000 + 200 + 50 = (4 × 1,000) + (2 × 100) + (5 × 10) = (4 × 103) + (2 × 102) + (5 × 101) 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 5 แลวนักเรียนอาสาสมัคร ทักษะการตีความหมาย ออกมาเขียนเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 5 เชน 52 = 25 , 53 = 125 , ทักษะการคิดวิเคราะห 2. ครูแนะนําระบบตัวเลขฐานหา โดยนําตารางแสดงหลักและคาประจําหลักในระบบ ทักษะการคิดคํานวณ ตัวเลขฐานหาประกอบ แลวอธิบายเพิ่มเติมวาระบบตัวเลขฐานหาใชเลขโดด 4 ตัว คือ 0, 1, 2, 3 และ 4 3. นั ก เรียนแบ งกลุม กลุ ม ละ 5 คน แตล ะกลุ มเลือ กหั วหน ากลุม เพื่ อออกมานํ าเสนอ ทักษะการตีความหมาย คําตอบ หัวหนากลุมแบงงานรับผิดชอบตัวแทนกลุมอกมารับบัตรกิจกรรม โดยใน ทักษะการคิดวิเคราะห บัตรกิจกรรมจะใหแตละกลุมเปลี่ยนตัวเลขจากฐานหาเปนฐานสิบและเปลี่ยนจากตัว เลขฐานสิบเปนเลขฐานหากลุมละ 1 ขอ 4. ครูและนักเรียนกลุมอื่นชวยกันตรวจคําตอบ
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 80 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 5. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ ากิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ 4 และ 5 ในหนั ง สื อ เรี ย นแม็ ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหทําเปนกลุม (กลุมเดิม) ใหเวลาตามความ เหมาะสม 6. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ 5.3 ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปหลักการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานหา ดังนี้ วิธีที่ 1 นําตัวเลขในระบบตัวเลขฐานหาที่มีคาไมเกินจํานวนที่โจทยกําหนด แลวนํามาหารจํานวนในโจทย จากมากไปนอยจนครบทุกจํานวน เขียนผลหารไวดานขวาแลวนําผลหารจากครั้งแรกจนถึงครั้งสุดทายมาเขียนเรียงกัน วิธีที่ 2 นํา 5 ไปหารจํานวนที่ตองการไปจนกวาจะหารไมได แลวเขียนเศษจากการหารแตละขั้นไวดานขวา นําเศษจากการหารมาเขียนเรียงกันจากขั้นสุดทายไปจนถึงขั้นแรก 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - แผนตารางแสดงหลักและคาประจําหลักของระบบตัวเลขฐานหา - บัตรกิจกรรม - กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 และ 5 - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปคนควาขอมูลเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานหา จากแหลงการเรียนรูตามความสนใจ ขั้นวิเคราะห นักเรียนวิเคราะหวาระบบตัวเลขฐานหานําไปใชเกี่ยวกับเรื่องใดบาง ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานของแตละคนพรอมใหขอเสนอแนะ แลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลม รายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนกเรียนคัดเลือกผลงานที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานหา ั 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 81 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………..……..… ………………………………………………………………………………………………………………..……..… ………………………………………………………………………………………………………………..……..… ………………………………………………………………………………………………………………..……..… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………..……. …………………………………………………………………………………………………………………..……. …………………………………………………………………………………………………………………..……. …………………………………………………………………………………………………………………..……. ลงชื่อ................................................................ ตําแหนง...........................................................
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 82 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล บัตรกิจกรรม จงเปลี่ยน 435 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 23 จงเปลี่ยน 425 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 22 จงเปลี่ยน 1025 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 27 จงเปลี่ยน 30245 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 389 จงเปลี่ยน 21345 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 294 จงเปลี่ยน 748 ใหเปนตัวเลขฐานหา เฉลย 104435 จงเปลี่ยน 1,254 ใหเปนตัวเลขฐานหา เฉลย 200045 จงเปลี่ยน 3,546 ใหเปนตัวเลขฐานหา เฉลย 1031415 จงเปลี่ยน 6,548 ใหเปนตัวเลขฐานหา เฉลย 202143 จงเปลี่ยน 4,548 ใหเปนตัวเลขฐานหา เฉลย 121143
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 83 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน................................................................ ชั้น............... วันที่............ เดือน.......................... ป................ ครั้งที่.................................................... ผูสังเกต........................................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู/ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใช ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ ท าง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น.................................. ประจําวันที่............................................ กลุมที่............................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนแบงงาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 84 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/4 เรื่อง ระบบตัวเลขฐานสอง เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู เขาใจระบบตัวเลขฐานสอง 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) บอกคาของเลขโดดในตัวเลขฐานสองได 2) เขียนตัวเลขฐานที่กาหนดใหเปนตัวเลขฐานสองได ํ 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานสองในรูปกระจาย 2) การเปลี่ยนฐานตัวเลขโดยใชความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานสอง 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดคํานวณ การสังเกต การตีความหมาย การคิดวิเคราะห 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย ทักษะการสังเกต 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) บัตรกิจกรรม 2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 7) สงงาน
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 85 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) นักเรียนใหความรวมมือในการทํากิจกรรมกลุม 2) นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจการบอกคาของเลขโดดและการเขียนตัวเลขที่กาหนดใหเปนตัวเลขฐานสอง ํ 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 60% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูทบทวนระบบตัวเลขฐานหา โดยนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวนในระบบตัวเลขฐานหา แลวอาสาสมัครออก มาเขียนจํานวนใหอยูในระบบตัวเลขฐานสิบ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 2 แลวนักเรียนอาสาสมัครออก ทักษะการตีความหมาย มาเขียนเลขยกกําลังที่มีฐานเปน 2 เชน 22 = 4 , 23 = 8 ทักษะการคิดวิเคราะห 2. ครูแนะนําระบบตัวเลขฐานสอง โดยนําตารางแสดงหลักและคาประจําหลักในระบบ ตัวเลขฐานสองประกอบ แลวอธิบายเพิ่มเติมวาระบบตัวเลขฐานหาใชเลขโดด 2 ตัว คือ 0 และ 1 ความสําคัญของระบบตัวเลขฐานสอง คือ ใชในระบบคอมพิวเตอร 3. นักเรียนอาสาสมัครยกตัวอยางระบบตัวเลขฐานสอง แลวใหเพื่อนในหองชวยกันเขียน ทักษะการคิดวิเคราะห ในรูปการกระจาย พรอมทั้งหาผลลัพธ ทักษะการคิดคํานวณ 4. นักเรียนแตละคนยกตัวอยางระบบตัวเลขฐานสองคนละ 1 จํานวน พรอมทั้งเขียนใน รูปกระจายหาผลลัพธ แลวออกมานําเสนอหนาชั้นเรียนเปนรายบุคคล 5. ครูและนักเรียนชวยกันตรวจคําตอบ 6. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ 6 ข อ 1 ในหนั ง สื อ เรี ย นแม็ ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหทําเปนรายบุคคล แลวสรางโจทยเพิ่มขึ้น อีก คนละ 3 ขอ 7. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 86 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 2 1. ครูแนะนํานักเรียนถึงการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานสองในรูปกระจายแลวหาคําตอบ เรียกอีกอยางหนึ่งวา การเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานสองเปนตัวเลขฐานสิบ 2. ครูนําแถบโจทยการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานสองเปนตัวเลขฐานสิบมาใหนักเรียนชวย ทักษะการตีความหมาย กันหาคําตอบ เชน ทักษะการคิดวิเคราะห 110112 = (1 × 24) + (1 × 23) + (0 × 22) + (1 × 21) + 1 ทักษะการคิดคํานวณ = 16 + 8 + 0 + 2 + 1 = 27 3. ครูแนะนํากรณีเปลี่ยนตัวเลขฐานสิบใหเปนระบบตัวเลขฐานสองมีวิธีการทําอยู 2 วิธี ทักษะการตีความหมาย ไดแก ทักษะการคิดวิเคราะห วิธีท่ี 1 นําตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสองที่มีคาไมเกินจํานวนที่โจทยกําหนด แลวนํา มาหารจํานวนในโจทยจากมากไปนอยจนครบทุกจํานวนเขียนผลหารไวดานขวาแลว นําผลหารจากครั้งแรกจนถึงครั้งสุดทายมาเขียนเรียงกัน วิธีที่ 2 นํา 2 ไปหารจํานวนที่ตองการไปจนกวาจะหารไมไดแลวเขียนเศษจากการหาร แตละขั้นไวดานขวา นําเศษจากการหารมาเขียนเรียงกันจากขั้นสุดทายไปจนถึงขั้นแรก 4. นั ก เรี ย นแบ งกลุ ม กลุ ม ละ 3 คน แต ล ะกลุ ม เลื อ กหั ว หน ากลุ ม เพื่ อ ออกมานํ าเสนอ ทักษะการตีความหมาย คําตอบ หัวหนากลุมแบงงานรับผิดชอบตัวแทนกลุมออกมารับบัตรกิจกรรม โดยใน ทักษะการคิดวิเคราะห บัตรกิจกรรมจะใหแตละกลุมเปลี่ยนตัวเลขจากฐานสองเปนฐานสิบและเปลี่ยนจาก ทักษะการคิดคํานวณ ตัวเลขฐานสิบเปนฐานสองกลุมละ 1 ขอ 5. ครูและนักเรียนกลุมอื่นชวยกันตรวจคําตอบ 6. ครู ใ ห นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ 6 ข อ 2 ในหนั ง สื อ เรี ย นแม็ ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 โดยใหทําเปนกลุม (กลุมเดิม) ใหเวลาตามความ เหมาะสม 7. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบ 5.3 ขั้นสรุป ระบบตัวเลขฐานสองเปน ระบบตัวเลขที่ใชเลขโดด 2 ตัว คือ 0 และ 1 ซึ่งมีความสํ าคัญ ในการนําไปใชใน ระบบคอมพิวเตอร ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปหลักการเปลี่ยนระบบตัวเลขฐานสอง ดังนี้
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 87 วิธีที่ 1 นําตัวเลขในระบบตัวเลขฐานสองที่มีคาไมเกินจํานวนที่โจทยกําหนด แลวนํามาหารจํานวนในโจทย จากมากไปนอยจนครบทุกจํานวน เขียนผลหารไวดานขวา แลวนําผลหารจากครั้งแรกจนถึงครั้งสุดทายมาเขียนเรียงกัน วิธีที่ 2 นํา 2 ไปหารจํานวนที่ตองการไปจนกวาจะหารไมได แลวเขียนเศษจากการหารแตละขั้นไวดานขวา นําเศษจากการหารมาเขียนเรียงกันจากขั้นสุดทายไปจนถึงขั้นแรก 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - แผนตารางแสดงหลักและคาประจําหลักของระบบตัวเลขฐานสอง - แถบโจทยระบบตัวเลขฐานสอง - บัตรกิจกรรม - กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปคนควาขอมูลเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานสองจากแหลงการเรียนรูตามความสนใจ ขั้นวิเคราะห นักเรียนวิเคราะหวาระบบตัวเลขฐานสองนําไปใชเกี่ยวกับเรื่องใดบาง ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานของแตละคนพรอมใหขอเสนอแนะ แลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลม รายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนคัดเลือกผลงานที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานสอง 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการการเรียนกับกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยกําหนดภาระงานให นักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับระบบตัวเลขฐานสองที่ใชในคอมพิวเตอร ภาระงาน “ขอมูลระบบตัวเลขฐานสองกับคอมพิวเตอร” ผลการเรียนรู ใชกระบวนการสืบคนบอกความสําคัญของระบบตัวเลขฐานสอง ผลงานที่ตองการ ขอมูลระบบตัวเลขฐานสองกับคอมพิวเตอร 
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 88 ขั้นตอนการทํางาน 1. ศึกษาระบบตัวเลขฐานสอง 2. ศึกษาวิธีการสืบคนจากคอมพิวเตอร 3. สืบคนความสําคัญของระบบตัวเลขฐานสองกับคอมพิวเตอร 4. นําเสนอผลงานใหเพื่อนชวยกันแสดงความคิดเห็น 5. นักเรียนชวยกันคัดเลือกผลงานที่นาสนใจติดปายนิเทศใหความรู เกณฑการประเมิน 1. ความถูกตองตามหัวขอเรื่อง 2. ความครบถวนของเนื้อหา 3. ความนาสนใจของเนื้อหา
  • 28. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 89 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………..……..… ………………………………………………………………………………………………………………..……..… ………………………………………………………………………………………………………………..……..… ………………………………………………………………………………………………………………..……..… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………..……. …………………………………………………………………………………………………………………..……. …………………………………………………………………………………………………………………..……. …………………………………………………………………………………………………………………..……. ลงชื่อ................................................................ ตําแหนง...........................................................
  • 29. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 90 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล บัตรกิจกรรมระบบตัวเลขฐานสอง จงเปลี่ยน 110102 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 26 จงเปลี่ยน 101012 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 21 จงเปลี่ยน 11112 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 15 จงเปลี่ยน 1011012 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 45 จงเปลี่ยน 10011012 ใหเปนตัวเลขฐานสิบ เฉลย 77 จงเปลี่ยน 65 ใหเปนตัวเลขฐานสอง เฉลย 10000012 จงเปลี่ยน 36 ใหเปนตัวเลขฐานสอง เฉลย 1001002 จงเปลี่ยน 123 ใหเปนตัวเลขฐานสอง เฉลย 11110112 จงเปลี่ยน 73 ใหเปนตัวเลขฐานสอง เฉลย 10010012 จงเปลี่ยน 47 ใหเปนตัวเลขฐานสอง เฉลย 1011112
  • 30. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 91 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน................................................................ ชั้น............... วันที่............ เดือน.......................... ป................ ครั้งที่.................................................... ผูสังเกต........................................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู/ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใช ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ ท าง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น.................................. ประจําวันที่............................................ กลุมที่............................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนแบงงาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 31. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.1 ภาคเรียนที่ 1 92 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2/5 เรื่อง ระบบตัวเลขฐานสิบสอง เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู เขาใจระบบตัวเลขฐานสิบสอง 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) บอกคาของเลขโดดในตัวเลขฐานสิบสองได 2) เขียนตัวเลขฐานที่กาหนดใหเปนตัวเลขฐานสิบสองได ํ 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การเขียนจํานวนในระบบตัวเลขฐานสิบสองในรูปกระจาย 2) การเปลี่ยนฐานตัวเลขโดยใชความรูเรื่องระบบตัวเลขฐานสิบสอง 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดคํานวณ การสังเกต การตีความหมาย การคิดวิเคราะห 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย ทักษะการสังเกต 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) บัตรกิจกรรม 2) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 และแบบฝกหัด 2 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 4 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 และแบบฝกหัด 2 7) สงงาน