SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
๏ จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี
ธาสู่วิสาลี                                 นคร
       ๏ โดยทางอั นพระทวารเปิ ดนรนิกร
ฤๅรอจะต่อรอน                                อะไร
   ถอดความได้ว่า
        พระเจ้าอชาตศัตรู จอมทัพแห่งแคว้นนคร
ยกทัพสู่เมืองวิสาลี
        เส้นทางประตูเมืองก็เปิ ดจึงไปรอรีบยกทัพเข้า
ไป
๏ เบื้องนั้นท่านคุรุวัสสการทิชก็ไป
นาทัพชเนนทร์ไท                               มคธ
        ๏ เข้าปราบลิจฉวิขัตติย์รัฐชนบท
สู้เงื้อมพระหัตถ์หมด                         และโดย

   ถอดความได้ว่า
      ซึ่งมีวัสสการพราหมณ์ นาทัพจากมคธไป
ด้วย
      เข้าปราบบรรดากษัตริย์ลิจฉวีได้ทั้งหมด
๏ ไปพักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย
        ่
แรงเปลืองระดมโปรย                    ประยุทธ์
     ๏ ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต
ดมเขตบุเรศดุจ                        ณ เดิม

    ถอดความได้ว่า
        โดยไม่ต้องให้ทหารมีการต่อสู้ ให้ต้องเปลืองแรง
        พระเจ้าอชาตศัตรูจึงสามารถยึดครองเมืองวิสาลี
ได้โดยง่าย เสร็จแล้วก็เสด็จกลับ ยังแคว้นมคธตามเดิ ม
ชิต บุรทัตได้ยกพุ ทธภาษิต แสดงคุณและโทษ
ความสามัคคี ดังนี้
     ๏ พุ ทธาทิบัณฑิต           พิเคราะห์คิดพินิจปรา
รภสรรเสริญสา                    ธุสมัครภาพผล
    ๏ ว่าอาจจะอวยผา             สุกภาวมาดล
ดีส่ ู ณ หมู่ตน                 บ นิราศนิรันดร
    ถอดความได้ว่า
       พุ ทธบัณฑิต ให้ความคิดวิเคราะห์สรรเสริญให้
เห็นภาพที่ดี ว่าจะอานวยสุขที่ดีต่อหมู่ตน เสื่อมคลาย
ไปตลอด
๏ หมู่ใดผิสามัค             คยพรรคสโมสร
ไปปราศนิราศรอน
 ่                               คุณไร้ไฉนดล
     ๏ พร้อมเพรียงประเสริฐครัน   เพราะฉะนั้นแหละบุคคล
ผูหวังเจริญตน
   ้                             ธุระเกี่ยวกะหมู่เขา

     ถอดความได้ว่า
          คนหมู่ใดหากผิดสามัคคี ก็เหมือนไร้ซ่ึงคุณความ
ดี ความพร้อมเพรียงสามัคคีของคนในหมู่คณะ เป็ นสิ่งที่
ประเสริฐ์ เพราะฉะนั้นบุคคลที่หวังให้เกิดความเจริญสู่ตน
เมื่อมีกิจเกี่ยงข้องกับหมู่คน
๏ พึงหมายสมัครเป็ น          มุขเป็ นประธานเอา
ธูรทั่ว ณ ตัวเรา                  บ มิเห็น ณ ฝ่ ายเดียว
      ๏ ควรยกประโยชน์ยื่น         นรอื่ นก็แลเหลียว
ดูบ้างและกลมเกลียว                มิตรภาพผดุงครอง

       ถอดความจะได้ว่า
          ควรเลือกสมัครเป็ นหัวหน้า เราต้องเป็ นธุระและ
รับฟงความเห็นของทุกฝ่ าย ควรหยิบยื่นประโยชน์ให้ คน
     ั
อื่ นบ้าง รู้คุณค่าของผูอื่นยกย่องชื่นชม รักใคร่กลม
                        ้
              ่
เกลียว เพือมิตรภาพในการปกครองอยู่ร่วมกัน
๏ ยั้งทิฐิมานหย่ อน          ทมผ่อนผจงจอง
อารีมิมีหมอง                       มนเมื่อจะทาใด
     ๏ ลาภผลสกลบรร                 ลุก็ปนก็แบ่งไป
                                       ั
ตามน้อยและมากใจ                    สุจริตนิยมธรรม์

    ถอดความจะได้ว่า
      ควรลดและยับยั้งทิฐิลง รู้จักการเอื้ ออารี มีลาภ
ผลก็แบ่งปนกัน ตามมากน้อยอย่างสุจริตยุติธรรม
        ั
๏ พึงมรรยาทยึด           สุประพฤติสงวนพรรค์
รื้อริษยาอั น                 อุปเฉทไมตรี
     ๏ ดั่งนั้น ณ หมู่ใด      ผิ บ ไร้สมัครมี
พร้อมเพรียงนิพทธ์ นี
                   ั          รวิวาทระแวงกัน

   ถอดความจะได้ว่า
         ควรมีมารยาทที่ดีในการประพฤติปฏิ บัติตน ไม่
อิ จฉาริษยากัน ดังนั้น หากหมู่ใดมีความสามัคคี พร้อม
เพรียงไม่ทะเลาะวิวาทระแวงกัน
๏ หวังเทอญมิต้องสง   สยคงประสบพลัน
ซึ่ งสุขเกษมสันต์         หิตะกอบทวิการ
     ๏ ใครเล่าจะสามารถ    มนอาจระรานหาญ
หักล้าง บ แหลกลาญ         ก็เพราะพร้อมเพราะเพรียงกัน

      ถอดความจะได้ว่า
          จะประสบพบแต่ความสุขอย่างมิต้องสงสัย
เมื่อมีความสามัคคีพร้อมเพรียง ก็จะไม่มีใครมาทาลาย
เราให้แตกแยกกันได้
๏ ปวยกล่าวอะไรฝู ง
      ่                             นรสูงประเสริฐครัน
ฤๅสรรพสัตว์อัน                     เฉพาะมีชีวีครอง
   ๏ แม้มากผิกิ่งไม้               ผิวใครจะใคร่ลอง
มดกากระนั้นปอง                      พลหักก็เต็มทน
     ถอดความจะได้ว่า
         ไม่ว่าจะเป็ นคนหรือสรรพสัตว์ทกสิ่ง ถ้ามีความ
                                            ุ
สามัคคีก็เป็ นสิ่งประเสริฐยิ่ง แม้ก่ิงไม้ หลายๆ กิ่งหาก
ใครอยากทดลองมัดรวมเข้าเป็ นกรรม ก็ย่อมหักยาก
๏ เหล่าไหนผิไมตรี            สละลี้ ณ หมู่ตน
กิจใดจะขวายขวน                  บ มิพร้อมมิเพรียงกัน
   ๏ อย่ าปรารถนาหวัง           สุขทั้งเจริญอั น
มวลมาอุบัติบรร                   ลุไฉน บ ได้มี
       ถอดความจะได้ว่า
            หากหมู่ใดไม่มีความสามัคคีในหมู่คณะของ
ตน และกิจการอั นใดที่จะต้องขวนขวายทาก็มิพร้อม
เพรียงกัน ก็อย่าได้หวังเลยความสุขความเจริญจะ
เกิดขึ้นได้อย่างไร
๏ ปวงทุกข์พบติสรร
                    ิั              พภยันตรายกลี
แม้ปราศนิยมปรี                      ติประสงค์ก็คงสม
    ๏ ควรชนประชุมเช่น               คณะเป็ นสมาคม
สามัคคิปรารม                         ภนิพทธราพึง
                                           ั
   ถอดความจะได้ว่า
      ความทุกข์พบัติอันตรายและความชั่วร้ายทั้ง
                       ิ
ปวง ถึงแม้จะไม่ต้องการก็จะต้องได้รับเป็ นแน่แท้ ผูท่ีอยู่
                                                  ้
รวมกันเป็ นหมู่คณะหรือสมาคม ควรคานึงถึงความ
สามัคคีอยู่เป็ นนิจ
๏ ไปมีก็ให้มี
        ่                       ผิวมีก็คานึง
เนื่องเพือภิยโยจึง
          ่                     จะประสบสุขาลัยฯ
                     จบบริบรณ์ ฯ
                           ู

   ถอดความจะได้ว่า
         ถ้ายังไม่มก็ควรจะมีข้ ึน ถ้ามีอยู่แล้วก็ควร
                     ี
ให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้นไปจึงจะถึงซึ่งความสุขความ
สบาย
ค ุณค่าด้านวรรณศิลป์

 ๑) การสรรคา เป็ นการเลือกใช้คาที่สื่อความคิดและ
อารมณ์ได้อย่างงดงาม ดังนี้
     ๑.๑) การเลือกใช้คาได้อย่างถ ูกต้องตาม
ความหมายที่ตองการ มีการใช้คาที่มีทประณีตเป็ นพิเศษ
                  ้                        ี่
เมื่อกล่าวถึงสิ่งศักดิสทธิ์ จะใช้คาศัพท์ภาษาบาลีสนสกฤต
                      ์ ิ                         ั
ซึ่งถือว่าต้องแปลความทุกคา
     ๑.๒) การเลือกใช้คาศัพท์เหมาะแก่เนื้อเรืองและ
                                                ่
ฐานะของบ ุคคลในเรือง      ่
๑.๓) การเลือกใช้เลือกคาโดยคานึงถึงเสียง
     กวีได้ดดแปลงฉันท์บางชนิดให้มีความหมายแตกต่าง
              ั
จากเดิมทาให้มความไพเราะมากขึน สามัคคีคาฉันท์มีการใช้
                 ี               ้
คาที่มีเสียงเสนาะ
  (๑) การใช้คาที่ เล่นเสียงหนักเบา ในบทร้อยกรอง
ประเภทคาฉันท์กาหนดเสียงหนักเบา ไว้แน่นอนเป็ นแบบ
แผนที่ยึดถือกัน ถ้าอ่านเป็ นทานองเสนาะ ก็จะทาให้รสึกถึง
                                                   ู้
รสไพเราะของเนือความได้ ดังตัวอย่าง
                   ้
        ๏ ดังนัน ณ หมูใด
             ่ ้        ่            ผิ บ ไร้สมัครมี
  พร้อมเพรียงนิพทธ์นีั              รวิวาทระแวงกัน
(๒) การเล่นเสียงสัมผัส ในฉันท์ของนายชิต บุรทัต
มีทงสัมผัสนอกสัมผัสในโดยเฉพาะสัมผัสสระและ
    ั้
สัมผัสพยัญชนะแพรวพราว คล้ายกับความไพเราะ
ของกลอน เช่น
       ๏ ควรยกประโยชน์ยน นรอื่นก็แลเหลียว
                          ื่
ด ูบ้างและกลมเกลียว            มิตรภาพผด ุงครอง

   คาที่สมผัสในวรรค ได้แก่ (ประ)โยชน์-ยื่น, แล-
         ั
เหลียว, กลม-เกลียว
(๓) การเล่นสัมผัสชุดคาและชุดเสียง เช่น
๏ พร้อมเพรียงประเสริฐครัน เพราะฉะนันแหละบุคคล
                                         ้
ผูหวังเจริญตน
  ้                            ธุระเกียวกะหมูเ่ ขา
                                      ่

   มีการเล่นเสียงสัมผัสชุดคา ได้แก่ พร้อม-เพรียง

    (๔) มีการเล่นคา
๒) การใช้โวหาร สามัคคีเภทคาฉันท์มีความไพเราะ
งดงามอันเกิดจากสารที่กวีใช้ศิลปะในการถ่ายทอด
ความหมายของเนือหา โดยการใช้สานวนโวหาร และการใช้
                  ้
ภาพพจน์ เพื่อผูอ่านจินตนาการภาพชัดเจน เข้าใจและเกิด
               ้
อารมณ์คล้อยตาม ดังนี้
    (๒.๑) บรรยายโวหาร ใช้คาให้เห็นภาพชัดเจนตามลาดับ
เหตุการณ์ รวดเร็ว ไม่เยิ่นเย้อ เข้าใจง่าย
    (๒.๒) พรรณนาโวหาร เป็ นการสร้างมโนภาพให้ผอ่าน
                                                ู้
เกิดภาพขึนในใจ หรือมองเห็นภาพบรรยากาศตามที่กวี
          ้
ต้องการ
(๒.๓) อุปมาโวหาร เป็ นการกล่าวเปรียบเทียบเพื่อให้
ผูอ่านเข้าใจและเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึน
  ้                               ้

     ๓) ลีลาการประพันธ์ สามัคคีเภทคาฉันท์ในตอน
ที่ตดมามีลลาการประพันธ์ที่เด่นชัด ดังนี้
     ั      ี
       ๓.๑) พิโรธวาทัง บทแสดงความโกรธเกลียวของพระ
เจ้าอชาตศัตรูที่แสร้งโกรธวัสสการพราหมณ์อย่างรุนแรง
ทาให้เกิดความสมจริง
       ๓.๒) สัลลาปังคสัย บทแสดงความโศกเศร้าเสียใจ
เมื่อวัสสการพราหมณ์ถกทาโทษ
                        ู
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 

Was ist angesagt? (20)

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 

Andere mochten auch

สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8MilkOrapun
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 

Andere mochten auch (6)

สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
Phuchongkhaprayatachan
PhuchongkhaprayatachanPhuchongkhaprayatachan
Phuchongkhaprayatachan
 

Ähnlich wie สามัคคีเภทคำฉันท์

วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์Mu Koy
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2B'Ben Rattanarat
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nakkarin Keesun
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพรNat Ty
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdfmaruay songtanin
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 

Ähnlich wie สามัคคีเภทคำฉันท์ (20)

งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
ภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 pooภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 poo
 
ภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 pooภาษาไทย1 poo
ภาษาไทย1 poo
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
เกด
เกดเกด
เกด
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 

สามัคคีเภทคำฉันท์

  • 1.
  • 2.
  • 3. ๏ จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี ธาสู่วิสาลี นคร ๏ โดยทางอั นพระทวารเปิ ดนรนิกร ฤๅรอจะต่อรอน อะไร ถอดความได้ว่า พระเจ้าอชาตศัตรู จอมทัพแห่งแคว้นนคร ยกทัพสู่เมืองวิสาลี เส้นทางประตูเมืองก็เปิ ดจึงไปรอรีบยกทัพเข้า ไป
  • 4. ๏ เบื้องนั้นท่านคุรุวัสสการทิชก็ไป นาทัพชเนนทร์ไท มคธ ๏ เข้าปราบลิจฉวิขัตติย์รัฐชนบท สู้เงื้อมพระหัตถ์หมด และโดย ถอดความได้ว่า ซึ่งมีวัสสการพราหมณ์ นาทัพจากมคธไป ด้วย เข้าปราบบรรดากษัตริย์ลิจฉวีได้ทั้งหมด
  • 5. ๏ ไปพักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย ่ แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ์ ๏ ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต ดมเขตบุเรศดุจ ณ เดิม ถอดความได้ว่า โดยไม่ต้องให้ทหารมีการต่อสู้ ให้ต้องเปลืองแรง พระเจ้าอชาตศัตรูจึงสามารถยึดครองเมืองวิสาลี ได้โดยง่าย เสร็จแล้วก็เสด็จกลับ ยังแคว้นมคธตามเดิ ม
  • 6. ชิต บุรทัตได้ยกพุ ทธภาษิต แสดงคุณและโทษ ความสามัคคี ดังนี้ ๏ พุ ทธาทิบัณฑิต พิเคราะห์คิดพินิจปรา รภสรรเสริญสา ธุสมัครภาพผล ๏ ว่าอาจจะอวยผา สุกภาวมาดล ดีส่ ู ณ หมู่ตน บ นิราศนิรันดร ถอดความได้ว่า พุ ทธบัณฑิต ให้ความคิดวิเคราะห์สรรเสริญให้ เห็นภาพที่ดี ว่าจะอานวยสุขที่ดีต่อหมู่ตน เสื่อมคลาย ไปตลอด
  • 7. ๏ หมู่ใดผิสามัค คยพรรคสโมสร ไปปราศนิราศรอน ่ คุณไร้ไฉนดล ๏ พร้อมเพรียงประเสริฐครัน เพราะฉะนั้นแหละบุคคล ผูหวังเจริญตน ้ ธุระเกี่ยวกะหมู่เขา ถอดความได้ว่า คนหมู่ใดหากผิดสามัคคี ก็เหมือนไร้ซ่ึงคุณความ ดี ความพร้อมเพรียงสามัคคีของคนในหมู่คณะ เป็ นสิ่งที่ ประเสริฐ์ เพราะฉะนั้นบุคคลที่หวังให้เกิดความเจริญสู่ตน เมื่อมีกิจเกี่ยงข้องกับหมู่คน
  • 8. ๏ พึงหมายสมัครเป็ น มุขเป็ นประธานเอา ธูรทั่ว ณ ตัวเรา บ มิเห็น ณ ฝ่ ายเดียว ๏ ควรยกประโยชน์ยื่น นรอื่ นก็แลเหลียว ดูบ้างและกลมเกลียว มิตรภาพผดุงครอง ถอดความจะได้ว่า ควรเลือกสมัครเป็ นหัวหน้า เราต้องเป็ นธุระและ รับฟงความเห็นของทุกฝ่ าย ควรหยิบยื่นประโยชน์ให้ คน ั อื่ นบ้าง รู้คุณค่าของผูอื่นยกย่องชื่นชม รักใคร่กลม ้ ่ เกลียว เพือมิตรภาพในการปกครองอยู่ร่วมกัน
  • 9. ๏ ยั้งทิฐิมานหย่ อน ทมผ่อนผจงจอง อารีมิมีหมอง มนเมื่อจะทาใด ๏ ลาภผลสกลบรร ลุก็ปนก็แบ่งไป ั ตามน้อยและมากใจ สุจริตนิยมธรรม์ ถอดความจะได้ว่า ควรลดและยับยั้งทิฐิลง รู้จักการเอื้ ออารี มีลาภ ผลก็แบ่งปนกัน ตามมากน้อยอย่างสุจริตยุติธรรม ั
  • 10. ๏ พึงมรรยาทยึด สุประพฤติสงวนพรรค์ รื้อริษยาอั น อุปเฉทไมตรี ๏ ดั่งนั้น ณ หมู่ใด ผิ บ ไร้สมัครมี พร้อมเพรียงนิพทธ์ นี ั รวิวาทระแวงกัน ถอดความจะได้ว่า ควรมีมารยาทที่ดีในการประพฤติปฏิ บัติตน ไม่ อิ จฉาริษยากัน ดังนั้น หากหมู่ใดมีความสามัคคี พร้อม เพรียงไม่ทะเลาะวิวาทระแวงกัน
  • 11. ๏ หวังเทอญมิต้องสง สยคงประสบพลัน ซึ่ งสุขเกษมสันต์ หิตะกอบทวิการ ๏ ใครเล่าจะสามารถ มนอาจระรานหาญ หักล้าง บ แหลกลาญ ก็เพราะพร้อมเพราะเพรียงกัน ถอดความจะได้ว่า จะประสบพบแต่ความสุขอย่างมิต้องสงสัย เมื่อมีความสามัคคีพร้อมเพรียง ก็จะไม่มีใครมาทาลาย เราให้แตกแยกกันได้
  • 12. ๏ ปวยกล่าวอะไรฝู ง ่ นรสูงประเสริฐครัน ฤๅสรรพสัตว์อัน เฉพาะมีชีวีครอง ๏ แม้มากผิกิ่งไม้ ผิวใครจะใคร่ลอง มดกากระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน ถอดความจะได้ว่า ไม่ว่าจะเป็ นคนหรือสรรพสัตว์ทกสิ่ง ถ้ามีความ ุ สามัคคีก็เป็ นสิ่งประเสริฐยิ่ง แม้ก่ิงไม้ หลายๆ กิ่งหาก ใครอยากทดลองมัดรวมเข้าเป็ นกรรม ก็ย่อมหักยาก
  • 13. ๏ เหล่าไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมู่ตน กิจใดจะขวายขวน บ มิพร้อมมิเพรียงกัน ๏ อย่ าปรารถนาหวัง สุขทั้งเจริญอั น มวลมาอุบัติบรร ลุไฉน บ ได้มี ถอดความจะได้ว่า หากหมู่ใดไม่มีความสามัคคีในหมู่คณะของ ตน และกิจการอั นใดที่จะต้องขวนขวายทาก็มิพร้อม เพรียงกัน ก็อย่าได้หวังเลยความสุขความเจริญจะ เกิดขึ้นได้อย่างไร
  • 14. ๏ ปวงทุกข์พบติสรร ิั พภยันตรายกลี แม้ปราศนิยมปรี ติประสงค์ก็คงสม ๏ ควรชนประชุมเช่น คณะเป็ นสมาคม สามัคคิปรารม ภนิพทธราพึง ั ถอดความจะได้ว่า ความทุกข์พบัติอันตรายและความชั่วร้ายทั้ง ิ ปวง ถึงแม้จะไม่ต้องการก็จะต้องได้รับเป็ นแน่แท้ ผูท่ีอยู่ ้ รวมกันเป็ นหมู่คณะหรือสมาคม ควรคานึงถึงความ สามัคคีอยู่เป็ นนิจ
  • 15. ๏ ไปมีก็ให้มี ่ ผิวมีก็คานึง เนื่องเพือภิยโยจึง ่ จะประสบสุขาลัยฯ จบบริบรณ์ ฯ ู ถอดความจะได้ว่า ถ้ายังไม่มก็ควรจะมีข้ ึน ถ้ามีอยู่แล้วก็ควร ี ให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้นไปจึงจะถึงซึ่งความสุขความ สบาย
  • 16. ค ุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๑) การสรรคา เป็ นการเลือกใช้คาที่สื่อความคิดและ อารมณ์ได้อย่างงดงาม ดังนี้ ๑.๑) การเลือกใช้คาได้อย่างถ ูกต้องตาม ความหมายที่ตองการ มีการใช้คาที่มีทประณีตเป็ นพิเศษ ้ ี่ เมื่อกล่าวถึงสิ่งศักดิสทธิ์ จะใช้คาศัพท์ภาษาบาลีสนสกฤต ์ ิ ั ซึ่งถือว่าต้องแปลความทุกคา ๑.๒) การเลือกใช้คาศัพท์เหมาะแก่เนื้อเรืองและ ่ ฐานะของบ ุคคลในเรือง ่
  • 17. ๑.๓) การเลือกใช้เลือกคาโดยคานึงถึงเสียง กวีได้ดดแปลงฉันท์บางชนิดให้มีความหมายแตกต่าง ั จากเดิมทาให้มความไพเราะมากขึน สามัคคีคาฉันท์มีการใช้ ี ้ คาที่มีเสียงเสนาะ (๑) การใช้คาที่ เล่นเสียงหนักเบา ในบทร้อยกรอง ประเภทคาฉันท์กาหนดเสียงหนักเบา ไว้แน่นอนเป็ นแบบ แผนที่ยึดถือกัน ถ้าอ่านเป็ นทานองเสนาะ ก็จะทาให้รสึกถึง ู้ รสไพเราะของเนือความได้ ดังตัวอย่าง ้ ๏ ดังนัน ณ หมูใด ่ ้ ่ ผิ บ ไร้สมัครมี พร้อมเพรียงนิพทธ์นีั รวิวาทระแวงกัน
  • 18. (๒) การเล่นเสียงสัมผัส ในฉันท์ของนายชิต บุรทัต มีทงสัมผัสนอกสัมผัสในโดยเฉพาะสัมผัสสระและ ั้ สัมผัสพยัญชนะแพรวพราว คล้ายกับความไพเราะ ของกลอน เช่น ๏ ควรยกประโยชน์ยน นรอื่นก็แลเหลียว ื่ ด ูบ้างและกลมเกลียว มิตรภาพผด ุงครอง คาที่สมผัสในวรรค ได้แก่ (ประ)โยชน์-ยื่น, แล- ั เหลียว, กลม-เกลียว
  • 19. (๓) การเล่นสัมผัสชุดคาและชุดเสียง เช่น ๏ พร้อมเพรียงประเสริฐครัน เพราะฉะนันแหละบุคคล ้ ผูหวังเจริญตน ้ ธุระเกียวกะหมูเ่ ขา ่ มีการเล่นเสียงสัมผัสชุดคา ได้แก่ พร้อม-เพรียง (๔) มีการเล่นคา
  • 20. ๒) การใช้โวหาร สามัคคีเภทคาฉันท์มีความไพเราะ งดงามอันเกิดจากสารที่กวีใช้ศิลปะในการถ่ายทอด ความหมายของเนือหา โดยการใช้สานวนโวหาร และการใช้ ้ ภาพพจน์ เพื่อผูอ่านจินตนาการภาพชัดเจน เข้าใจและเกิด ้ อารมณ์คล้อยตาม ดังนี้ (๒.๑) บรรยายโวหาร ใช้คาให้เห็นภาพชัดเจนตามลาดับ เหตุการณ์ รวดเร็ว ไม่เยิ่นเย้อ เข้าใจง่าย (๒.๒) พรรณนาโวหาร เป็ นการสร้างมโนภาพให้ผอ่าน ู้ เกิดภาพขึนในใจ หรือมองเห็นภาพบรรยากาศตามที่กวี ้ ต้องการ
  • 21. (๒.๓) อุปมาโวหาร เป็ นการกล่าวเปรียบเทียบเพื่อให้ ผูอ่านเข้าใจและเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึน ้ ้ ๓) ลีลาการประพันธ์ สามัคคีเภทคาฉันท์ในตอน ที่ตดมามีลลาการประพันธ์ที่เด่นชัด ดังนี้ ั ี ๓.๑) พิโรธวาทัง บทแสดงความโกรธเกลียวของพระ เจ้าอชาตศัตรูที่แสร้งโกรธวัสสการพราหมณ์อย่างรุนแรง ทาให้เกิดความสมจริง ๓.๒) สัลลาปังคสัย บทแสดงความโศกเศร้าเสียใจ เมื่อวัสสการพราหมณ์ถกทาโทษ ู