SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
๑



                                           วิสัยทัศน์

        หลักสูตรอาเซียนศึกษาโรงเรียนด่านแม่คามัน มุงพัฒนาผู้เรียนให้มีความรูความเข้าใจเกียวกับ
                                                   ่                        ้            ่
ประชาคมอาเซียนทางด้านการเมือง เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมทั้ง ๑๐ ประเทศ มีความตระหนักในการ
เป็นสมาชิกที่ดีของประชาคมอาเซียน สามารถติดต่อสื่อสารกับกลุ่มประเทศในประชาคมอาเซียนและอยู่
ร่วมกันได้โดยดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์
ร่วมกัน และพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะสาคัญในการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘

สมรรถนะหลักของผู้เรียน
        หลักสูตรอาเซียนศึกษา โรงเรียนด่านแม่คามัน พุทธศักราช ๒๕๕๕ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ
๕ ประการ ดังนี้
       ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อ
ขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
       ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
       ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม
และสิ่งแวดล้อม
       ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันใน
สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่
พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
       ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม




ASEAN LEARNING SCHOOL                                          DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๒


คุณลักษณะอันพึงประสงค์
          หลักสูตรอาเซียนศึกษา โรงเรียนด่านแม่คามัน พุทธศักราช ๒๕๕๕ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองของท้องถิ่น
ของประเทศไทยและพลโลก ดังนี้
       ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
       ๒. ซื่อสัตย์สุจริต
       ๓. มีวินัย
       ๔. ใฝ่เรียนรู้
       ๕. อยู่อย่างพอเพียง เห็นคุณค่าและรู้จักตัวตนของตนเอง
       ๖. มุ่งมั่นในการทางาน
       ๗. รักความเป็นไทย
       ๘. มีจิตสาธารณะ รักท้องถิ่น




ASEAN LEARNING SCHOOL                                             DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๓

                            คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ๓
รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒                             กลุมสาระการเรียนรูสงคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                                                ่              ้ั
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓                                                       เวลา ๔๐ ชั่วโมง
            ศึกษาประวัติ ความเป็นมาของประเทศสมาชิกในอาเซียน วิสัยทัศน์อาเซียน ประเทศสมาชิก
อาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน ธงอาเซียน คาขวัญอาเซียน เพลงประจาอาเซียน ภาษาของอาเซียน
ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเงินตราสังคมและวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย บทบาทของประเทศไทยในอาเซียน ประเทศไทยกับการดารงตาแหน่ง
ประธานอาเซียน ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเป็นสมาชิกอาเซียน ความเป็นมาของประชาคม
อาเซียน และเสาหลักประชาคมอาเซียน
 โดยใช้ภาษาในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวน
การกลุ่ม กระบวนการทางสังคม กระบวนการนาเสนอข้อมูล และวิธีการทางประวัติศาสตร์
 เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถคิดวิเคราะห์ สร้างองค์ความรู้ใหม่ ตระหนัก
เห็นคุณค่ามีความภาคภูมิใจในความเป็นไทยและความเป็นอาเซียน ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน
มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี/สันติธรรม ยอมรับความแตกต่างในการนับถือ
ศาสนา และดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรียนรู้
 ๑. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับกาเนิดอาเซียน วิสัยทัศน์อาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน ธงอาเซียน คา
ขวัญอาเซียน เพลงประจาอาเซียน และภาษาของอาเซียน
 ๒. อธิบายเกี่ยวกับธงอาเซียน และสัญลักษณ์อาเซียน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมือง
การปกครอง ระบบเงินตรา สังคมและวัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย
 ๓. บอกความเป็นมาของประชาคมอาเซียนและเสาหลักประชาคมอาเซียน
 ๔. มีความตระหนักเห็นคุณค่าและภูมิใจในความเป็นไทย บอกประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการ
เป็นสมาชิกอาเซียน




ASEAN LEARNING SCHOOL                                           DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๔

                                โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ๓
      รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒                           กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
      ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓                                  เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต

หน่วย    ชื่อหน่วย            ผลการเรียนรู้                  สาระสาคัญ               เวลา   คะแนน
  ที่    การเรียนรู้                                                                  ชม.
๑     เราคือ             ๑. บอกความเป็นมาของ   ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย               ๑๐      ๓๐
      ประชาคม            ประเทศสมาชิกอาเซียน   ประเทศสมาชิกที่มีความแตกต่างกันทั้ง
      อาเซียน                                  ด้านภาษา วัฒนธรรม การดารงชีวิต
                                               สภาพทางภูมิศาสตร์ การเรียนรู้ความ
                                               เป็นมาของประเทศสมาชิกจะทาให้มี
                                               ความเข้าใจในวิถีชีวิต ทางวัฒนธรรม
                                               ที่แตกต่างกัน รวมทั้งเกิดความ
                                               ภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของไทย
                                               สอบกลางภาคเรียนที่ ๑                           ๑๐
๒       มารู้จักธง    ๑. อธิบายเกี่ยวกับธง     ธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธง       ๙       ๓๐
        อาเซียน      อาเซียน                   ชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนบ่ง
        และ          และสัญลักษณ์อาเซียน       บอกถึงคุณค่าความสาคัญ และความ
        สัญลักษณ์                              เป็นเอกลักษณ์ของประเทศอาเซียน
                                               จิตพิสัย                                      ๑๐
                                               สอบปลายภาคเรียนที่ ๑                   ๑      ๑๐
                                               รวมคะแนน                                      ๑๐๐
๓       ภาษาที่ใช้ใน ๑.รู้และเข้าใจในภาษาของ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของ              ๕      ๒๕
        อาเซียน      กลุ่มประเทศในอาเซียน      อาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน
                     ๒. ตระหนักถึงความสาคัญ แต่ละประเทศต่างมีภาษาประจาชาติ
                     ของภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร ของตน จึงจาเป็นต้องเรียนรู้
                     ของกลุ่มประเทศในอาเซียน ภาษาอังกฤษให้สามารถสื่อสารได้
                                               สอบกลางภาคเรียนที่ ๒                   ๑       ๑๐
๔       คุณลักษณะของ ๑. บอกคุณลักษณะของ        การเห็นคุณค่าความสาคัญ ความภูมิใจ      ๘       ๒๕
        เด็กไทยสู่   เด็กไทยในประชาคม          ในความเป็นไทยและเคารพในคุณค่า
        อาเซียน      อาเซียน                   ในวิถีการดาเนินชีวิตขนบธรรมเนียม
                     ๒.มีความภูมิใจในความ      ประเพณี วัฒนธรรมไทยและประเทศ
                     เป็นไทยและเคารพในคุณค่า สมาชิกอาเซียน
                     วิถีการดาเนินชีวิต
                     วัฒนธรรมไทยและประเทศ
                     สมาชิก

    ASEAN LEARNING SCHOOL                                      DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๕

หน่วย      ชื่อหน่วย          ผลการเรียนรู้                       สาระสาคัญ        เวลา    คะแนน
  ที่     การเรียนรู้                                                               ชม.
๕     แหล่งเรียนรู้      ๑.บอกแหล่งเรียนรู้สืบค้น   แหล่งเรียนรู้สู่อาเซียน          ๕      ๑๐
      เพิ่มเติม         ข้อมูลเกี่ยวกับประชาคม
      เกี่ยวกับ         อาเซียน
      อาเซียน
                                                    จิตพิสัย                               ๑๐
                                                    สอบปลายปี                              ๒๐
                                     รวมตลอดปี                                      ๔๐     ๑๐๐




    ASEAN LEARNING SCHOOL                                           DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๖

                                                        หน่วยการเรียนรู้
    หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑                                                                      เรื่อง เราคือประชาคมอาเซียน
    รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒                        รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓                   ภาคเรียนที่ ๑                                                         เวลา ๑๐ ชั่วโมง
    ผู้สอน................................................... วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................
๑. ผลการเรียนรู้
           ๑. บอกชื่อประเทศสมาชิกอาเซียนได้
           ๒. บอกชื่อเมืองหลวงและที่ตั้งของประเทศสมาชิกอาเซียนได้
 ๓. อธิบายระบบการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนได้
 ๔. บอกระบบเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียนได้
 ๕. อธิบายลักษณะสาคัญของวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียนได้
           ๖. บอกลักษณะการทักทาย การแสดงความขอบคุณ และการแสดงความเคารพตามวัฒนธรรมของ
           ประเทศสมาชิกอาเซียนได้
 ๗. มีความภาคภูมิใจและชื่นชมมารยาทสังคมของสังคมไทยและสังคมของประเทศสมาชิกอาเซียนได้
 ๘. บอกประวัติความเป็นมาของประเทศสมาชิกอาเซียนได้
๒. สาระสาคัญ ความคิดรวบยอด
 ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยประเทศสมาชิกที่มีความแตกต่างกันทั้งด้านภาษา วัฒนธรรม การ
ดารงชีวิต และสภาพทางภูมิศาสตร์ การเรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาของประเทศสมาชิกจะทาให้มีความ
เข้าใจในวิถีชีวิต และความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรม
ของไทย
๓. สาระการเรียนรู้
           ความรู้
           - ประวัติความเป็นมาของประเทศสมาชิก
   - ภาษาและวัฒนธรรม
 - ระบบเงินตรา
 - ที่ตั้งและเมืองหลวงของประเทศสมาชิก
 - สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ
 - การเมืองการปกครอง
 ทักษะ/กระบวนการ
 - มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 - มีความสามารถในการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น
 - เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม
           คุณลักษณะ
           - ใฝ่เรียนรู้
           - รักความเป็นไทย



ASEAN LEARNING SCHOOL                                                                    DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๗

         ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
         - ความสามารถในการสื่อสาร
         - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
 - ความสามารถในการคิด
๕. การประเมินรวบยอด
 ชิ้นงานหรือภาระงาน
         - บันทึกการเทียบค่าระบบเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียน
 - รายงานประวัติความเป็นมาของประเทศสมาชิกอาเซียน
 - แผนที่/แผนผังที่ตั้งและเมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน
         - บันทึกการเปรียบเทียบความเหมือนและความต่างของภาษาและวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิก
         อาเซียน
 - การนาเสนอข้อมูลพื้นฐานของประเทศสมาชิกอาเซียน
๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมิน
 ๖.๑ ตรวจผลงาน            /รายงาน
 ๖.๒ การนาเสนอข้อมูล
 ๖.๓ การสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม/เดี่ยว
         เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน
         ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก
         ๓ ระดับคุณภาพ ดี
         ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้
         ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
         เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล
 ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
         เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน
 ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
         ๗.๑ นักเรียนศึกษาแผนที่ทวีปเอเชีย แล้วร่วมกันบอกชื่อประเทศ ชื่อเมืองหลวง ที่ตั้งและประวัติ
ความเป็นมาของประเทศที่เป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน ทั้ง ๑๐ ประเทศ
 ๗.๒ นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม ออกเป็น ๑๐ กลุ่ม ร่วมกันศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับ
วัฒนธรรม การแต่งกาย สภาพทางภูมิศาสตร์ อาหาร และขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศสมาชิก
อาเซียน กลุ่มละ ๑ ประเทศ จากนั้นให้ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน โดยร่วมกันถาม-
ตอบและอภิปรายแสดงความคิดเห็น จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปคุณค่าและความสาคัญของวัฒนธรรม
แต่ละประเทศ ความเหมือนและความแตกต่าง แล้วจัดทาเป็นแผนผังความคิดติดไว้ศึกษาในชั้นเรียน

ASEAN LEARNING SCHOOL                                           DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๘

 ๗.๓ แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม กลุ่มที่ ๑ รับบัตรภาพสกุลเงินตรา กลุ่มที่ ๒ รับบัตรคาชื่อ
ประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อให้จับคู่สกุลเงินตรากับชื่อประเทศ โดยครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความ
ถูกต้อง จากนั้นร่วมกันสรุประบบเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียน แล้วให้นักเรียนบันทึกแผนภูมิระบบ
เงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียน
        ๗.๔ นักเรียนแสดงบทบาทสมมติ เกี่ยวกับการทักทาย การแสดงความขอบคุณ และการแสดงความ
เคารพตามวัฒนธรรมของประเทศ สมาชิกอาเซียน
๘. สือ/แหล่งเรียนรู้
     ่
        ๘.๑ แผนที่ทวีปเอเชีย
        ๘.๒ บัตรภาพสกุลเงินตรา
        ๘.๓ บัตรคาชื่อประเทศสมาชิกอาเซียน
        ๘.๕ รูปภาพ
  - การแต่งกาย
                 - ประเพณีของประเทศสมาชิกอาเซียน
                 - ธงประเทศสมาชิกอาเซียน
  - สัญลักษณ์ของอาเซียน
 ๘.๖ แหล่งเรียนรู้ เช่น อินเทอร์เน็ต/ห้องสมุด
 ๘.๗ กระดาษ/ดินสอ/สี
 ๘.๘ แผนภูมิระบบเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียน
 ๘.๙ ภาพข่าวจากหนังสือพิมพ์
 ๘.๑๐ แผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของประเทศสมาชิกอาเซียน
        ๘.๑๑ หนังสือ/เอกสาร/แผ่นพับ




ASEAN LEARNING SCHOOL                                         DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๙

                                                    หน่วยการเรียนรู้
  หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒                                                               เรื่อง มารู้จักธงอาเซียนและสัญลักษณ์
  รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒                        รายวิชาเพิ่มเติม     กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓                   ภาคเรียนที่ ๑                                                              เวลา ๙ ชั่วโมง
  ผู้สอน...................................................   วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................

๑. ผลการเรียนรู้
           ๑.๑ อธิบายเกี่ยวกับธงอาเซียน และสัญลักษณ์อาเซียน
           ๑.๒ บอกลักษณะธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
            ๑.๓ ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน
                   และธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
๒.สาระสาคัญ
 ธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน             และธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนบ่งบอกถึงคุณค่าความสาคัญ
และความเป็นเอกลักษณ์ของประเทศอาเซียน
๓.สาระการเรียนรู้
           ความรู้
           - ธงอาเซียน
 - สัญลักษณ์อาเซียน
           - ความหมายของสัญลักษณ์อาเซียน
           - ธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
           ทักษะ/ กระบวนการ
 - กระบวนการกลุ่ม
           - การแสดงความคิดเห็น
 - การค้นคว้า
 - การตอบคาถาม
 - การเล่าเรื่อง
                 คุณลักษณะ
           - ใฝ่เรียนรู้
           - มุ่งมั่นในการทางาน
                - รักความเป็นไทย
๔.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
                - ความสามารถในการสื่อสาร
                - ความสามารถในการใช้ทักษะการคิด
      - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี




ASEAN LEARNING SCHOOL                                                                 DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๐

๕.การประเมินรวบยอด
 ชิ้นงาน/ภาระงาน
            - ใบงาน
            - แผนภาพความคิด
            - รายงาน
๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมินผล
         - การสังเกต
         - การซักถาม
         - ตรวจผลงาน
         - การนาเสนอผลงาน
         เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน
         ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก
         ๓ ระดับคุณภาพ ดี
 ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้
 ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
         เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล
 ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
         เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน
 ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
     ๑. แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาค้นคว้าและจัดทาใบงาน
          ธงอาเซียน
          สัญลักษณ์อาเซียน
          ธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
     ๒. อธิบายความหมาย หรือเขียนบรรยายประกอบภาพเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
     ๓. การพูดหรือ การเล่าเรื่องความสาคัญของธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธงชาติของประเทศ
สมาชิกอาเซียน
      ๔. การเขียนรายงาน ความหมายและความสาคัญของธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน
และธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
      ๕. การวาดภาพธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
      ๖. ร่วมแสดงความคิดเห็นและเขียนแผนภาพความคิด การเขียนสรุปองค์ความรู้ และนาเสนอผลงาน
หน้าชั้นเรียน


ASEAN LEARNING SCHOOL                                      DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๑

๘.สือ/แหล่งการเรียนรู้
    ่
      ๑.ใบความรู้
      ๒.ใบงาน
      ๓.แบบฝึกหัด
      ๔.คอมพิวเตอร์
      ๕.เอกสารประกอบการเรียน
      ๖.ห้องสมุด




ASEAN LEARNING SCHOOL          DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๒

                                                    หน่วยการเรียนรู้
  หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓                                                                             เรื่อง ภาษาที่ใช้ในอาเซียน
  รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒                        รายวิชาเพิ่มเติม     กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓                   ภาคเรียนที่ ๒                                                              เวลา ๕ ชั่วโมง
  ผู้สอน...................................................   วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................

๑. ผลการเรียนรู้
 ๑. รู้และเข้าใจในภาษาของกลุ่มประเทศในอาเซียน
 ๒. ตระหนักถึงความสาคัญของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของกลุ่มประเทศในอาเซียน
๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
 ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน แต่ละประเทศต่างมีภาษา
ประจาชาติของตน จึงจาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้สามารถสื่อสารได้
๓. สาระการเรียนรู้
 ความรู้
 มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารและภาษาประจาชาติของประเทศสมาชิก
อาเซียน
 ทักษะ/กระบวนการ
 สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวันง่ายๆ และใช้ภาษาประจาชาติของประเทศ
สมาชิกอาเซียน
 คุณลักษณะ
 มีทัศนคติที่ดีต่อการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวันง่ายๆและภาษาประจาชาติของ
ประเทศสมาชิกอาเซียน
๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
  ๑                 . ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสารมีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิดความรู้ความเข้าใจความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่างๆการเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้องตลอดจนการ
เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
             ๒ . ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิด
อย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
             ๓ . ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศเข้าใจความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคมแสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้ มาใช้ในการป้องกันและ
แก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
          ๔         . ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆไปใช้ใน
การดาเนินชีวิตประจาวันการเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องการทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคม
ASEAN LEARNING SCHOOL                                                                 DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๓

ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสมการ
ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
                  ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้
เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการ
เรียนรู้การสื่อสารการทางานการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
๕. การประเมินรวบยอด
 แสดงบทบาทสมมุติ ในบทสนทนา ในชีวิตประจาวันแบบง่ายๆด้วย ภาษาอังกฤษ                  และภาษา
ประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมิน
          - สังเกต
          - การซักถาม
          - ตรวจใบงาน
          - ตรวจรายงาน,แผนภาพความคิด
          เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน
          ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก
          ๓ ระดับคุณภาพ ดี
 ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้
 ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
          เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล
 ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
          เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน
 ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
 ๑. นาสื่อวีดีทัศน์เกี่ยวกับบทสนทนาสั้นๆ ด้วยภาษาประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
 ๒. นาเสนอเกี่ยวกับภาษาประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน และให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาที่เป็น
ภาษาราชการของกลุ่มอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ
 ๓. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น ๑๑ กลุ่ม ศึกษาภาษาประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน และ
ภาษาราชการของกลุ่มอาเซียน โดยใช้วิธีการจับฉลากเลือกประเทศ
 ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึกฝนการการสนทนา หรือฝึกพูดคาพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจาวันของชาติต่างๆ
ในอาเซียน โดยมีครูคอยให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด
 ๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงบทบาทสมมุติ โดยให้เริ่มต้นจากประเทศที่เรียงตามลาดับชื่อ
ประเทศในภาษาอังกฤษ
 ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผลการแสดงบทบาทสมมุติโดยใช้วิธีการสังเกต
ASEAN LEARNING SCHOOL                                           DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๔

๗. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปภาษาที่ใช้ในกลุ่มอาเซียน ทั้งภาษาประจาชาติ และภาษาราชการ
๘. สือ/แหล่งการเรียนรู้
     ่
- คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- มุม อาเซียนของโรงเรียน




ASEAN LEARNING SCHOOL                                        DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๕

                                                    หน่วยการเรียนรู้
  หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔                                                                                เรื่อง เด็กไทยยุคอาเซียน
  รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒                        รายวิชาเพิ่มเติม     กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓                   ภาคเรียนที่ ๒                                                              เวลา ๘ ชั่วโมง
  ผู้สอน...................................................   วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................

๑. ผลการเรียนรู้
     ๑.๑ บอกคุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
     ๑.๒ มีความภูมใจในความเป็นไทย
     ๑.๓ เคารพในคุณค่าในวิถีการดาเนินชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไทย
และประเทศสมาชิกอาเซียน
๒.สาระสาคัญ
 การเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน         ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ช่วยให้
เด็กไทยมีความภูมิใจในความเป็นไทย เคารพในคุณค่าในวิถีการดาเนินชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรมไทย และประเทศสมาชิกอาเซียน ยอมรับและอยู่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนได้อย่างสันติสุข
๓.สาระการเรียนรู้
           ความรู้
           - ประชาคมอาเซียน
           - ประเทศสมาชิกอาเซียน
 - ความสัมพันธ์กับประเทศไทย
           ทักษะ/ กระบวนการ
 - กระบวนการกลุ่ม
           - การแสดงความคิดเห็น
 - การค้นคว้า
 - การตอบคาถาม
 - การรายงาน
                 - โครงงาน
           - การสรุปองค์ความรู้
          คุณลักษณะ
            - ใฝ่เรียนรู้
            - มุ่งมั่นในการทางาน
           - รักความเป็นไทย
๔.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
                 - ความสามารถในการสื่อสาร
                 - ความสามารถในการใช้ทักษะการคิด
    - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ASEAN LEARNING SCHOOL                                                                 DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๖

๕.การประเมินรวบยอด
 ชิ้นงาน/ภาระงาน
            - ใบงาน
            - แผ่นพับ
            - รายงาน
            - แผนภาพความคิด
๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมินผล
          - สังเกต
          - การซักถาม
          - ตรวจใบงาน
          - ตรวจรายงาน,แผนภาพความคิด
          เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน
          ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก
          ๓ ระดับคุณภาพ ดี
 ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้
 ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
          เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล
 ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
          เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน
 ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
     ๑. แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาค้นคว้าและจัดทารายงาน
         - ประชาคมอาเซียน
         - ประเทศสมาชิกอาเซียน
         - ความสัมพันธ์กับประเทศไทย
     ๒. อธิบายแสดงความคิดเห็น และตอบคาถามเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
      ๓. การพูดหรือ การเล่าเรื่องความสาคัญของประชาคมอาเซียน และประเทศสมาชิกอาเซียน
      ๔. การเขียนรายงาน การทาแผ่นพับ คุณลักษณะของเด็กไทยในอาเซียน
      ๕. การวาดภาพและเขียนบรรยายภาพเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน
      ๖. การทาโครงงานเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน
      ๗.ร่วมสรุปองค์ความรู้ แสดงความคิดเห็นและเขียนแผนภาพความคิด เพื่อนาเสนอผลงานแลกเปลี่ยน
เรียนรู้หน้าชั้นเรียน


ASEAN LEARNING SCHOOL                                       DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๗

๘.สือ/แหล่งการเรียนรู้
    ่
      ๑.ใบความรู้            ๒.ใบงาน
      ๓.แบบฝึกหัด            ๔.คอมพิวเตอร์
      ๕.เอกสารประกอบการเรียน ๖.ห้องสมุด




ASEAN LEARNING SCHOOL                        DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๘

                                                    หน่วยการเรียนรู้
  หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕                                                         เรื่อง แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน
  รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒                        รายวิชาเพิ่มเติม     กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓                   ภาคเรียนที่ ๒                                                              เวลา ๕ ชั่วโมง
  ผู้สอน...................................................   วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................

๑. ผลการเรียนรู้
 ๑. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอาเซียน จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
 ๒. สามารถใช้แหล่งเรียนรู้สืบค้นข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
 สื่ออินเตอร์เน็ตมีบทบาทสาคัญในชีวิตประจาวันและสามารถสืบค้นได้โดยไม่ยาก การศึกษาเพื่อ
สืบค้นและรับข้อมูลจากสื่อต่างๆในชีวิตประจาวัน
๓. สาระการเรียนรู้
 ความรู้
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้และใช้แหล่งเรียนรู้สืบค้นข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
 ทักษะ/กระบวนการ
 - สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวดเร็ว
 - สามารถรับและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากสื่อต่างๆในชีวิตประจาวันได้
 คุณลักษณะ
 มีเจตคติที่ดีต่อสื่อต่างๆในชีวิตประจาวัน
๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
 ๑. สามารถใช้เทคโนโลยีต่างๆในชีวิตประจาวัน เพื่อรับสื่อและสืบค้นข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม
 ๒. วิเคราะห์เพื่อเลือกใช้ข้อมูลสื่อที่เป็นประโยชน์และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
๕. การประเมินรวบยอด
 - ใบงาน
๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมิน
          - สังเกตพฤติกรรม
 - ตรวจผลงาน
          เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน
          ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก
          ๓ ระดับคุณภาพ ดี
 ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้
 ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
          เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล
 ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
ASEAN LEARNING SCHOOL                                                                 DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๑๙

 ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
         เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน
 ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
 ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
 ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
 ๑. นาเสนอสื่อวีดีทัศน์เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารต่างๆที่กระทบชีวิตประจาวัน
 ๒. สนทนาร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสื่อต่างๆที่ตนเองรู้จัก และเคยใช้ในชีวิตประจาวัน
 ๓. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และโทษของการใช้สื่อประเภทต่างๆ
 ๔. นักเรียนแบ่งกลุ่มสืบค้นข้อมูลจากใบงานที่ครูกาหนดให้ โดยใช้สื่อทางอินเตอร์เน็ต
 ๕. นักเรียนนาเสนองานที่ได้สืบค้น
 ๖. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปงานพร้อมทั้งประเมินผลงานที่สืบค้นมา
๘. สือ/แหล่งการเรียนรู้
     ่
 - คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต
         - เอกสารประกอบการเรียน
         เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน
                                         ระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
        ดีมาก(๔)                       ดี(๓)                    พอใช้(๒)              ปรับปรุง(๑)
ผลงานมีความถูกต้อง           ผลงานมีความถูกต้อง         ผลงานมีข้อมูลแต่ยังไม่ ผลงานมีข้อมูล
ชัดเจนครบถ้วนสมบูรณ์ สมบูรณ์พอสมควรตาม ครบถ้วนสมบูรณ์                          ไม่ถูกต้องตามจุดประสงค์
ตามจุดประสงค์ของ             จุดประสงค์ของกิจกรรม พอสมควรตาม                   ของกิจกรรม ขาด
กิจกรรม มีความคิด            มีความคิดสร้างสรรค์ มี จุดประสงค์ของกิจกรรม ความคิดสร้างสรรค์ ไม่มี
สร้างสรรค์ มีภาพ             ภาพ                        มีความคิดสร้างสรรค์    ภาพ
ประกอบสวยงาม                 ประกอบสวยงาม               เล็กน้อย               ประกอบ
สอดคล้องกับข้อมูล            สอดคล้องกับข้อมูล          มีภาพประกอบแต่ยังขาด
                                                        ความสอดคล้องกับข้อมูล
เกณฑ์การประเมิน
                  ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก
                  ๓ ระดับคุณภาพ ดี
  ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้
  ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง




ASEAN LEARNING SCHOOL                                             DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๒๐

 เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล
                                                   ระดับคุณภาพ
      ที่    รายการประเมิน
                                    ๓                    ๒                               ๑
  ๑. วิธีการนาเสนอ      น่าสนใจ แปลกใหม่      น่าสนใจ                         ไม่น่าสนใจ
  ๒. ลาดับขั้นตอนการ พูดได้ตรงประเด็น ตอบข้อ พูดได้ตรงประเด็น ตอบ             พูดไม่ตรงประเด็น
        ทางาน           ซักถามได้ชัดเจน       ข้อซักถามได้แต่ยังไม่           ไม่มีลาดับขั้นตอน
                        ครอบคลุมเนื้อหา       ครอบคลุมเนื้อหา
  ๓. การสรุปข้อมูล      สรุปใจความได้ตรงตาม   สรุปใจความได้ตรงตาม             สรุปใจความไม่ตรงตาม
                        วัตถุประสงค์และมีสาระ วัตถุประสงค์แต่ไม่              วัตถุประสงค์
                        ครอบคลุมเนื้อหา       ครอบคลุมเนื้อหา
  เกณฑ์การประเมิน
  ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
  ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
  ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง

 เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน
                                                      ระดับคุณภาพ
ที่         รายการประเมิน
                                     ๓                        ๒                              ๑
๑. การทางานร่วมกัน - ยอมรับมติการทางานของ        - ยอมรับมติการทางาน            - ยอมรับมติ
                       กลุ่ม                     ของกลุ่ม                       การทางานของกลุ่ม
                       - รับผิดชอบงานที่ได้รับ   - ไม่รับผิดชอบงานที่ได้รับ     - หลีกเลี่ยง
                       มอบหมายจากกลุ่ม           มอบหมายให้ทา                   การทางานกลุ่ม
๒. ความกระตือรือร้น - ช่วยเหลืองาน               - ช่วยเหลืองาน                 - ช่วยเหลืองานภายใน
                       ภายในกลุ่ม                ภายในกลุ่ม                     กลุ่มเมื่อมี
                       - ร่วมแสดงความคิดเห็น     - ร่วมแสดงความคิดเห็น          การร้องขอ
                       - ใฝ่เรียนรู้
                       - ศึกษาค้นคว้า
๓. การตอบคาถาม         ให้ความร่วมมือในการตอบ    มีส่วนร่วมในการตอบ             มีส่วนร่วมในการตอบ
                       คาถามเป็นอย่างดี          คาถามบางครั้ง                  คาถามน้อยมาก
๔. ความคิดริเริ่ม      ร่วมรับฟังและแสดงความ     รับฟังแต่แสดงความ              ร่วมกิจกรรมตามที่กลุ่ม
      สร้างสรรค์       คิดเห็นที่แตกต่างแต่มี    คิดเห็นคล้อยตามคนอื่น          ร้องขอ
                       ประโยชน์
 เกณฑ์การประเมิน
  ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี
  ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้
  ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง


 ASEAN LEARNING SCHOOL                                        DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๒๑

                                          บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.) แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน. ม.ป.ท.
              . (๒๕๕๒) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
              โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
              . (๒๕๕๔) ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสาคัญที่สุด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต ๒. (๒๕๕๕) คู่มือการปรับทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตร
               สู่ ASEAN. เอกสาร ศน.ที่ ๒/๒๕๕๕.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (๒๕๕๔) ชุดความรู้ครูยุคใหม่. เอกสาร ศน.ที่ ๒๐/
                ๒๕๕๕
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(๒๕๕๔). แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคม
               อาเซียน กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
www.secondary41.go.th/doc/Asian/prachakomAsian.PDF. สืบค้น วันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕.
nantanawk.wordpress.com/2011/08/26/ประชาคมอาเซียน. สืบค้น วันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕.




ASEAN LEARNING SCHOOL                                            DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๒๒



                                       คณะจัดทาเอกสาร

 ที่ปรึกษา
 ๑. นายประพฤทธิ์ สุขใย         ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑
 ๒. นางสาวสมพิศ รัตนสุวรรณ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ผู้อานวยการงานนิเทศและประเมินผล
                               การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑
 ๓. นายวุฒิศักดิ์ สังเวียนวงษ์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการ
                               สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑
 ๔.นายปรีชา สุขเกษม            ศึกษานิเทศก์ชานาญการ
                               สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑
 ๕. นางอนงค์ รอดแสน            ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
                               สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต ๒
 ผู้จัดทาเอกสาร
 ๑. นายสุรินทร์ เนียมแก้ว      ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๒. นางลัฐิกา ผาบไชย           ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๓. นางราพึง อ่อนอุระ          ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๔. นางมาลัย คุ้มผล            ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๕. นางระพี คล้ายจินดา         ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๖. นางกรกนก มณีรัตน์          ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๗. นางจิดาภา วงค์ยิ้มใย       ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๘. นายชูชาติ อ่อนอุระ         ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๙. นายโกวิทย์ จันทร์แจ่มศรี   ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๑๐. นางรัชนีกร แก้วกูล        ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๑๑. นายจารัส ผาเจริญ          ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๑๒. นายอานวย คาศรี            ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๑๓. นายธวัชชัย สุโสม          ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๑๔. นายนิวัตร์ จอมภา          ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๑๕. นายวาด ปานอินทร์          ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๑๖. นายดารง ทั่งมั่งมี        ครูชานาญการพิเศษ ช่วยราชการโรงเรียนด่านแม่คามัน
 ๑๗. นายกวี พุฒโต              ครูชานาญการพิเศษ ช่วยราชการโรงเรียนด่านแม่คามัน




ASEAN LEARNING SCHOOL                                       DANMAEKHAMMAN SCHOOL
๒๓




ASEAN LEARNING SCHOOL   DANMAEKHAMMAN SCHOOL

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์KruBowbaro
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์sirikase
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทางNut Seraphim
 
แผนอาเซียน ป.2
แผนอาเซียน  ป.2แผนอาเซียน  ป.2
แผนอาเซียน ป.2sompriaw aums
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทยi_cavalry
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
อาเซียน 10 ประเทศ
อาเซียน 10 ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ
อาเซียน 10 ประเทศSujeeporn Sawangwong
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
 
03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง03 การวัดระยะทาง
03 การวัดระยะทาง
 
แผนอาเซียน ป.2
แผนอาเซียน  ป.2แผนอาเซียน  ป.2
แผนอาเซียน ป.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทย
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
อาเซียน 10 ประเทศ
อาเซียน 10 ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ
อาเซียน 10 ประเทศ
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 

Andere mochten auch

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6sompriaw aums
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3sompriaw aums
 
เกมอาเซียนสกุลเงิน
เกมอาเซียนสกุลเงินเกมอาเซียนสกุลเงิน
เกมอาเซียนสกุลเงินNan NaJa
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2ครูภัทรวดี คงคาพันธ์
 
ภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียนภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียนkanidta vatanyoo
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
การวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 606 18
การวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 606 18การวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 606 18
การวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 606 18thitimon
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6sompriaw aums
 
Las ม.2 ปีการศึกษา 2554
Las ม.2 ปีการศึกษา 2554Las ม.2 ปีการศึกษา 2554
Las ม.2 ปีการศึกษา 2554Aobinta In
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1sompriaw aums
 
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตวิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตkrutip Kanayat
 

Andere mochten auch (20)

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
Asean flag
Asean flag Asean flag
Asean flag
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 4 6
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
 
เกมอาเซียนสกุลเงิน
เกมอาเซียนสกุลเงินเกมอาเซียนสกุลเงิน
เกมอาเซียนสกุลเงิน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
ไอเอส ม.3
ไอเอส ม.3ไอเอส ม.3
ไอเอส ม.3
 
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
โครงสร้างกำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษป.2
 
ภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียนภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียน
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
การวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 606 18
การวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 606 18การวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 606 18
การวิเคราะห์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 606 18
 
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
 
Las ม.2 ปีการศึกษา 2554
Las ม.2 ปีการศึกษา 2554Las ม.2 ปีการศึกษา 2554
Las ม.2 ปีการศึกษา 2554
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
 
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตวิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
 

Ähnlich wie แผนอาเซียน ป.3

แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
Asean section2
Asean section2Asean section2
Asean section2Ict Krutao
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3sompriaw aums
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผลsasiton sangangam
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Kruthai Kidsdee
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนAkarimA SoommarT
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socPrachoom Rangkasikorn
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3sompriaw aums
 

Ähnlich wie แผนอาเซียน ป.3 (20)

vip
vipvip
vip
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 102 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
 
Asean section2
Asean section2Asean section2
Asean section2
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ม.1-3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u06-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u06-soc
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.3
 

Mehr von sompriaw aums

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6sompriaw aums
 
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpcปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpcsompriaw aums
 
นิทาน ปลาบู่ทอง
นิทาน   ปลาบู่ทองนิทาน   ปลาบู่ทอง
นิทาน ปลาบู่ทองsompriaw aums
 
นิทาน ดวงอาทิตย์
นิทาน   ดวงอาทิตย์นิทาน   ดวงอาทิตย์
นิทาน ดวงอาทิตย์sompriaw aums
 
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachineSerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachinesompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 

Mehr von sompriaw aums (19)

Google apps photos
Google apps photosGoogle apps photos
Google apps photos
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.2
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
 
Active Directory
Active DirectoryActive Directory
Active Directory
 
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpcปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
ปฏิบัติการ กู้ชีพ Otpc
 
นิทาน ปลาบู่ทอง
นิทาน   ปลาบู่ทองนิทาน   ปลาบู่ทอง
นิทาน ปลาบู่ทอง
 
นิทาน ดวงอาทิตย์
นิทาน   ดวงอาทิตย์นิทาน   ดวงอาทิตย์
นิทาน ดวงอาทิตย์
 
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachineSerialNumberandMacAdress_TabletMachine
SerialNumberandMacAdress_TabletMachine
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
200 day part1
200 day part1200 day part1
200 day part1
 
Parents guide
Parents guideParents guide
Parents guide
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5
 
Tablet3
Tablet3Tablet3
Tablet3
 
Tablet2
Tablet2Tablet2
Tablet2
 

แผนอาเซียน ป.3

  • 1. วิสัยทัศน์ หลักสูตรอาเซียนศึกษาโรงเรียนด่านแม่คามัน มุงพัฒนาผู้เรียนให้มีความรูความเข้าใจเกียวกับ ่ ้ ่ ประชาคมอาเซียนทางด้านการเมือง เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมทั้ง ๑๐ ประเทศ มีความตระหนักในการ เป็นสมาชิกที่ดีของประชาคมอาเซียน สามารถติดต่อสื่อสารกับกลุ่มประเทศในประชาคมอาเซียนและอยู่ ร่วมกันได้โดยดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ ร่วมกัน และพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะสาคัญในการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ สมรรถนะหลักของผู้เรียน หลักสูตรอาเซียนศึกษา โรงเรียนด่านแม่คามัน พุทธศักราช ๒๕๕๕ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อ ขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่ พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 2. ๒ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรอาเซียนศึกษา โรงเรียนด่านแม่คามัน พุทธศักราช ๒๕๕๕ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองของท้องถิ่น ของประเทศไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง เห็นคุณค่าและรู้จักตัวตนของตนเอง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ รักท้องถิ่น ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 3. คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ๓ รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒ กลุมสาระการเรียนรูสงคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ่ ้ั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง ศึกษาประวัติ ความเป็นมาของประเทศสมาชิกในอาเซียน วิสัยทัศน์อาเซียน ประเทศสมาชิก อาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน ธงอาเซียน คาขวัญอาเซียน เพลงประจาอาเซียน ภาษาของอาเซียน ตราประจาแผ่นดิน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเงินตราสังคมและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย บทบาทของประเทศไทยในอาเซียน ประเทศไทยกับการดารงตาแหน่ง ประธานอาเซียน ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเป็นสมาชิกอาเซียน ความเป็นมาของประชาคม อาเซียน และเสาหลักประชาคมอาเซียน โดยใช้ภาษาในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวน การกลุ่ม กระบวนการทางสังคม กระบวนการนาเสนอข้อมูล และวิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถคิดวิเคราะห์ สร้างองค์ความรู้ใหม่ ตระหนัก เห็นคุณค่ามีความภาคภูมิใจในความเป็นไทยและความเป็นอาเซียน ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี/สันติธรรม ยอมรับความแตกต่างในการนับถือ ศาสนา และดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับกาเนิดอาเซียน วิสัยทัศน์อาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน ธงอาเซียน คา ขวัญอาเซียน เพลงประจาอาเซียน และภาษาของอาเซียน ๒. อธิบายเกี่ยวกับธงอาเซียน และสัญลักษณ์อาเซียน สภาพทางภูมิศาสตร์ การเมือง การปกครอง ระบบเงินตรา สังคมและวัฒนธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย ๓. บอกความเป็นมาของประชาคมอาเซียนและเสาหลักประชาคมอาเซียน ๔. มีความตระหนักเห็นคุณค่าและภูมิใจในความเป็นไทย บอกประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการ เป็นสมาชิกอาเซียน ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 4. โครงสร้างรายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา ๓ รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต หน่วย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา คะแนน ที่ การเรียนรู้ ชม. ๑ เราคือ ๑. บอกความเป็นมาของ ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย ๑๐ ๓๐ ประชาคม ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศสมาชิกที่มีความแตกต่างกันทั้ง อาเซียน ด้านภาษา วัฒนธรรม การดารงชีวิต สภาพทางภูมิศาสตร์ การเรียนรู้ความ เป็นมาของประเทศสมาชิกจะทาให้มี ความเข้าใจในวิถีชีวิต ทางวัฒนธรรม ที่แตกต่างกัน รวมทั้งเกิดความ ภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของไทย สอบกลางภาคเรียนที่ ๑ ๑๐ ๒ มารู้จักธง ๑. อธิบายเกี่ยวกับธง ธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธง ๙ ๓๐ อาเซียน อาเซียน ชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนบ่ง และ และสัญลักษณ์อาเซียน บอกถึงคุณค่าความสาคัญ และความ สัญลักษณ์ เป็นเอกลักษณ์ของประเทศอาเซียน จิตพิสัย ๑๐ สอบปลายภาคเรียนที่ ๑ ๑ ๑๐ รวมคะแนน ๑๐๐ ๓ ภาษาที่ใช้ใน ๑.รู้และเข้าใจในภาษาของ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของ ๕ ๒๕ อาเซียน กลุ่มประเทศในอาเซียน อาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน ๒. ตระหนักถึงความสาคัญ แต่ละประเทศต่างมีภาษาประจาชาติ ของภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร ของตน จึงจาเป็นต้องเรียนรู้ ของกลุ่มประเทศในอาเซียน ภาษาอังกฤษให้สามารถสื่อสารได้ สอบกลางภาคเรียนที่ ๒ ๑ ๑๐ ๔ คุณลักษณะของ ๑. บอกคุณลักษณะของ การเห็นคุณค่าความสาคัญ ความภูมิใจ ๘ ๒๕ เด็กไทยสู่ เด็กไทยในประชาคม ในความเป็นไทยและเคารพในคุณค่า อาเซียน อาเซียน ในวิถีการดาเนินชีวิตขนบธรรมเนียม ๒.มีความภูมิใจในความ ประเพณี วัฒนธรรมไทยและประเทศ เป็นไทยและเคารพในคุณค่า สมาชิกอาเซียน วิถีการดาเนินชีวิต วัฒนธรรมไทยและประเทศ สมาชิก ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 5. ๕ หน่วย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา คะแนน ที่ การเรียนรู้ ชม. ๕ แหล่งเรียนรู้ ๑.บอกแหล่งเรียนรู้สืบค้น แหล่งเรียนรู้สู่อาเซียน ๕ ๑๐ เพิ่มเติม ข้อมูลเกี่ยวกับประชาคม เกี่ยวกับ อาเซียน อาเซียน จิตพิสัย ๑๐ สอบปลายปี ๒๐ รวมตลอดปี ๔๐ ๑๐๐ ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 6. หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง เราคือประชาคมอาเซียน รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒ รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๑๐ ชั่วโมง ผู้สอน................................................... วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑. บอกชื่อประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ๒. บอกชื่อเมืองหลวงและที่ตั้งของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ๓. อธิบายระบบการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ๔. บอกระบบเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ๕. อธิบายลักษณะสาคัญของวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ๖. บอกลักษณะการทักทาย การแสดงความขอบคุณ และการแสดงความเคารพตามวัฒนธรรมของ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ๗. มีความภาคภูมิใจและชื่นชมมารยาทสังคมของสังคมไทยและสังคมของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ๘. บอกประวัติความเป็นมาของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ๒. สาระสาคัญ ความคิดรวบยอด ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยประเทศสมาชิกที่มีความแตกต่างกันทั้งด้านภาษา วัฒนธรรม การ ดารงชีวิต และสภาพทางภูมิศาสตร์ การเรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาของประเทศสมาชิกจะทาให้มีความ เข้าใจในวิถีชีวิต และความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ของไทย ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ - ประวัติความเป็นมาของประเทศสมาชิก - ภาษาและวัฒนธรรม - ระบบเงินตรา - ที่ตั้งและเมืองหลวงของประเทศสมาชิก - สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ - การเมืองการปกครอง ทักษะ/กระบวนการ - มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - มีความสามารถในการทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่น - เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม คุณลักษณะ - ใฝ่เรียนรู้ - รักความเป็นไทย ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 7. ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ความสามารถในการคิด ๕. การประเมินรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน - บันทึกการเทียบค่าระบบเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียน - รายงานประวัติความเป็นมาของประเทศสมาชิกอาเซียน - แผนที่/แผนผังที่ตั้งและเมืองหลวงของประเทศสมาชิกอาเซียน - บันทึกการเปรียบเทียบความเหมือนและความต่างของภาษาและวัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิก อาเซียน - การนาเสนอข้อมูลพื้นฐานของประเทศสมาชิกอาเซียน ๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมิน ๖.๑ ตรวจผลงาน /รายงาน ๖.๒ การนาเสนอข้อมูล ๖.๓ การสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม/เดี่ยว เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก ๓ ระดับคุณภาพ ดี ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ นักเรียนศึกษาแผนที่ทวีปเอเชีย แล้วร่วมกันบอกชื่อประเทศ ชื่อเมืองหลวง ที่ตั้งและประวัติ ความเป็นมาของประเทศที่เป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน ทั้ง ๑๐ ประเทศ ๗.๒ นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม ออกเป็น ๑๐ กลุ่ม ร่วมกันศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับ วัฒนธรรม การแต่งกาย สภาพทางภูมิศาสตร์ อาหาร และขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศสมาชิก อาเซียน กลุ่มละ ๑ ประเทศ จากนั้นให้ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน โดยร่วมกันถาม- ตอบและอภิปรายแสดงความคิดเห็น จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปคุณค่าและความสาคัญของวัฒนธรรม แต่ละประเทศ ความเหมือนและความแตกต่าง แล้วจัดทาเป็นแผนผังความคิดติดไว้ศึกษาในชั้นเรียน ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 8. ๘ ๗.๓ แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม กลุ่มที่ ๑ รับบัตรภาพสกุลเงินตรา กลุ่มที่ ๒ รับบัตรคาชื่อ ประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อให้จับคู่สกุลเงินตรากับชื่อประเทศ โดยครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความ ถูกต้อง จากนั้นร่วมกันสรุประบบเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียน แล้วให้นักเรียนบันทึกแผนภูมิระบบ เงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียน ๗.๔ นักเรียนแสดงบทบาทสมมติ เกี่ยวกับการทักทาย การแสดงความขอบคุณ และการแสดงความ เคารพตามวัฒนธรรมของประเทศ สมาชิกอาเซียน ๘. สือ/แหล่งเรียนรู้ ่ ๘.๑ แผนที่ทวีปเอเชีย ๘.๒ บัตรภาพสกุลเงินตรา ๘.๓ บัตรคาชื่อประเทศสมาชิกอาเซียน ๘.๕ รูปภาพ - การแต่งกาย - ประเพณีของประเทศสมาชิกอาเซียน - ธงประเทศสมาชิกอาเซียน - สัญลักษณ์ของอาเซียน ๘.๖ แหล่งเรียนรู้ เช่น อินเทอร์เน็ต/ห้องสมุด ๘.๗ กระดาษ/ดินสอ/สี ๘.๘ แผนภูมิระบบเงินตราของประเทศสมาชิกอาเซียน ๘.๙ ภาพข่าวจากหนังสือพิมพ์ ๘.๑๐ แผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของประเทศสมาชิกอาเซียน ๘.๑๑ หนังสือ/เอกสาร/แผ่นพับ ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 9. หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง มารู้จักธงอาเซียนและสัญลักษณ์ รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒ รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๙ ชั่วโมง ผู้สอน................................................... วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ อธิบายเกี่ยวกับธงอาเซียน และสัญลักษณ์อาเซียน ๑.๒ บอกลักษณะธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ๑.๓ ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ๒.สาระสาคัญ ธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนบ่งบอกถึงคุณค่าความสาคัญ และความเป็นเอกลักษณ์ของประเทศอาเซียน ๓.สาระการเรียนรู้ ความรู้ - ธงอาเซียน - สัญลักษณ์อาเซียน - ความหมายของสัญลักษณ์อาเซียน - ธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ทักษะ/ กระบวนการ - กระบวนการกลุ่ม - การแสดงความคิดเห็น - การค้นคว้า - การตอบคาถาม - การเล่าเรื่อง คุณลักษณะ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน - รักความเป็นไทย ๔.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้ทักษะการคิด - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 10. ๑๐ ๕.การประเมินรวบยอด ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน - แผนภาพความคิด - รายงาน ๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมินผล - การสังเกต - การซักถาม - ตรวจผลงาน - การนาเสนอผลงาน เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก ๓ ระดับคุณภาพ ดี ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาค้นคว้าและจัดทาใบงาน  ธงอาเซียน  สัญลักษณ์อาเซียน  ธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ๒. อธิบายความหมาย หรือเขียนบรรยายประกอบภาพเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ๓. การพูดหรือ การเล่าเรื่องความสาคัญของธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธงชาติของประเทศ สมาชิกอาเซียน ๔. การเขียนรายงาน ความหมายและความสาคัญของธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ๕. การวาดภาพธงอาเซียน สัญลักษณ์อาเซียน และธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ๖. ร่วมแสดงความคิดเห็นและเขียนแผนภาพความคิด การเขียนสรุปองค์ความรู้ และนาเสนอผลงาน หน้าชั้นเรียน ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 11. ๑๑ ๘.สือ/แหล่งการเรียนรู้ ่ ๑.ใบความรู้ ๒.ใบงาน ๓.แบบฝึกหัด ๔.คอมพิวเตอร์ ๕.เอกสารประกอบการเรียน ๖.ห้องสมุด ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 12. ๑๒ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง ภาษาที่ใช้ในอาเซียน รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒ รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๕ ชั่วโมง ผู้สอน................................................... วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑. รู้และเข้าใจในภาษาของกลุ่มประเทศในอาเซียน ๒. ตระหนักถึงความสาคัญของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารของกลุ่มประเทศในอาเซียน ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียน แต่ละประเทศต่างมีภาษา ประจาชาติของตน จึงจาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้สามารถสื่อสารได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารและภาษาประจาชาติของประเทศสมาชิก อาเซียน ทักษะ/กระบวนการ สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวันง่ายๆ และใช้ภาษาประจาชาติของประเทศ สมาชิกอาเซียน คุณลักษณะ มีทัศนคติที่ดีต่อการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวันง่ายๆและภาษาประจาชาติของ ประเทศสมาชิกอาเซียน ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๑ . ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสารมีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิดความรู้ความเข้าใจความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่างๆการเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้องตลอดจนการ เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๒ . ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิด อย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓ . ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศเข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคมแสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้ มาใช้ในการป้องกันและ แก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม ๔ . ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวันการเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องการทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคม ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 13. ๑๓ ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสมการ ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการ เรียนรู้การสื่อสารการทางานการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม ๕. การประเมินรวบยอด แสดงบทบาทสมมุติ ในบทสนทนา ในชีวิตประจาวันแบบง่ายๆด้วย ภาษาอังกฤษ และภาษา ประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมิน - สังเกต - การซักถาม - ตรวจใบงาน - ตรวจรายงาน,แผนภาพความคิด เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก ๓ ระดับคุณภาพ ดี ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. นาสื่อวีดีทัศน์เกี่ยวกับบทสนทนาสั้นๆ ด้วยภาษาประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ๒. นาเสนอเกี่ยวกับภาษาประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน และให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาที่เป็น ภาษาราชการของกลุ่มอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ ๓. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น ๑๑ กลุ่ม ศึกษาภาษาประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน และ ภาษาราชการของกลุ่มอาเซียน โดยใช้วิธีการจับฉลากเลือกประเทศ ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึกฝนการการสนทนา หรือฝึกพูดคาพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจาวันของชาติต่างๆ ในอาเซียน โดยมีครูคอยให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด ๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงบทบาทสมมุติ โดยให้เริ่มต้นจากประเทศที่เรียงตามลาดับชื่อ ประเทศในภาษาอังกฤษ ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผลการแสดงบทบาทสมมุติโดยใช้วิธีการสังเกต ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 14. ๑๔ ๗. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปภาษาที่ใช้ในกลุ่มอาเซียน ทั้งภาษาประจาชาติ และภาษาราชการ ๘. สือ/แหล่งการเรียนรู้ ่ - คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต - ห้องสมุด - มุม อาเซียนของโรงเรียน ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 15. ๑๕ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง เด็กไทยยุคอาเซียน รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒ รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๘ ชั่วโมง ผู้สอน................................................... วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ บอกคุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน ๑.๒ มีความภูมใจในความเป็นไทย ๑.๓ เคารพในคุณค่าในวิถีการดาเนินชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไทย และประเทศสมาชิกอาเซียน ๒.สาระสาคัญ การเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ช่วยให้ เด็กไทยมีความภูมิใจในความเป็นไทย เคารพในคุณค่าในวิถีการดาเนินชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไทย และประเทศสมาชิกอาเซียน ยอมรับและอยู่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนได้อย่างสันติสุข ๓.สาระการเรียนรู้ ความรู้ - ประชาคมอาเซียน - ประเทศสมาชิกอาเซียน - ความสัมพันธ์กับประเทศไทย ทักษะ/ กระบวนการ - กระบวนการกลุ่ม - การแสดงความคิดเห็น - การค้นคว้า - การตอบคาถาม - การรายงาน - โครงงาน - การสรุปองค์ความรู้ คุณลักษณะ - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน - รักความเป็นไทย ๔.สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้ทักษะการคิด - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 16. ๑๖ ๕.การประเมินรวบยอด ชิ้นงาน/ภาระงาน - ใบงาน - แผ่นพับ - รายงาน - แผนภาพความคิด ๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมินผล - สังเกต - การซักถาม - ตรวจใบงาน - ตรวจรายงาน,แผนภาพความคิด เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก ๓ ระดับคุณภาพ ดี ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาค้นคว้าและจัดทารายงาน - ประชาคมอาเซียน - ประเทศสมาชิกอาเซียน - ความสัมพันธ์กับประเทศไทย ๒. อธิบายแสดงความคิดเห็น และตอบคาถามเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม ๓. การพูดหรือ การเล่าเรื่องความสาคัญของประชาคมอาเซียน และประเทศสมาชิกอาเซียน ๔. การเขียนรายงาน การทาแผ่นพับ คุณลักษณะของเด็กไทยในอาเซียน ๕. การวาดภาพและเขียนบรรยายภาพเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน ๖. การทาโครงงานเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน ๗.ร่วมสรุปองค์ความรู้ แสดงความคิดเห็นและเขียนแผนภาพความคิด เพื่อนาเสนอผลงานแลกเปลี่ยน เรียนรู้หน้าชั้นเรียน ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 17. ๑๗ ๘.สือ/แหล่งการเรียนรู้ ่ ๑.ใบความรู้ ๒.ใบงาน ๓.แบบฝึกหัด ๔.คอมพิวเตอร์ ๕.เอกสารประกอบการเรียน ๖.ห้องสมุด ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 18. ๑๘ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน รหัสวิชา ส ๑๓๒๐๒ รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๕ ชั่วโมง ผู้สอน................................................... วันที.่ .............. เดือน..............................พ.ศ................ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศอาเซียน จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ๒. สามารถใช้แหล่งเรียนรู้สืบค้นข้อมูลได้อย่างเหมาะสม ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด สื่ออินเตอร์เน็ตมีบทบาทสาคัญในชีวิตประจาวันและสามารถสืบค้นได้โดยไม่ยาก การศึกษาเพื่อ สืบค้นและรับข้อมูลจากสื่อต่างๆในชีวิตประจาวัน ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้และใช้แหล่งเรียนรู้สืบค้นข้อมูลได้อย่างเหมาะสม ทักษะ/กระบวนการ - สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวดเร็ว - สามารถรับและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจากสื่อต่างๆในชีวิตประจาวันได้ คุณลักษณะ มีเจตคติที่ดีต่อสื่อต่างๆในชีวิตประจาวัน ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๑. สามารถใช้เทคโนโลยีต่างๆในชีวิตประจาวัน เพื่อรับสื่อและสืบค้นข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม ๒. วิเคราะห์เพื่อเลือกใช้ข้อมูลสื่อที่เป็นประโยชน์และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ๕. การประเมินรวบยอด - ใบงาน ๖. การประเมินผล/เกณฑ์การประเมิน - สังเกตพฤติกรรม - ตรวจผลงาน เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก ๓ ระดับคุณภาพ ดี ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 19. ๑๙ ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. นาเสนอสื่อวีดีทัศน์เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารต่างๆที่กระทบชีวิตประจาวัน ๒. สนทนาร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสื่อต่างๆที่ตนเองรู้จัก และเคยใช้ในชีวิตประจาวัน ๓. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และโทษของการใช้สื่อประเภทต่างๆ ๔. นักเรียนแบ่งกลุ่มสืบค้นข้อมูลจากใบงานที่ครูกาหนดให้ โดยใช้สื่อทางอินเตอร์เน็ต ๕. นักเรียนนาเสนองานที่ได้สืบค้น ๖. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปงานพร้อมทั้งประเมินผลงานที่สืบค้นมา ๘. สือ/แหล่งการเรียนรู้ ่ - คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต - เอกสารประกอบการเรียน เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน ระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน ดีมาก(๔) ดี(๓) พอใช้(๒) ปรับปรุง(๑) ผลงานมีความถูกต้อง ผลงานมีความถูกต้อง ผลงานมีข้อมูลแต่ยังไม่ ผลงานมีข้อมูล ชัดเจนครบถ้วนสมบูรณ์ สมบูรณ์พอสมควรตาม ครบถ้วนสมบูรณ์ ไม่ถูกต้องตามจุดประสงค์ ตามจุดประสงค์ของ จุดประสงค์ของกิจกรรม พอสมควรตาม ของกิจกรรม ขาด กิจกรรม มีความคิด มีความคิดสร้างสรรค์ มี จุดประสงค์ของกิจกรรม ความคิดสร้างสรรค์ ไม่มี สร้างสรรค์ มีภาพ ภาพ มีความคิดสร้างสรรค์ ภาพ ประกอบสวยงาม ประกอบสวยงาม เล็กน้อย ประกอบ สอดคล้องกับข้อมูล สอดคล้องกับข้อมูล มีภาพประกอบแต่ยังขาด ความสอดคล้องกับข้อมูล เกณฑ์การประเมิน ๔ ระดับคุณภาพ ดีมาก ๓ ระดับคุณภาพ ดี ๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ๑ ระดับคุณภาพ ปรับปรุง ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 20. ๒๐ เกณฑ์การประเมินการนาเสนอข้อมูล ระดับคุณภาพ ที่ รายการประเมิน ๓ ๒ ๑ ๑. วิธีการนาเสนอ น่าสนใจ แปลกใหม่ น่าสนใจ ไม่น่าสนใจ ๒. ลาดับขั้นตอนการ พูดได้ตรงประเด็น ตอบข้อ พูดได้ตรงประเด็น ตอบ พูดไม่ตรงประเด็น ทางาน ซักถามได้ชัดเจน ข้อซักถามได้แต่ยังไม่ ไม่มีลาดับขั้นตอน ครอบคลุมเนื้อหา ครอบคลุมเนื้อหา ๓. การสรุปข้อมูล สรุปใจความได้ตรงตาม สรุปใจความได้ตรงตาม สรุปใจความไม่ตรงตาม วัตถุประสงค์และมีสาระ วัตถุประสงค์แต่ไม่ วัตถุประสงค์ ครอบคลุมเนื้อหา ครอบคลุมเนื้อหา เกณฑ์การประเมิน ๗ – ๙ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๔ – ๖ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๔ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดับคุณภาพ ที่ รายการประเมิน ๓ ๒ ๑ ๑. การทางานร่วมกัน - ยอมรับมติการทางานของ - ยอมรับมติการทางาน - ยอมรับมติ กลุ่ม ของกลุ่ม การทางานของกลุ่ม - รับผิดชอบงานที่ได้รับ - ไม่รับผิดชอบงานที่ได้รับ - หลีกเลี่ยง มอบหมายจากกลุ่ม มอบหมายให้ทา การทางานกลุ่ม ๒. ความกระตือรือร้น - ช่วยเหลืองาน - ช่วยเหลืองาน - ช่วยเหลืองานภายใน ภายในกลุ่ม ภายในกลุ่ม กลุ่มเมื่อมี - ร่วมแสดงความคิดเห็น - ร่วมแสดงความคิดเห็น การร้องขอ - ใฝ่เรียนรู้ - ศึกษาค้นคว้า ๓. การตอบคาถาม ให้ความร่วมมือในการตอบ มีส่วนร่วมในการตอบ มีส่วนร่วมในการตอบ คาถามเป็นอย่างดี คาถามบางครั้ง คาถามน้อยมาก ๔. ความคิดริเริ่ม ร่วมรับฟังและแสดงความ รับฟังแต่แสดงความ ร่วมกิจกรรมตามที่กลุ่ม สร้างสรรค์ คิดเห็นที่แตกต่างแต่มี คิดเห็นคล้อยตามคนอื่น ร้องขอ ประโยชน์ เกณฑ์การประเมิน ๙ - ๑๒ คะแนน ระดับ ๓ หมายถึง ดี ๕ – ๘ คะแนน ระดับ ๒ หมายถึง พอใช้ ต่ากว่า ๕ คะแนน ระดับ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 21. ๒๑ บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.) แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน. ม.ป.ท. . (๒๕๕๒) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. . (๒๕๕๔) ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสาคัญที่สุด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต ๒. (๒๕๕๕) คู่มือการปรับทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตร สู่ ASEAN. เอกสาร ศน.ที่ ๒/๒๕๕๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (๒๕๕๔) ชุดความรู้ครูยุคใหม่. เอกสาร ศน.ที่ ๒๐/ ๒๕๕๕ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(๒๕๕๔). แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคม อาเซียน กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. www.secondary41.go.th/doc/Asian/prachakomAsian.PDF. สืบค้น วันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. nantanawk.wordpress.com/2011/08/26/ประชาคมอาเซียน. สืบค้น วันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 22. ๒๒ คณะจัดทาเอกสาร ที่ปรึกษา ๑. นายประพฤทธิ์ สุขใย ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ๒. นางสาวสมพิศ รัตนสุวรรณ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ผู้อานวยการงานนิเทศและประเมินผล การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ๓. นายวุฒิศักดิ์ สังเวียนวงษ์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ๔.นายปรีชา สุขเกษม ศึกษานิเทศก์ชานาญการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ ๕. นางอนงค์ รอดแสน ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต ๒ ผู้จัดทาเอกสาร ๑. นายสุรินทร์ เนียมแก้ว ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๒. นางลัฐิกา ผาบไชย ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๓. นางราพึง อ่อนอุระ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๔. นางมาลัย คุ้มผล ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๕. นางระพี คล้ายจินดา ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๖. นางกรกนก มณีรัตน์ ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๗. นางจิดาภา วงค์ยิ้มใย ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๘. นายชูชาติ อ่อนอุระ ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๙. นายโกวิทย์ จันทร์แจ่มศรี ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๑๐. นางรัชนีกร แก้วกูล ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๑๑. นายจารัส ผาเจริญ ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๑๒. นายอานวย คาศรี ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๑๓. นายธวัชชัย สุโสม ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๑๔. นายนิวัตร์ จอมภา ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๑๕. นายวาด ปานอินทร์ ครูชานาญการ โรงเรียนด่านแม่คามัน ๑๖. นายดารง ทั่งมั่งมี ครูชานาญการพิเศษ ช่วยราชการโรงเรียนด่านแม่คามัน ๑๗. นายกวี พุฒโต ครูชานาญการพิเศษ ช่วยราชการโรงเรียนด่านแม่คามัน ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL
  • 23. ๒๓ ASEAN LEARNING SCHOOL DANMAEKHAMMAN SCHOOL