SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
โครงสรางสังคม

       โครงสรางทางสังคม หมายถึง การกําหนดความสัมพันธของกลุมคนที่มารวมตัวกันในสังคม และ
มีการปฏิบัติตอกันตามหนาที่ของแตละกลุมตามระเบียบแบบแผนของสังคม
        องคประกอบของโครงสรางทางสังคม
        1. การจัดระเบียบทางสังคม
        2. สถาบันทางสังคม
        กลุมทางสังคมที่เปนระเบียบ ไดแก
             ครอบครัว
             กลุมเพื่อน
             ชุมชน
             สมาคม ฯลฯ
        ความสัมพันธของกลุมสังคมที่เปนระเบียบ มี 2 ลักษณะ
        1. แบบปฐมภูมิ เปนแบบใกลชิด สนิทสนม เปนกันเอง
        2. แบบทุตยภูมิ เปนไปตามระเบียบ ระบบ อยางเปนทางการ
                  ิ
       กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม ไดแก
       1. บรรทัดฐาน
       2. สถานภาพและบทบาท
       3. การขัดเกลาทางสังคม
        บรรทัดฐาน หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่สังคมกําหนดไว เพื่อใหสมาชิกในสังคมยึดถือเปนหลัก
ปฏิบัติตนในสถานการณตางๆ มี 3 ประเภท คือ
        1. วิถประชา คือ แนวปฏิบัติตางๆ ที่กระทําอยูเปนประจําจนเกิดความเคยชิน
              ี
        2. จารีต หรือกฎศีลธรรม คือ แนวทางการประพฤติของสมาชิกในสังคมที่เกี่ยวของกับระบบศีล
           ธรรม
        3. กฎหมาย คือ ระเบียบขอบังคับของรัฐที่กําหนดใหบุคคลตองปฏิบัติตาม หากฝาฝนจะไดรับ
           การลงโทษตามกฎหมาย
            สถานภาพ (Status) คือ ตําแหนงที่ไดจากการเปนสมาชิกของกลุม เปนสิทธิและหนาที่ของบุคคล
มีอยูเ กียวของกับบุคคลอื่นและสังคมสวนรวม สถานภาพจึงมีลักษณะเปนนามธรรม บุคคลเมื่อเกิดมาใน
          ่
สังคมยอมมีสถานภาพ ซึ่งแตละบุคคลยอมมีหลายสถานภาพ สถานภาพจึงเปนสิ่งเฉพาะบุคคลที่ทําให
บุคคลแตกตางจากผูอื่น และมีอะไรเปนเครื่องหมายของตัวเอง


                 สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                      7
ประเภทของสถานภาพ
       1. สถานภาพที่ติดตัวมา (Ascribed status)       คือ สถานภาพที่บุคคลไดมา โดยสังคมเปน
ผูกาหนด เชน เด็ก ผูใหญ คนชรา หรือสถานภาพที่ติดตัวมา เชน เปนหญิง เปนชาย
  ํ
       2. สถานภาพทีไดมาดวยความสามารถ (Achieved status) เปนสถานภาพทีตองดินรนขวนขวายดวย
                      ่                                                ่ ้
ความสามารถของตัวเอง เชน ตําแหนงผูแทนราษฎร ทหาร ตํารวจ
        บทบาท (Role) คือ การปฏิบัติตามสิทธิและหนาที่ของสถานภาพ (ตําแหนง) บทบาทจึงเปนตัว
กําหนดความรับผิดชอบของบุคคลในสังคม สังคมยิ่งซับซอนมากขึ้นเทาไร บทบาทก็จะยิ่งแตกตางกัน
มากขึ้นเทานั้น
       การขัดเกลาทางสังคม (Socialization) หมายถึง กระบวนการอบรมสั่งสอนสมาชิกของสังคมใหรู
ระเบียบแผนของสังคม เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติในสังคม โดยมีตัวแทนในการขัดเกลาทาง
สังคม ไดแก
           1. ครอบครัว
           2. กลุมเพื่อน
           3. โรงเรียน
           4. กลุมอาชีพ
           5. สื่อมวลชน
         สถาบันสังคม (Social Institutions) หมายถึง กระบวนการรวมกลุม หรือวิธีการตางๆ ที่ไดจัดขึ้น
อยางเปนระเบียบ มีระบบ และมั่นคง องคประกอบของสถาบันสังคมประกอบดวย
            สถานที่
            บุคคล
            มีระเบียบขอบังคับ
       สถาบันสังคมที่สําคัญมี 7 สถาบัน ดังนี้
       1. สถาบันครอบครัว
       2. สถาบันศาสนา
       3. สถาบันการศึกษา
       4. สถาบันเศรษฐกิจ
       5. สถาบันการเมือง การปกครอง
       6. สถาบันนันทนาการ
       7. สถาบันสื่อมวลชน



                 สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                      8
1. สถาบันครอบครัว ครอบครัวประกอบดวยบุคคลทีมาอยูรวมกันโดยการสมรส หรือความ
                                                      ่ 
ผูกพันทางสายโลหิต ประเภทของครอบครัว
                  1. ครอบครัวเดี่ยว
                  2. ครอบครัวขยาย
                  3. ครอบครัวซับซอน
                 หนาที่พื้นฐานของสถาบันครอบครัว
        1.   สรางสรรคสมาชิกใหม
        2.   ใหการเลี้ยงดูสมาชิกใหมใหเจริญเติบโตขึ้นมาในสังคม
        3.   ใหการอบรมสั่งสอนแกเด็กใหรูจักระเบียบของสังคม
        4.   กําหนดสถานภาพ
        5.   ใหความรักความคุมครอง และความมั่นคงทางดานจิตใจแกสมาชิก ทําใหสมาชิกมีพลังใจใน
             การฝาฝนอุปสรรคตางๆ ใหลุลวงไปได
            2. สถาบันศาสนา เปนสถาบันทีกาหนดแนวทางความประพฤติปฏิบตของบุคคลในสังคม เปน
                                            ่ํ                   ัิ
ทีพงทางใจที่ทําใหบุคคลที่ยึดถือ และปฏิบัติตามเกิดความสุขความสงบ
  ่ ึ่
                 หนาที่พื้นฐานของสถาบันศาสนา
        1.   เปนสถาบันที่ชวยควบคุมสังคมใหสงบสุข ตามบทบัญญัติทางศาสนา
        2.   สรางความสามัคคี       ศาสนาชวยทําใหบคคลมีความสุขเปนอันหนึงอันเดียวกัน
                                                    ุ                     ่                     หรือ
             มีความสามัคคีในการกระทํากิจกรรมตางๆ
        3.   เปนที่พึ่งทางใจ
        4.   ใหการศึกษาอบรมแกสมาชิกใหประพฤติอยูในขอบเขตของศีลธรรม
              3. สถาบันทางการศึกษา เปนกิจกรรมพื้นฐานของมนุษยในสังคม การที่สังคมจะดํารงอยูได
ก็ตอเมื่อมีการถายทอดสิ่งตางๆ ไปสูคนรุนใหม ตลอดจนใหมีการปฏิบัติตามที่กลุมคาดหวังไว ซึ่งแตละ
สังคมจําตองมีการอบรมสั่งสอนสมาชิกใหม
                 หนาที่พื้นฐานของสถาบันการศึกษา
        1.   ใหความรูในการประกอบอาชีพ เพื่อใหบุคคลสามารถประกอบอาชีพตางๆ ได
        2.   ถายทอดวัฒนธรรมของสังคม เพื่อที่จะไดปฏิบัติตนไดถูกตองเหมาะสม
        3.   ใหความรูวิทยาการใหมๆ เพื่อนําไปพัฒนาสังคมใหเจริญกาวหนา
        4.   สรางความรูสก ทัศนคติทดี เพือเปนพืนฐานของบุคคลในการพัฒนาความสามารถ
                          ึ        ี่ ่        ้
        5.   เตรียมบุคคลใหสามารถเผชิญปญหาดวยสติปญญาใหทันกับการเปลี่ยนแปลงในสังคม
            4. สถาบันเศรษฐกิจ เปนสถาบันที่กลาวถึงวิธีการอยูรอดของมนุษยในดานตางๆ ตั้งแตการ
ผลิต การจําแนก แจกจาย การแลกเปลี่ยน การบริโภค การบริการ

                 สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                       9
หนาที่พื้นฐานของสถาบันเศรษฐกิจ
       1. ชวยใหประชาชนมีการกินดีอยูดี
       2. สรางรายได
       3. สรางงาน
              5. สถาบันการเมืองการปกครอง เปนสถาบันที่ขจัดปญหาตางๆ เพื่อใหสังคมอยูรวมกัน
อยางสงบสุข
                  หนาที่พื้นฐานของสถาบันการเมืองการปกครอง
       1.     ขจัดความขัดแยงในสังคม
       2.     รักษาความสงบภายใน เพื่อควบคุมสังคมใหเปนระเบียบ
       3.     กําหนดนโยบายและแนวปฏิบติ เพื่อใหประชาชนปฏิบัติตาม
                                         ั
       4.     ความมั่นคงปลอดภัยของชาติ
       5.     มีความสัมพันธกับตางประเทศ
       6.     หารายไดเพื่อมาพัฒนาประเทศ
          6. สถาบันนันทนาการ หมายถึงการพักผอนหยอนใจ เพื่อผอนคลายความตึงเครียดที่ไดรับ
จากการประกอบอาชีพ
                  หนาที่พื้นฐานของสถาบันนันทนาการ
       1.     ชวยใหสมาชิกของสังคมมีรางกายแข็งแรง
       2.     ชวยใหสมาชิกของสังคมมีสุขภาพจิตดี
       3.     ชวยใหสมาชิกของสังคมมีความสามัคคี
       4.     ปลูกฝงความมีระเบียบวินัยใหแกสมาชิกของสังคม
            7. สถาบันสื่อสารมวลชน เปนการสื่อขาวสารเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ ระหวางบุคคลใน
สังคมเพื่อใหสมาชิกมีความรูเพิ่มขึ้น


                  หนาที่พื้นฐานของสถาบันสื่อมวลชน
       1.     ถายทอดขาวสารใหประชาชนทราบ
       2.     ใหประชาชนไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแสดงทัศนคติตางๆ
       3.     ใหความบันเทิงแกประชาชน
       4.     เปนผูนํามวลชนในการแสดงความคิด
       5.     เปนแหลงถายทอดวัฒนธรรมของสังคม



                  สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                               10
คานิยม หมายถึงสิ่งที่คนสนใจ สิ่งที่คนปรารถนาจะเปนจะได แบงออกเปน 2 ประเภท
       1. คานิยมของบุคคล
       2. คานิยมของสังคม
       คานิยมที่ดีในสังคมไทย
                     ความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
                     ความกตัญูกตเวที
                     การเอื้อเฟอเผื่อแผ
                     ความซื่อสัตย
                     ความสุภาพนอบนอม
       คานิยมที่ควรแกไขในสังคมไทย
                    ความมีวินัย
                    การตรงตอเวลา
                    ความเชื่อถือโชคลาง
                    ชอบการพนัน
                    ชอบพิธีการ
                    การไมกลาเสี่ยง

                                             แบบทดสอบ
จงเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. กระบวนการที่กําหนดขึ้นอยางมีระเบียบแบบแผน มีความมั่นคงถาวรทําใหสงคมดํารงอยูได
                                                                     ั
    เรียกวาอะไร
       1. กลุมสังคม                         2. สถาบันสังคม
       3. โครงสรางทางสังคม                  4. บรรทัดฐานทางสังคม
2. ความสัมพันธของกลุมคนที่มีบรรทัดฐานทางสังคมรวมกัน เรียกวาอะไร
       1. โครงสรางทางสังคม                  2. สถาบันทางสังคม
       3. องคประกอบทางสังคม                 4. คานิยม
3. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคม
       1. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการสื่อสาร
       2. การเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐานทางสังคม
       3. การเปลี่ยนแปลงสถานภาพ และบทบาททางสังคม
       4. การเปลี่ยนแปลงแบบแผนความสัมพันธทางสังคม


                สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                   11
4. ขอใดไมใชลักษณะสําคัญของโครงสรางทางสังคม
       1. การกระทําระหวางบุคคล
       2. ความสัมพันธระหวางบุคคล
       3. จํานวนประชากรในแตละพื้นที่ของสังคม
       4. ระเบียบแบบแผนของสังคมที่ยึดถือรวมกัน
5. การที่เกริกพลแตงงานกับชญาดาแลวตองจดทะเบียนสมรสกันนั้น เปนการจัดระเบียบทางสังคมในขอ
    ใด
       1. บรรทัดฐานสังคม                       2. สถานภาพทางสังคม
       3. บทบาททางสังคม                        4. คานิยม
6. การพิจารณาระบบความสัมพันธระหวางสถาบันตาง ๆ ของสังคมเปนความหมายของคําใด
       1. โครงสรางสังคม                       2. กลุมสังคม
       3. สถาบันสังคม                          4. บรรทัดฐาน
7. “แนวทางการปฏิบัติของสมาชิกในสังคม แตเพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยผูปกครองจึงมักจะมีการ
    ควบคุมอยางเขมงวด โดยมีองคกร เจาหนาที่คอยตรวจสอบดูแล” หมายถึงขอใด
       1. สถาบันสังคม                          2. โครงสรางสังคม
       3. การจัดระเบียบสังคม                   4. บรรทัดฐาน
8. “เดินตามหลังผูใหญหมาไมกัด” หมายถึงอะไร
       1. การจัดระเบียบสังคม                   2. คานิยม
       3. บรรทัดฐานทางสังคม                    4. โครงสรางสังคม
9. แบบแผนในความคิดและการกระทํา หรือความประพฤติของมนุษยในสังคมหนึ่ง ๆ ที่ยึดถือรวมกัน
    เพือตอบสนองความตองการที่จําเปนของสังคม หมายถึงขอใด
       ่
       1. โครงสรางทางสังคม                    2. สถาบันทางสังคม
       3. การจัดระเบียบทางสังคม                4. การขัดเกลาทางสังคม
10. การทีบคคลจะตัดสินใจเลือกปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งขึ้นอยูกับขอใด
          ่ ุ
       1. สถานภาพ                              2. บรรทัดฐาน
       3. คานิยม                              4. สถาบันสังคม

11. สมาชิกในสังคมใชอะไรตัดสินความเหมาะสมในพฤติกรรมของบุคคล
     1. บทบาท                             2. คานิยม
     3. บรรทัดฐาน                         4. สถานภาพ




               สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                               12
12. “กลุมของบุคคลที่สังคมกําหนดขึ้น เพื่อใชเปนหลักในการทํากิจกรรมทางดานตางๆ ตามความ
          
     ตองการของสังคม” หมายถึงขอใด
        1. โครงสรางสังคม                            2. สถาบันสังคม
        3. บรรทัดฐาน                                 4. คานิยม
13. แบบแผนการดําเนินชีวิตของคนในสังคมที่สามารถเลือกปฏิบัติไดตามความตองการของตนเอง หมาย
     ถึงขอใด
        1. วัฒนธรรม                                  2. คานิยม
        3. บทบาท                                     4. บรรทัดฐาน
14. ขอใดเปนวิถชาวบาน
                    ี
        1. นุติ ขับรถฝาไฟแดงที่สี่แยกปทุมวัน
        2. กมลชนก ตอวาตอขานคุณแมที่กีดกันคนรักไมใหเขาบาน
        3. บิณฑ ชอบลาสัตวโดยเฉพาะกวาง แลวนําเขามาประดับในบาน
        4. มยุรา ไปซื้อของที่จตุจักร แลวชอบตอรองกับแมคาเสมอๆ
15. ขาวหนังสือพิมพปจจุบันจะพบวามีการนําทารกแรกคลอดมาทิ้งถังขยะ และการขมขืนเด็กหญิงเปน
    จํานวนมาก บุคคลที่กระทําการดังกลาวนี้เปนการกระทําความผิดในลักษณะใด
        1. วิถีชาวบาน                               2. จารีต
        3. กฎหมาย                                    4. คานิยม
16. ผูชายไทยสวนใหญเมื่ออายุครบ 20 ป แลวก็มักจะอุปสมบท เนื่องจากสาเหตุสาคัญขอใด
                                                                               ํ
        1. เปนกฎศีลธรรมของคนไทย                     2. เปนวิถีประชาของคนไทย
        3. เพื่อแสดงตนเปนพุทธมามกะ                  4. ปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย
17. ความแตกตางของกฎหมาย กับบรรทัดฐานอื่นคือขอใด
        1. กฎหมายเปนลักษณะบังคับ แตบรรทัดฐานเปนเรื่องความสมัครใจ
        2. กฎหมายมีการตราเปนลายลักษณอักษร แตบรรทัดฐานอื่นไมมี
        3. กฎหมายอาจบังคับใชไดในทุกสังคม แตบรรทัดฐานใชไดเฉพาะในสังคมของตนเอง
        4. กฎหมายตราขึ้นโดยรัฐ และมีบทลงโทษผูฝาฝน แตบรรทัดฐานรัฐไมเปนผูกําหนด
18. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงวิถีชาวบาน
        1. ภราดรศรัทธาในพระพุทธศาสนาจึงทอดกฐินที่วัดบานเกิดทุกป
        2. ฝายหญิงคือทาทายังเปดเผยวาเปนแฟนกับภราดรกอนฝายชาย
        3. คุณพอชนะชัยเปดเผยวา ถาจางโคชตางชาติตองทําสัญญา และตองจายเงิน 20% จากรางวัลการ
            แขงขัน
        4. คุณแมอุบลอยากไดลูกสะใภที่มีชื่อเลนเปนตัวอักษร “ต”


                สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                     13
19. สถานภาพทางสังคมเปนสิ่งที่บงชี้อะไรมากที่สุด
         1. ภาระและความรับผิดชอบ                      2. สิทธิ - หนาที่
         3. ฐานะทางสังคม                              4. อํานาจหนาที่
20. “ภรรยาเปนเสมือนเพื่อนคูคิดมิตรคูใจ” คํากลาวนี้แสดงถึงอะไรของสังคม
         1. บรรทัดฐานและบทบาท                         2. สถานภาพและบทบาท
         3. หนาที่และคานิยม                         4. บรรทัดฐานและคานิยม
21. ขอใดมีลักษณะเปนสถานภาพที่ติดตัวมามากที่สุด
         1. พี่ของพอ                                 2. แมตัวอยาง
         3. คนทรงเจา                                 4. พอบุญธรรม
22. การแสดงออกในขอใดจึงจะถือวาเปนบทบาทของบุคคล
         1. เฉลิมชักจูงใหประสิทธิ์คลอยตามความคิดเห็นของตน
         2. ส.ส. ฝายคานตรวจสอบการใหกองทุนกูยมหมูบานละ 1 ลานบาทของฝายรัฐบาล
                                                    ื
         3. สุวนันท แสดงการลอเลียนการเดินแบบชาลี แชปปริ้น
         4. เมงไฟฟาเสนอวิธีการแกไขปญหาจราจรสี่แยก อ.ส.ม.ท. ผาน จ.ส. 100
23. การที่ ร.ต.อ.วันเฉลิม ขมขู ทํารายรางกายกลุมวัยรุนที่มาหาความบันเทิงที่เอเลี่ยนผับ จังหวัดภูเก็ต
    นัน ในแงสังคมศาสตร ถือวาไมปฏิบัติตามขอใด
       ้
         1. ศีลธรรม                                   2. สถานภาพ
         3. คานิยม                                   4. บทบาท
24. สถานภาพที่ไดมาโดยความสามารถนั้น จะเกิดขึ้นในลักษณะสังคมแบบใด
         1. สังคมปด                                  2. สังคมเปด
         3. สังคมศักดินา                              4. สังคมที่มีชนชั้น
25. ความมุงหมายสําคัญที่สุดของการขัดเกลาทางสังคม คือขอใด
         1. เพือใหเขาใจทัศนคติที่ดีของสังคม
                  ่
         2. เพือการเปนผูวานอนสอนงาย
                ่
         3. เพื่อใหเปนผูมีบคลิกภาพ และวัฒนธรรมเหมือนกัน
                              ุ
         4. เพื่อการเปนสมาชิกที่ดีของสังคม
26. ตัวแทนของกระบวนการขัดเกลาทางสังคมที่มีอิทธิพลมากในสังคมปจจุบัน คือขอใด
         1. ครอบครัว – กลุมเพื่อน                    2. ครู - กลุมเพื่อน
         3. สื่อมวลชน – ครู                           4. ครอบครัว – สื่อมวลชน




                  สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                             14

More Related Content

What's hot

21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมChalit Arm'k
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงWitayanun Sittisomboon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2krusupap
 

What's hot (20)

21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1pageสไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
สไลด์ ศาสนพิธี ป.5+483+dltvsocp5+55t2soc p05 f14-1page
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
ใบงานยุโรป 1
ใบงานยุโรป 1ใบงานยุโรป 1
ใบงานยุโรป 1
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
กำหนดการสอนชั้นอนุบาลปีที่ 2
 

Viewers also liked

Caderno dixital nº 6 especial rl (2)
Caderno dixital nº 6 especial rl (2)Caderno dixital nº 6 especial rl (2)
Caderno dixital nº 6 especial rl (2)oscargaliza
 
DIY Handout: Victoria L. Martinez
DIY Handout: Victoria L. MartinezDIY Handout: Victoria L. Martinez
DIY Handout: Victoria L. MartinezBobby Raleigh
 
Es3 Pifferati Valentina
Es3 Pifferati ValentinaEs3 Pifferati Valentina
Es3 Pifferati Valentinaguest48e709
 
Porta Ce Cursor A Contextual Eye Cursor For General Pointing In Windows Envir...
Porta Ce Cursor A Contextual Eye Cursor For General Pointing In Windows Envir...Porta Ce Cursor A Contextual Eye Cursor For General Pointing In Windows Envir...
Porta Ce Cursor A Contextual Eye Cursor For General Pointing In Windows Envir...Kalle
 
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)oscargaliza
 
2010 apa guidelinesppt
2010 apa guidelinesppt2010 apa guidelinesppt
2010 apa guidelinespptKokodega Nurse
 
Updated registration packet2010
Updated registration packet2010Updated registration packet2010
Updated registration packet2010Sandy Chamber
 
Balanced Scorecard and Strategy Execution
Balanced Scorecard and Strategy ExecutionBalanced Scorecard and Strategy Execution
Balanced Scorecard and Strategy ExecutionShaji Bhaskaran
 
Advocatenblad Start In Powerpoint
Advocatenblad Start In PowerpointAdvocatenblad Start In Powerpoint
Advocatenblad Start In PowerpointSheSuit
 
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...ZFConf Conference
 
Introduction on how to be social
Introduction on how to be socialIntroduction on how to be social
Introduction on how to be socialJason Kelly
 
Layer8 exploitation: Lock'n Load Target
Layer8 exploitation: Lock'n Load TargetLayer8 exploitation: Lock'n Load Target
Layer8 exploitation: Lock'n Load TargetPrathan Phongthiproek
 

Viewers also liked (20)

Verb tense
Verb tenseVerb tense
Verb tense
 
Caderno dixital nº 6 especial rl (2)
Caderno dixital nº 6 especial rl (2)Caderno dixital nº 6 especial rl (2)
Caderno dixital nº 6 especial rl (2)
 
XNA coding series
XNA coding seriesXNA coding series
XNA coding series
 
DIY Handout: Victoria L. Martinez
DIY Handout: Victoria L. MartinezDIY Handout: Victoria L. Martinez
DIY Handout: Victoria L. Martinez
 
testeeeestes
testeeeestestesteeeestes
testeeeestes
 
Es3 Pifferati Valentina
Es3 Pifferati ValentinaEs3 Pifferati Valentina
Es3 Pifferati Valentina
 
Porta Ce Cursor A Contextual Eye Cursor For General Pointing In Windows Envir...
Porta Ce Cursor A Contextual Eye Cursor For General Pointing In Windows Envir...Porta Ce Cursor A Contextual Eye Cursor For General Pointing In Windows Envir...
Porta Ce Cursor A Contextual Eye Cursor For General Pointing In Windows Envir...
 
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
Acta agrupamento hostelería vigo (emenda)
 
Testcase
TestcaseTestcase
Testcase
 
2010 apa guidelinesppt
2010 apa guidelinesppt2010 apa guidelinesppt
2010 apa guidelinesppt
 
Simple Present Tense
Simple Present TenseSimple Present Tense
Simple Present Tense
 
Updated registration packet2010
Updated registration packet2010Updated registration packet2010
Updated registration packet2010
 
Nossa Turminha
Nossa TurminhaNossa Turminha
Nossa Turminha
 
Dia
DiaDia
Dia
 
Balanced Scorecard and Strategy Execution
Balanced Scorecard and Strategy ExecutionBalanced Scorecard and Strategy Execution
Balanced Scorecard and Strategy Execution
 
Upaya penyelamatan
Upaya penyelamatanUpaya penyelamatan
Upaya penyelamatan
 
Advocatenblad Start In Powerpoint
Advocatenblad Start In PowerpointAdvocatenblad Start In Powerpoint
Advocatenblad Start In Powerpoint
 
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
ZFConf 2012: Реализация доступа к СУБД IBM DB2 посредством встраиваемого SQL ...
 
Introduction on how to be social
Introduction on how to be socialIntroduction on how to be social
Introduction on how to be social
 
Layer8 exploitation: Lock'n Load Target
Layer8 exploitation: Lock'n Load TargetLayer8 exploitation: Lock'n Load Target
Layer8 exploitation: Lock'n Load Target
 

Similar to โครงสร้างสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0Parn Nichakorn
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Ziro Anu
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 

Similar to โครงสร้างสังคม (20)

การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0โครงสร้างทางสังคม0
โครงสร้างทางสังคม0
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 
the exam.
the exam.the exam.
the exam.
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

โครงสร้างสังคม

  • 1. โครงสรางสังคม โครงสรางทางสังคม หมายถึง การกําหนดความสัมพันธของกลุมคนที่มารวมตัวกันในสังคม และ มีการปฏิบัติตอกันตามหนาที่ของแตละกลุมตามระเบียบแบบแผนของสังคม องคประกอบของโครงสรางทางสังคม 1. การจัดระเบียบทางสังคม 2. สถาบันทางสังคม กลุมทางสังคมที่เปนระเบียบ ไดแก ครอบครัว กลุมเพื่อน ชุมชน สมาคม ฯลฯ ความสัมพันธของกลุมสังคมที่เปนระเบียบ มี 2 ลักษณะ 1. แบบปฐมภูมิ เปนแบบใกลชิด สนิทสนม เปนกันเอง 2. แบบทุตยภูมิ เปนไปตามระเบียบ ระบบ อยางเปนทางการ ิ กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม ไดแก 1. บรรทัดฐาน 2. สถานภาพและบทบาท 3. การขัดเกลาทางสังคม บรรทัดฐาน หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่สังคมกําหนดไว เพื่อใหสมาชิกในสังคมยึดถือเปนหลัก ปฏิบัติตนในสถานการณตางๆ มี 3 ประเภท คือ 1. วิถประชา คือ แนวปฏิบัติตางๆ ที่กระทําอยูเปนประจําจนเกิดความเคยชิน ี 2. จารีต หรือกฎศีลธรรม คือ แนวทางการประพฤติของสมาชิกในสังคมที่เกี่ยวของกับระบบศีล ธรรม 3. กฎหมาย คือ ระเบียบขอบังคับของรัฐที่กําหนดใหบุคคลตองปฏิบัติตาม หากฝาฝนจะไดรับ การลงโทษตามกฎหมาย สถานภาพ (Status) คือ ตําแหนงที่ไดจากการเปนสมาชิกของกลุม เปนสิทธิและหนาที่ของบุคคล มีอยูเ กียวของกับบุคคลอื่นและสังคมสวนรวม สถานภาพจึงมีลักษณะเปนนามธรรม บุคคลเมื่อเกิดมาใน ่ สังคมยอมมีสถานภาพ ซึ่งแตละบุคคลยอมมีหลายสถานภาพ สถานภาพจึงเปนสิ่งเฉพาะบุคคลที่ทําให บุคคลแตกตางจากผูอื่น และมีอะไรเปนเครื่องหมายของตัวเอง สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 7
  • 2. ประเภทของสถานภาพ 1. สถานภาพที่ติดตัวมา (Ascribed status) คือ สถานภาพที่บุคคลไดมา โดยสังคมเปน ผูกาหนด เชน เด็ก ผูใหญ คนชรา หรือสถานภาพที่ติดตัวมา เชน เปนหญิง เปนชาย ํ 2. สถานภาพทีไดมาดวยความสามารถ (Achieved status) เปนสถานภาพทีตองดินรนขวนขวายดวย ่ ่ ้ ความสามารถของตัวเอง เชน ตําแหนงผูแทนราษฎร ทหาร ตํารวจ บทบาท (Role) คือ การปฏิบัติตามสิทธิและหนาที่ของสถานภาพ (ตําแหนง) บทบาทจึงเปนตัว กําหนดความรับผิดชอบของบุคคลในสังคม สังคมยิ่งซับซอนมากขึ้นเทาไร บทบาทก็จะยิ่งแตกตางกัน มากขึ้นเทานั้น การขัดเกลาทางสังคม (Socialization) หมายถึง กระบวนการอบรมสั่งสอนสมาชิกของสังคมใหรู ระเบียบแผนของสังคม เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติในสังคม โดยมีตัวแทนในการขัดเกลาทาง สังคม ไดแก 1. ครอบครัว 2. กลุมเพื่อน 3. โรงเรียน 4. กลุมอาชีพ 5. สื่อมวลชน สถาบันสังคม (Social Institutions) หมายถึง กระบวนการรวมกลุม หรือวิธีการตางๆ ที่ไดจัดขึ้น อยางเปนระเบียบ มีระบบ และมั่นคง องคประกอบของสถาบันสังคมประกอบดวย สถานที่ บุคคล มีระเบียบขอบังคับ สถาบันสังคมที่สําคัญมี 7 สถาบัน ดังนี้ 1. สถาบันครอบครัว 2. สถาบันศาสนา 3. สถาบันการศึกษา 4. สถาบันเศรษฐกิจ 5. สถาบันการเมือง การปกครอง 6. สถาบันนันทนาการ 7. สถาบันสื่อมวลชน สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 8
  • 3. 1. สถาบันครอบครัว ครอบครัวประกอบดวยบุคคลทีมาอยูรวมกันโดยการสมรส หรือความ ่  ผูกพันทางสายโลหิต ประเภทของครอบครัว 1. ครอบครัวเดี่ยว 2. ครอบครัวขยาย 3. ครอบครัวซับซอน หนาที่พื้นฐานของสถาบันครอบครัว 1. สรางสรรคสมาชิกใหม 2. ใหการเลี้ยงดูสมาชิกใหมใหเจริญเติบโตขึ้นมาในสังคม 3. ใหการอบรมสั่งสอนแกเด็กใหรูจักระเบียบของสังคม 4. กําหนดสถานภาพ 5. ใหความรักความคุมครอง และความมั่นคงทางดานจิตใจแกสมาชิก ทําใหสมาชิกมีพลังใจใน การฝาฝนอุปสรรคตางๆ ใหลุลวงไปได 2. สถาบันศาสนา เปนสถาบันทีกาหนดแนวทางความประพฤติปฏิบตของบุคคลในสังคม เปน ่ํ ัิ ทีพงทางใจที่ทําใหบุคคลที่ยึดถือ และปฏิบัติตามเกิดความสุขความสงบ ่ ึ่ หนาที่พื้นฐานของสถาบันศาสนา 1. เปนสถาบันที่ชวยควบคุมสังคมใหสงบสุข ตามบทบัญญัติทางศาสนา 2. สรางความสามัคคี ศาสนาชวยทําใหบคคลมีความสุขเปนอันหนึงอันเดียวกัน ุ ่ หรือ มีความสามัคคีในการกระทํากิจกรรมตางๆ 3. เปนที่พึ่งทางใจ 4. ใหการศึกษาอบรมแกสมาชิกใหประพฤติอยูในขอบเขตของศีลธรรม 3. สถาบันทางการศึกษา เปนกิจกรรมพื้นฐานของมนุษยในสังคม การที่สังคมจะดํารงอยูได ก็ตอเมื่อมีการถายทอดสิ่งตางๆ ไปสูคนรุนใหม ตลอดจนใหมีการปฏิบัติตามที่กลุมคาดหวังไว ซึ่งแตละ สังคมจําตองมีการอบรมสั่งสอนสมาชิกใหม หนาที่พื้นฐานของสถาบันการศึกษา 1. ใหความรูในการประกอบอาชีพ เพื่อใหบุคคลสามารถประกอบอาชีพตางๆ ได 2. ถายทอดวัฒนธรรมของสังคม เพื่อที่จะไดปฏิบัติตนไดถูกตองเหมาะสม 3. ใหความรูวิทยาการใหมๆ เพื่อนําไปพัฒนาสังคมใหเจริญกาวหนา 4. สรางความรูสก ทัศนคติทดี เพือเปนพืนฐานของบุคคลในการพัฒนาความสามารถ  ึ ี่ ่ ้ 5. เตรียมบุคคลใหสามารถเผชิญปญหาดวยสติปญญาใหทันกับการเปลี่ยนแปลงในสังคม 4. สถาบันเศรษฐกิจ เปนสถาบันที่กลาวถึงวิธีการอยูรอดของมนุษยในดานตางๆ ตั้งแตการ ผลิต การจําแนก แจกจาย การแลกเปลี่ยน การบริโภค การบริการ สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 9
  • 4. หนาที่พื้นฐานของสถาบันเศรษฐกิจ 1. ชวยใหประชาชนมีการกินดีอยูดี 2. สรางรายได 3. สรางงาน 5. สถาบันการเมืองการปกครอง เปนสถาบันที่ขจัดปญหาตางๆ เพื่อใหสังคมอยูรวมกัน อยางสงบสุข หนาที่พื้นฐานของสถาบันการเมืองการปกครอง 1. ขจัดความขัดแยงในสังคม 2. รักษาความสงบภายใน เพื่อควบคุมสังคมใหเปนระเบียบ 3. กําหนดนโยบายและแนวปฏิบติ เพื่อใหประชาชนปฏิบัติตาม ั 4. ความมั่นคงปลอดภัยของชาติ 5. มีความสัมพันธกับตางประเทศ 6. หารายไดเพื่อมาพัฒนาประเทศ 6. สถาบันนันทนาการ หมายถึงการพักผอนหยอนใจ เพื่อผอนคลายความตึงเครียดที่ไดรับ จากการประกอบอาชีพ หนาที่พื้นฐานของสถาบันนันทนาการ 1. ชวยใหสมาชิกของสังคมมีรางกายแข็งแรง 2. ชวยใหสมาชิกของสังคมมีสุขภาพจิตดี 3. ชวยใหสมาชิกของสังคมมีความสามัคคี 4. ปลูกฝงความมีระเบียบวินัยใหแกสมาชิกของสังคม 7. สถาบันสื่อสารมวลชน เปนการสื่อขาวสารเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ ระหวางบุคคลใน สังคมเพื่อใหสมาชิกมีความรูเพิ่มขึ้น หนาที่พื้นฐานของสถาบันสื่อมวลชน 1. ถายทอดขาวสารใหประชาชนทราบ 2. ใหประชาชนไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแสดงทัศนคติตางๆ 3. ใหความบันเทิงแกประชาชน 4. เปนผูนํามวลชนในการแสดงความคิด 5. เปนแหลงถายทอดวัฒนธรรมของสังคม สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 10
  • 5. คานิยม หมายถึงสิ่งที่คนสนใจ สิ่งที่คนปรารถนาจะเปนจะได แบงออกเปน 2 ประเภท 1. คานิยมของบุคคล 2. คานิยมของสังคม คานิยมที่ดีในสังคมไทย ความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ความกตัญูกตเวที การเอื้อเฟอเผื่อแผ ความซื่อสัตย ความสุภาพนอบนอม คานิยมที่ควรแกไขในสังคมไทย ความมีวินัย การตรงตอเวลา ความเชื่อถือโชคลาง ชอบการพนัน ชอบพิธีการ การไมกลาเสี่ยง แบบทดสอบ จงเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. กระบวนการที่กําหนดขึ้นอยางมีระเบียบแบบแผน มีความมั่นคงถาวรทําใหสงคมดํารงอยูได ั เรียกวาอะไร 1. กลุมสังคม 2. สถาบันสังคม 3. โครงสรางทางสังคม 4. บรรทัดฐานทางสังคม 2. ความสัมพันธของกลุมคนที่มีบรรทัดฐานทางสังคมรวมกัน เรียกวาอะไร 1. โครงสรางทางสังคม 2. สถาบันทางสังคม 3. องคประกอบทางสังคม 4. คานิยม 3. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคม 1. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการสื่อสาร 2. การเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐานทางสังคม 3. การเปลี่ยนแปลงสถานภาพ และบทบาททางสังคม 4. การเปลี่ยนแปลงแบบแผนความสัมพันธทางสังคม สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 11
  • 6. 4. ขอใดไมใชลักษณะสําคัญของโครงสรางทางสังคม 1. การกระทําระหวางบุคคล 2. ความสัมพันธระหวางบุคคล 3. จํานวนประชากรในแตละพื้นที่ของสังคม 4. ระเบียบแบบแผนของสังคมที่ยึดถือรวมกัน 5. การที่เกริกพลแตงงานกับชญาดาแลวตองจดทะเบียนสมรสกันนั้น เปนการจัดระเบียบทางสังคมในขอ ใด 1. บรรทัดฐานสังคม 2. สถานภาพทางสังคม 3. บทบาททางสังคม 4. คานิยม 6. การพิจารณาระบบความสัมพันธระหวางสถาบันตาง ๆ ของสังคมเปนความหมายของคําใด 1. โครงสรางสังคม 2. กลุมสังคม 3. สถาบันสังคม 4. บรรทัดฐาน 7. “แนวทางการปฏิบัติของสมาชิกในสังคม แตเพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยผูปกครองจึงมักจะมีการ ควบคุมอยางเขมงวด โดยมีองคกร เจาหนาที่คอยตรวจสอบดูแล” หมายถึงขอใด 1. สถาบันสังคม 2. โครงสรางสังคม 3. การจัดระเบียบสังคม 4. บรรทัดฐาน 8. “เดินตามหลังผูใหญหมาไมกัด” หมายถึงอะไร 1. การจัดระเบียบสังคม 2. คานิยม 3. บรรทัดฐานทางสังคม 4. โครงสรางสังคม 9. แบบแผนในความคิดและการกระทํา หรือความประพฤติของมนุษยในสังคมหนึ่ง ๆ ที่ยึดถือรวมกัน เพือตอบสนองความตองการที่จําเปนของสังคม หมายถึงขอใด ่ 1. โครงสรางทางสังคม 2. สถาบันทางสังคม 3. การจัดระเบียบทางสังคม 4. การขัดเกลาทางสังคม 10. การทีบคคลจะตัดสินใจเลือกปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งขึ้นอยูกับขอใด ่ ุ 1. สถานภาพ 2. บรรทัดฐาน 3. คานิยม 4. สถาบันสังคม 11. สมาชิกในสังคมใชอะไรตัดสินความเหมาะสมในพฤติกรรมของบุคคล 1. บทบาท 2. คานิยม 3. บรรทัดฐาน 4. สถานภาพ สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 12
  • 7. 12. “กลุมของบุคคลที่สังคมกําหนดขึ้น เพื่อใชเปนหลักในการทํากิจกรรมทางดานตางๆ ตามความ  ตองการของสังคม” หมายถึงขอใด 1. โครงสรางสังคม 2. สถาบันสังคม 3. บรรทัดฐาน 4. คานิยม 13. แบบแผนการดําเนินชีวิตของคนในสังคมที่สามารถเลือกปฏิบัติไดตามความตองการของตนเอง หมาย ถึงขอใด 1. วัฒนธรรม 2. คานิยม 3. บทบาท 4. บรรทัดฐาน 14. ขอใดเปนวิถชาวบาน ี 1. นุติ ขับรถฝาไฟแดงที่สี่แยกปทุมวัน 2. กมลชนก ตอวาตอขานคุณแมที่กีดกันคนรักไมใหเขาบาน 3. บิณฑ ชอบลาสัตวโดยเฉพาะกวาง แลวนําเขามาประดับในบาน 4. มยุรา ไปซื้อของที่จตุจักร แลวชอบตอรองกับแมคาเสมอๆ 15. ขาวหนังสือพิมพปจจุบันจะพบวามีการนําทารกแรกคลอดมาทิ้งถังขยะ และการขมขืนเด็กหญิงเปน จํานวนมาก บุคคลที่กระทําการดังกลาวนี้เปนการกระทําความผิดในลักษณะใด 1. วิถีชาวบาน 2. จารีต 3. กฎหมาย 4. คานิยม 16. ผูชายไทยสวนใหญเมื่ออายุครบ 20 ป แลวก็มักจะอุปสมบท เนื่องจากสาเหตุสาคัญขอใด  ํ 1. เปนกฎศีลธรรมของคนไทย 2. เปนวิถีประชาของคนไทย 3. เพื่อแสดงตนเปนพุทธมามกะ 4. ปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย 17. ความแตกตางของกฎหมาย กับบรรทัดฐานอื่นคือขอใด 1. กฎหมายเปนลักษณะบังคับ แตบรรทัดฐานเปนเรื่องความสมัครใจ 2. กฎหมายมีการตราเปนลายลักษณอักษร แตบรรทัดฐานอื่นไมมี 3. กฎหมายอาจบังคับใชไดในทุกสังคม แตบรรทัดฐานใชไดเฉพาะในสังคมของตนเอง 4. กฎหมายตราขึ้นโดยรัฐ และมีบทลงโทษผูฝาฝน แตบรรทัดฐานรัฐไมเปนผูกําหนด 18. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงวิถีชาวบาน 1. ภราดรศรัทธาในพระพุทธศาสนาจึงทอดกฐินที่วัดบานเกิดทุกป 2. ฝายหญิงคือทาทายังเปดเผยวาเปนแฟนกับภราดรกอนฝายชาย 3. คุณพอชนะชัยเปดเผยวา ถาจางโคชตางชาติตองทําสัญญา และตองจายเงิน 20% จากรางวัลการ แขงขัน 4. คุณแมอุบลอยากไดลูกสะใภที่มีชื่อเลนเปนตัวอักษร “ต” สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 13
  • 8. 19. สถานภาพทางสังคมเปนสิ่งที่บงชี้อะไรมากที่สุด 1. ภาระและความรับผิดชอบ 2. สิทธิ - หนาที่ 3. ฐานะทางสังคม 4. อํานาจหนาที่ 20. “ภรรยาเปนเสมือนเพื่อนคูคิดมิตรคูใจ” คํากลาวนี้แสดงถึงอะไรของสังคม 1. บรรทัดฐานและบทบาท 2. สถานภาพและบทบาท 3. หนาที่และคานิยม 4. บรรทัดฐานและคานิยม 21. ขอใดมีลักษณะเปนสถานภาพที่ติดตัวมามากที่สุด 1. พี่ของพอ 2. แมตัวอยาง 3. คนทรงเจา 4. พอบุญธรรม 22. การแสดงออกในขอใดจึงจะถือวาเปนบทบาทของบุคคล 1. เฉลิมชักจูงใหประสิทธิ์คลอยตามความคิดเห็นของตน 2. ส.ส. ฝายคานตรวจสอบการใหกองทุนกูยมหมูบานละ 1 ลานบาทของฝายรัฐบาล ื 3. สุวนันท แสดงการลอเลียนการเดินแบบชาลี แชปปริ้น 4. เมงไฟฟาเสนอวิธีการแกไขปญหาจราจรสี่แยก อ.ส.ม.ท. ผาน จ.ส. 100 23. การที่ ร.ต.อ.วันเฉลิม ขมขู ทํารายรางกายกลุมวัยรุนที่มาหาความบันเทิงที่เอเลี่ยนผับ จังหวัดภูเก็ต นัน ในแงสังคมศาสตร ถือวาไมปฏิบัติตามขอใด ้ 1. ศีลธรรม 2. สถานภาพ 3. คานิยม 4. บทบาท 24. สถานภาพที่ไดมาโดยความสามารถนั้น จะเกิดขึ้นในลักษณะสังคมแบบใด 1. สังคมปด 2. สังคมเปด 3. สังคมศักดินา 4. สังคมที่มีชนชั้น 25. ความมุงหมายสําคัญที่สุดของการขัดเกลาทางสังคม คือขอใด 1. เพือใหเขาใจทัศนคติที่ดีของสังคม ่ 2. เพือการเปนผูวานอนสอนงาย ่ 3. เพื่อใหเปนผูมีบคลิกภาพ และวัฒนธรรมเหมือนกัน ุ 4. เพื่อการเปนสมาชิกที่ดีของสังคม 26. ตัวแทนของกระบวนการขัดเกลาทางสังคมที่มีอิทธิพลมากในสังคมปจจุบัน คือขอใด 1. ครอบครัว – กลุมเพื่อน 2. ครู - กลุมเพื่อน 3. สื่อมวลชน – ครู 4. ครอบครัว – สื่อมวลชน สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 14