SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
SE 502 65
บทที่ 6
พอลีเมอร์
พอลิเมอร์ เป็นสารโมเลกุลใหญ่ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวทางเคมี มีทั้งในธรรมชาติและ
มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น ซึ่งเป็นสาระที่อยู่ในหนังสือเรียนและคู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและ
เพิ่มเติมเล่ม 5 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2549) , เคมี เล่ม2 (ทบวงมหาวิทยาลัย, 2540) และ
หลักเคมีทั่วไปเล่ม 2 (กฤษณา ชุติมา, 2551)
ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่น
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้มาจากการกลั่นลาดับส่วนน้ามันดิบและการแยกแก๊ส
ธรรมชาติสามารถนามาใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเคมีภัณฑ์ต่างๆได้มากมายก่อให้เกิด
อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเคมีซึ่งมี 2 ขั้นตอนดังนี้
1.อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเคมีขั้นต้น เป็น การผลิตมอนอเมอร์ โดยการนา
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติมาผลิตเป็นโมเลกุลเล็กๆที่ว่า
มอนอเมอร์ เพื่อใช้ในการผลิตสารโมเลกุลใหญ่ต่อไป
2.อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเคมีขั้นต่อเนื่อง เป็นการผลิตพอลิเมอร์ โดยนามอนอเมอร์
มาผลิตเป็นพอลิเมอร์ที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ เช่น พลาสติก เส้นใย ยาง ฯลฯ เป็นต้น
ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชัน เป็นปฏิกิริยาที่มอนอเมอร์จานวนมากมารวมตัวกันด้วย
พันธะโคเวเลนต์แล้วได้สารที่มีมวลโมเลกุลสูงที่ เรียกว่า พอลิเมอร์ การรวมตัวกันของ
มอนอเมอร์อาจจะใช้มอนอเมอร์ชนิดเดียวกันรวมตัวกัน แล้วได้สารโมเลกุลใหญ่เรียกว่า
ผลิตภัณฑ์นี้ว่า โฮโมพอลิเมอร์ แต่ถ้ามอนอเมอร์ที่รวมตัวกันเป็นมอนอเมอร์คนละชนิดจะ
เรียกผลิตภัณฑ์ที่ได้ว่า โคพอลิเมอร์ หรือพอลิเมอร์ร่วม
ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชัน มี 2 แบบ ดังนี้
1. ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น เกิดกับมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน
มากกว่า 1 หมู่ มาทาปฏิกิริยากันแล้วได้พอลิเมอร์ กับสารโมเลกุลเล็กเป็นผลพลอยได้ เช่น
น้า แก๊ส แอมโมเนีย เมทานอล เป็นต้น แบบนี้การเกิดปฏิกิริยาจะเกิดบริเวณหมู่ฟังก์ชัน
66 SE 502
โดยถ้ามีหมู่ฟังก์ชันของมอนอเมอร์เหมือนกันจะเกิดพอลิเมอร์แบบโฮโมพอลิเมอร์(เช่นแป้ง)
แต่ถ้าเกิดจากหมู่ฟังก์ชันของมอนอเมอร์ที่แตกต่างกันจะเกิดพอลิเมอร์แบบโคพอลิเมอร์(เช่น
โปรตีน) ตัวอย่างปฏิกิริยาประเภทนี้ เช่น พอลิเพปไทด์ พอลิแซ็กคาไรด์ เป็นต้น
2. ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติมหรือแบบรวมตัว เกิดกับมอนอเมอร์ที่มีพันธะคู่
ระหว่างคาร์บอนอะตอม โดยปฏิกิริยาจะเกิดที่ บริเวณพันธะคู่ ทาให้ได้พอลิเมอร์ที่ใหญ่ขึ้น
เพียงอย่างเดียว ไม่มีสารโมเลกุลเล็กเป็นผลพลอยได้ แบบนี้มักจะมีตัวเร่งปฏิกิริยา หรืออาศัย
อนุมูลอิสระ(ซึ่งไวต่อการเกิดปฏิกิริยา)มาเป็นตัวเริ่มต้น ทาให้เกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องเป็นลูกโซ่
ของปฏิกิริยาพออลิเมอร์ไรเซชัน เช่นการเกิดพอลิไวนิลคลอไรด์
ตัวอย่างโครงสร้างแบบโฮโมพอลิเมอร์
ตัวอย่างโครงสร้างแบบโคพอลิเมอร์
X X X X X
X X XY Y Y
X , Y แทน โมเลกุลของมอนอเมอร์
SE 502 67
สมบัติของพอลิเมอร์แต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสารตั้งต้น หรือมอนอเมอร์
ที่เตรียมพอลิเมอร์นั้นๆ และขึ้นกับการจัดเรียงตัวของพอลิเมอร์เองด้วย ซึ่งแบ่งโครงสร้าง
การจัดเรียงตัวของพอลิเมอร์ได้ 3 แบบ ดังนี้
1. พอลิเมอร์แบบเส้น แบบนี้มอนอเมอร์จะจัดเรียงตัวกันเป็นโซ่ยาว ลักษณะของเส้น
จะพันทับกันไปมาไม่ได้อยู่เป็นเส้นตรง ทาให้มีความแข็ง ขุ่นและเหนียว ถ้ามีคลอรีน และ
เบนซีนในโมเลกุลจะทาให้เกิดความใสกว่าพอลิเมอร์แบบอื่น
โครงสร้างพอลิเอร์แบบเส้น
n CH2 = CH
Cl
– (CH2 – CH)n –
Cl
เพอร์ออกไซด์
– CH2 – CH – CH2 – CH – CH2 – CH ……..
Cl Cl Cl
68 SE 502
2. พอลิเมอร์แบบกิ่ง พอลิเมอร์แบบนี้มีโซ่กิ่ง ซึ่งจะเป็นโซ่กิ่งแบบที่สั้นหรือยาวก็ได้
กิ่งจะแตกแขนงออกไปจากโซ่ยาวที่เป็นโซ่หลัก การเรียงตัวจึงไม่ชิดเท่ากับแบบเส้น ดังนั้น
จึงยืดหยุ่น มีความหนาแน่นต่า และจุดหลอมเหลวต่ากว่าแบบเส้น
3. พอลิเมอร์แบบร่างแห พอลิเมอร์แบบนี้เป็นการเชื่อมโยงระหว่างโซ่แบบเส้นหรือ
แบบกิ่งต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นร่างแห ถ้ามีพันธะที่เชื่อมระหว่างโซ่หลักเพียงเล็กน้อย จะมี
ความยืดหยุ่นและอ่อนตัว แต่ถ้ามีการเชื่อมโยงระหว่างโซ่หลักมาก จะแข็งไม่สามารถยืดหยุ่น
ได้ พอลิเมอร์แบบนี้มีจุดหลอมเหลวสูง เมื่อผ่านการขึ้นรูป จะไม่มีการเปลี่ยนรูปร่าง หรือ
หลอมเหลว
โครงสร้างพอลิเมอร์แบบร่างแห
โครงสร้างพอลิเมอร์แบบกิ่ง
SE 502 69
มวลโมเลกุลมีผลต่อสมบัติของพอลิเมอร์โดยจะทาให้เกิดความเหนียว ถ้ามีมวล
โมเลกุลสูงและต่อกันเป็นโซ่ยาว แบบเส้น ส่วนแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโซ่ ถ้าพอลิเมอร์นั้นๆ
ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโซ่ มีแต่พันธะระหว่างหมู่ฟังก์ชัน หรือแรงแวนเดอวาลส์ จะมีจุด
หลอมสูง การที่พอลิเมอร์มีโซ่ที่เรียงชิดกันมากๆ ความหนาแน่นและความเป็นผลึกจะสูง จึง
แข็งแรง ทาให้อากาศหรือน้าผ่านไม่ได้ จึงมีลักษณะขุ่น หรือที่เรียกว่าทึบแสง นั้นเอง
ประเภทของพอลิเมอร์
ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ มีหลายประเภท เช่น พลาสติก เส้นใย ยาง และโฟมดัง
รายละเอียดต่อไปนี้
พลาสติก
พลาสติกที่สังเคราะห์ที่ได้ในขั้นแรกจะอยู่ในรูปของเรซิน คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะ
เป็นผง หรือเป็นเม็ดเล็กๆ เมื่อจะใช้งานจะนามาหลอมหรืออัดเป็นรูปร่างตามความต้องการซึ่ง
เรียกว่า การขึ้นรูป
การขึ้นรูปเรซินทาได้หลายวิธี เช่น ฉีด ขับดัน เป่ากลวง เป่าพอง รีด อัด หมุนล้อและ
แบบสุญญากาศ วิธีที่แตกต่างกันเหล่านี้จะได้พลาสติกที่มีสมบัติเหมาะกับการช้านที่แตกต่าง
กัน เช่น พลาสติกแบบฟิล์มซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นบางๆจะใช้วิธีรีดเรซินในการผลิต เป็นต้น
พลาสติกเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสมบัติเฉพาะตัว การทดสอบสมบัติ
ของพลาสติก จะทดสอบสิ่งต่อไปนี้ คือความแข็งแรง ความทนทานต่อการขีดข่วน ความ
หนาแน่น การละลายและการเผาไหม้ การละลายของพลาสติก ส่วนใหญ่จะละลายในตัวทา
ละลายอินทรีย์ จึงไม่ควรนาพลาสติกบรรจุตัวทาละลายอินทรีย์
การจาแนกพลาสติก ถ้าใช้ความร้อนเป็นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. เทอร์โมพลาสติก เป็นพลาสติกที่เปลี่ยนรูปได้ เมื่อได้รับความร้อน โดยสมบัติจะ
ไม่เปลี่ยนแปลง จึงสามารถนากลับมาใช้ได้อีก ส่วนใหญ่จะเป็นโครงสร้างแบบเส้นหรือแบบกิ่ง
มีการเชื่อมระหว่างโซ่น้อยมาก เช่น พอลิเอทิลีน
2. พลาสติกแบบเทอร์มอเซต เป็นพลาสติกที่ไม่สามารถเปลี่ยนรูปได้ เมื่อได้รับ
ความร้อนในการขึ้นรูปครั้งแรก และไม่สามารถนากลับมาขึ้นรูปได้อีก ส่วนใหญ่จะมีโครงสร้าง
70 SE 502
แบบร่างแห แบบนี้จะมีความแข็งแรงทนความร้อนและความดันดี กว่าเทอร์โมพลาสติก เช่น
พอลิฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์
พอลิเอทิลีน เกิดจากมอนอร์เมอร์ซื่อ เอทิลีน มีสมบัติทางกายภาพขึ้นกับโครงสร้าง
ของพอลิเมอร์ คือ ถ้ามีโครงสร้างแบบกิ่งจะมีความใสมาก จัดเป็นพอลิเอทิลีนชนิดความ
หนาแน่นต่า(Low Density Polyethylene : LDPE ) สามารถใช้ทาฟิล์มห่ออาหารได้ แต่ถ้า
เป็นโครงสร้างแบบเส้นไม่มีกิ่งจะขุ่น จัดเป็นพอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง (High Density
Polyethylene : HDPE)สามารถใช้ทาขวดบรรจุน้ามันหรือเครื่องสาอางได้
พอลิไวนิลคลอไรด์ และพอลิเอทิลีน แม้มีมอนอเมอร์คล้ายกัน แต่มีสมบัติที่แตกต่างกัน
หลายประการ ดังนี้
พอลิไวนิลคลอไรด์ เกิดจาก มอนอร์เมอร์ชื่อ ไวนิลคลอไรด์ (CH2 = CHCl) มีลักษณะ
แข็งแต่เปราะ ติดไฟแล้วดับได้ยาก ควันที่ได้เป็นสีดา เมื่อนากระดาษลิตมัสมาทดสอบสีของ
ควันจะพบว่ากระดาษลิตมัสสีน้าเงินเปลี่ยนเป็นสีแดง การเผาไหม้มีเขม่ามาก เมื่อสังเกตสีของ
เปลวไฟจะพบว่าเป็นสีเขียว
ส่วนพอลิเอทิลีน เกิดจากมอนอเมอร์ชื่อ เอทิลีน (CH2 = CH2) มีลักษณะแข็งและ
เหนียว ติดไฟแต่ดับได้ง่าย ควันที่ได้เป็นสีดาจางๆ เมื่อนากระดาษลิตมัสมาทดสอบสีของควัน
จะพบว่ากระดาษลิตมัสไม่เปลี่ยนสี การเผาไหม้มีเขม่าน้อยมาก เมื่อสังเกตสีของเปลวไฟจะ
พบว่าเป็นสีเปลวไฟทั่วไป
พอลิเมอร์มีทั้งพอลิเมอร์อินทรีย์ ซึ่งมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบของโซ่หลัก และ
พอลิเมอร์อนินทรีย์ ซึ่งมีธาตุองค์ประกอบโซ่หลักเป็นธาตุอื่น เช่นซิลิโคน มีโซ่หลักเป็นธาตุ
ซิลิคอน สลับกับออกซิเจน
ตัวอย่างพอลิเมอร์อนินทรีย์
R R
R R
โซ่หลักของซิลิโคน
R เป็นหมู่แอลคิล
SE 502 71
เส้นใย
เส้นใย คือพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างโมเลกุลเหมาะแก่การรีด และปั่น ให้เป็นเส้นด้าย
ซึ่งมีทั้งในธรรมชาติ และมนุษย์สามารถสังเคราะห์ขึ้นดังนี้
1. เส้นใยธรรมชาติ กรณีที่เป็นเส้นใยธรรมชาติจะมีโครงสร้างแบบกิ่ง พอลิเมอร์
เหล่านี้สามารถเกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียวกันทาให้ได้เส้นใยที่เป็นโฮโมพอลิเมอร์ และ
มอนอเมอร์ต่างชนิดกันทาให้ได้เส้นใยที่เป็นโคพอลิเมอร์ มีทั้งที่เป็นสารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์
- เส้นใยธรรมชาติที่เป็นสารอินทรีย์ที่ได้จากพืชเช่น เซลลูโลส ได้จากสัตว์เช่น
โปรตีน
- เส้นใยธรรมชาติที่เป็นสารอนินทรีย์ที่เช่น ใยหิน
2. เส้นใยสังเคราะห์ มีทั้งที่ได้จากสารเคมีและได้จากธรรมชาติแล้วนามาปรับปรุงด้วย
สารเคมีให้มีคุณภาพดีขึ้น ตัวอย่างยางประเภทนี้เช่น เรยอง พอลิเอสเทอร์ พอลิเอไมด์
โอเลฟิน ฯลฯ
- กรณีที่ได้จากสารเคมีสามารถใช้ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์มาเป็นวัตถุดิบได้
- กรณีที่ได้จากธรรมชาติแล้วนามาปรับปรุงด้วยสารเคมีให้มีคุณภาพดีขึ้นเช่นผ่าน
กระบวนการคิวปราโมเนียม
กระบวนการคิวปราโมเนียม เป็นการเตรียมเส้นใยโดยเปลี่ยนเซลลูโลสให้อยู่ในรูปของ
สารประกอบที่สามารถละลายได้
เส้นใยที่ถูกมนุษย์สังเคราะห์ขึ้น มาเป็นพอลิเมอร์เรียกว่า เส้นใยสังเคราะห์ ซึ่งบาง
ชนิดจะมีสมบัติดีกว่าเส้นใยธรรมชาติ เพราะจะทนทานต่อจุลินทรีย์ เชื้อรา แบคทีเรีย ได้ดี
ไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้า ทนต่อสารเคมี ซักได้ง่าย และแห้งเร็ว เส้นใยสังเคราะห์ที่สาคัญมีดังนี้
1. เส้นใยไนลอน ใช้ทาถุงน่อง พรมปูพื้น
2. เส้นใยพอลิเอสเทอร์ ใช้ทาเสื้อผ้า กางเกง กระโปรง
3. เส้นใยอะไครลิก ใช้ทาเสื้อหนาว ชุดชั้นในสตรี ผ้าห่ม
ตัวอย่างเส้นใยสังเคราะห์ที่ใช้มาก เช่น ไนลอน 6,6 , ไนลอน 6,10 , ไนลอน 6,6
(ตัวเลขข้างท้าย 2 ตัวนี้ หมายถึงจานวนอะตอมของคาร์บอนในมอนอเมอร์ของเอมีน 6
อะตอม และกรดคาร์บอกซิลิก 6 อะตอม) ,ดาครอน หรือ โทเรเทโทรอน เป็นชื่อทางการค้า
ของพอลิเอสเทอร์ ซึ่งเป็นโคพอลิเมอร์ ระหว่างเอทิลีนไกลคอลกับไดเมทิลเทเรฟทาเลตโดย
เกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น , ส่วนเส้นใยอะไครลิก เกิดจากโพรพิลีนกับ
แอมโมเนีย
72 SE 502
สารอะโรมาติก เช่น เบนซีน โทลูอีน และไซลีน เรียกรวมกันว่า บีทีเอ็กซ์ ( BTX
ชื่อเต็มว่า Benzene Toluene Xylene) มีการนามาใช้ในอุตสาหกรรมปีโตรเคมี หลายชนิด
เช่น ใช้เป็นตัวทาละลาย ใช้เป็นมอนอเมอร์ในการผลิตพอลิเมอร์ชนิดต่างๆ ตัวอย่างพอลิ
เมอร์ เช่น พอลิสไตรีน ไนลอน ซึ่งนับว่าเป็นพัฒนาการของการทาเส้นใยอย่างหนึ่ง
ยาง
ยางเป็นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่งมีทั้งในธรรมชาติ และมนุษย์สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้
น้ายางดิบในธรรมชาติ สามารถบูดเสียได้ง่าย จึงต้องเติมแอมโมเนีย เพื่อเป็นสารกันบูด
และช่วยป้องกันไม่ให้น้ายางจับตัวกัน ส่วนการเติมกรดเช่น กรดแอซิติกหรือกรดฟอร์มิก จะ
ช่วยแยกเนื้อยางจากน้ายาง โดยกรดจะทาให้เนื้อยางรวมตัวกันแล้วตกตะกอนแยกออกมาจาก
น้ายาง เราเรียกเนื้อยางที่ได้นี้ว่า ยางดิบ
ยางจัดเป็นพอลิเมอร์ของไอโซพรีน (C5H8) จัดอยู่ในจาพวกสารยืดหยุ่น เนื่องจากเป็น
โมเลกุลขนาดใหญ่จึงมีการเชื่อมต่อของโมเลกุลมากถึง 1,500 – 15,000 หน่วย
กระบวนการวัลคาไนเซชัน เป็นกระบวนการปรับปรุงคุณภาพยาง โดยเติมกามะถัน
ในปริมาณที่เหมาะสม ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของกามะถัน ยางที่ได้มีสภาพคงตัวที่
อุณหภูมิต่างๆ มีความยืดหยุ่นคงรูปได้ดี เพราะจะเกิดพันธะโควาเลนต์ของกามะถันเชื่อมสาย
โซ่พอลิเมอร์ของยาง นอกจากนี้ ยางยังมีสภาพทนต่อแสง ความร้อน และละลายในตัวทา
ละลายยากขึ้นด้วย
ตัวอย่างยางสังเคราะห์ที่ใช้ในปัจจุบัน
ยางสไตรีนบิวทาไดอีน(ยางSBR): เกิดจากกับสไตรีน(25%)กับบิวทาไดอีน(75%)
ยางคลอโรพรีน : เกิดจากคลอโรพรีน
ยางบิวทาไดอีน : เกิดจากบิวทาไดอีน
ในการผลิตยางรถยนต์ นอกจากจะเติมกามะถันและยังมีการเติมซิลิกา ซิลิเกต และ
ผงถ่าน เพื่อช่วยเพิ่มความแข็งแกร่งให้ยาง โดยเฉพาะผงถ่าน จะมีความสามารถในการ
ป้องกันการสึกกร่อน และถูกทาลายด้วยแสงแดดได้ดี
ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์อย่างรวดเร็ว
ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีขึ้น และความแปลกใหม่ของผลิตภัณฑ์หลากหลาย สามารถ
ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่นการผลิตไฟเบอร์กลาส เป็นการพัฒนาพลาสติกธรรมดาให้มี
SE 502 73
ความแข็งแรง และทนต่อแรงกระแทกมากขึ้น โดยเติมใยแก้วลงไปหรือเติมผงแกรไฟต์
เพื่อให้มีสมบัติในการนาไฟฟ้าได้
โฟม
โฟมเป็นพลาสติกชนิดหนึ่ง ซึ่งผ่านกระบวนการเติมแก๊สเพื่อให้เกิดฟองอากาศ
แทรกอยู่ระหว่างเนื้อพลาสติก โฟมทุกชนิดต้องมีสารที่ช่วยทาให้เกิดโฟม ตัวอย่างสารที่ช่วย
ทาให้เกิดโฟม เช่นอากาศ หรืออาจเป็นสารเคมีที่สามารถสลายตัวให้แก๊สเมื่อได้รับความร้อน
เช่น CFC หรือ Chlorofluoro Carbon มีอีกชื่อว่าฟรีออน ฟรีออนหรือ CFC เป็น
สารประกอบของคลอรีน ฟลูออรีน และคาร์บอนตามลาดับ สารนี้สังเคราะห์ขึ้นเพื่อให้ทาเป็น
สารให้ความเย็นในตู้เย็น หรือเครื่องทาความเย็น ซึ่งมีสมบัติเป็นฉนวนความร้อน และ
ฉนวนไฟฟ้าที่ดีมาก แต่มีข้อเสียคือ จะทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก และทาลายแก๊ส
โอโชน ที่อยู่ในชั้นบรรยากาศ ปัจจุบันจึงใช้แก๊สเพนเทน และบิวเทนแทน เพื่อป้องกัน
การเกิดมลพิษในอากาศ
โฟม เกิดจากการนาเม็ดพอลิสไตรีนมาผสมสารทาให้เกิดฟอง แล้วจึงขึ้นรูปด้วยความ
ร้อน ซึ่งทาให้ปริมาตรเพิ่มขึ้นหลายเท่า
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของพอลิเมอร์สังเคราะห์ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตลอดเวลาเพื่อให้ได้ผลิตัณฑ์ที่มีคุณาพตามความต้องการใช้งาน เช่น เรซินก็มีการพัฒนาจนได้
เทอร์มอเรซิน และเรซินเทอร์มอเซต เพื่อให้เหมาะสมกับการผลิตพลาสติกแต่ละอย่าง เส้นใย
สังเคราะห์กีการพัฒนาให้มีเนื้อเส้นใยที่เบา ทนทานต่อการผุกร่อนและกัดกร่อนของแมลงมาก
ขึ้น ในส่วนของยางมีการพัฒนามากจนยางที่ใช้เกือบทั้งหมดเป็นยางสังเคราะห์และมีคุณภาพดี
ตามความต้องการใช้งานที่แตกต่างกันไป และโฟมซึ่งมีการใช้มากขึ้นก็มีการพัฒนาให้มี
น้าหนักเบา เป็นฉนวนความร้อน เพื่อให้นามาใช้ในตู้เย็นได้
สรุป
พอลิเมอร์เป็นสารโมเลกุลใหญ่ที่สามารถพบทั้งในธรรมชาติ เช่น โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต ยาง เส้นใย ฯลฯ และมนุษย์สร้างขึ้น เช่น พลาสติก ยางสังเคราะห์ ฯลฯ เป็นต้น
เนื่องจากมนุษย์สามารถสังเคราะห์พอลิเมอร์ได้ จึงควบคุมให้มีโครงสร้างแตกต่างกันได้หลาย
74 SE 502
แบบทั้งแบบโซ่ตรง โซ่กิ่ง และแบบร่างแห ทาให้พอลิเมอร์มีความแข็งแรงทนทานแตกต่างกัน
ไปตามการใช้งาน ซึ่งแสดงถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างหนึ่งซึ่งยังคงมีพัฒนาการ
อย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน
แบบฝึกหัด
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. จงยกตัวอย่างมอนอเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบรวมตัวมาอย่างน้อย 2
ชนิดพร้อมเขียนปฏิกิริยา
2. จงยกตัวอย่างมอนอเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติมมาอย่างน้อย 2
ชนิดพร้อมเขียนปฏิกิริยา
3. จงบอกวิธีทดสอบพลาสติก พร้อมยกตัวอย่างการทดสอบ

More Related Content

What's hot

เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
Wcs polymer-120402100823-phpapp01
Wcs polymer-120402100823-phpapp01Wcs polymer-120402100823-phpapp01
Wcs polymer-120402100823-phpapp01Triwat Talbumrung
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 

What's hot (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Wcs polymer-120402100823-phpapp01
Wcs polymer-120402100823-phpapp01Wcs polymer-120402100823-phpapp01
Wcs polymer-120402100823-phpapp01
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 

Viewers also liked

ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นMaruko Supertinger
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047Tanchanok Pps
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Tanchanok Pps
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ K.s. Mam
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์Tanchanok Pps
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Tanchanok Pps
 
ตารางธาต
ตารางธาตตารางธาต
ตารางธาตK.s. Mam
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะMaruko Supertinger
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีTanchanok Pps
 
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1Coco Tan
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด Tanchanok Pps
 

Viewers also liked (20)

ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
รายงานโครงงานกลุ่ม muge101-57-047
 
Nomenclature
NomenclatureNomenclature
Nomenclature
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1
 
Fibers
FibersFibers
Fibers
 
ตารางธาต
ตารางธาตตารางธาต
ตารางธาต
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
 
OPEC muge102
OPEC muge102OPEC muge102
OPEC muge102
 

พอลิเมอร์

  • 1. SE 502 65 บทที่ 6 พอลีเมอร์ พอลิเมอร์ เป็นสารโมเลกุลใหญ่ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวทางเคมี มีทั้งในธรรมชาติและ มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น ซึ่งเป็นสาระที่อยู่ในหนังสือเรียนและคู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและ เพิ่มเติมเล่ม 5 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2549) , เคมี เล่ม2 (ทบวงมหาวิทยาลัย, 2540) และ หลักเคมีทั่วไปเล่ม 2 (กฤษณา ชุติมา, 2551) ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่น สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้มาจากการกลั่นลาดับส่วนน้ามันดิบและการแยกแก๊ส ธรรมชาติสามารถนามาใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเคมีภัณฑ์ต่างๆได้มากมายก่อให้เกิด อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเคมีซึ่งมี 2 ขั้นตอนดังนี้ 1.อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเคมีขั้นต้น เป็น การผลิตมอนอเมอร์ โดยการนา สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติมาผลิตเป็นโมเลกุลเล็กๆที่ว่า มอนอเมอร์ เพื่อใช้ในการผลิตสารโมเลกุลใหญ่ต่อไป 2.อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเคมีขั้นต่อเนื่อง เป็นการผลิตพอลิเมอร์ โดยนามอนอเมอร์ มาผลิตเป็นพอลิเมอร์ที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ เช่น พลาสติก เส้นใย ยาง ฯลฯ เป็นต้น ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชัน เป็นปฏิกิริยาที่มอนอเมอร์จานวนมากมารวมตัวกันด้วย พันธะโคเวเลนต์แล้วได้สารที่มีมวลโมเลกุลสูงที่ เรียกว่า พอลิเมอร์ การรวมตัวกันของ มอนอเมอร์อาจจะใช้มอนอเมอร์ชนิดเดียวกันรวมตัวกัน แล้วได้สารโมเลกุลใหญ่เรียกว่า ผลิตภัณฑ์นี้ว่า โฮโมพอลิเมอร์ แต่ถ้ามอนอเมอร์ที่รวมตัวกันเป็นมอนอเมอร์คนละชนิดจะ เรียกผลิตภัณฑ์ที่ได้ว่า โคพอลิเมอร์ หรือพอลิเมอร์ร่วม ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชัน มี 2 แบบ ดังนี้ 1. ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น เกิดกับมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน มากกว่า 1 หมู่ มาทาปฏิกิริยากันแล้วได้พอลิเมอร์ กับสารโมเลกุลเล็กเป็นผลพลอยได้ เช่น น้า แก๊ส แอมโมเนีย เมทานอล เป็นต้น แบบนี้การเกิดปฏิกิริยาจะเกิดบริเวณหมู่ฟังก์ชัน
  • 2. 66 SE 502 โดยถ้ามีหมู่ฟังก์ชันของมอนอเมอร์เหมือนกันจะเกิดพอลิเมอร์แบบโฮโมพอลิเมอร์(เช่นแป้ง) แต่ถ้าเกิดจากหมู่ฟังก์ชันของมอนอเมอร์ที่แตกต่างกันจะเกิดพอลิเมอร์แบบโคพอลิเมอร์(เช่น โปรตีน) ตัวอย่างปฏิกิริยาประเภทนี้ เช่น พอลิเพปไทด์ พอลิแซ็กคาไรด์ เป็นต้น 2. ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติมหรือแบบรวมตัว เกิดกับมอนอเมอร์ที่มีพันธะคู่ ระหว่างคาร์บอนอะตอม โดยปฏิกิริยาจะเกิดที่ บริเวณพันธะคู่ ทาให้ได้พอลิเมอร์ที่ใหญ่ขึ้น เพียงอย่างเดียว ไม่มีสารโมเลกุลเล็กเป็นผลพลอยได้ แบบนี้มักจะมีตัวเร่งปฏิกิริยา หรืออาศัย อนุมูลอิสระ(ซึ่งไวต่อการเกิดปฏิกิริยา)มาเป็นตัวเริ่มต้น ทาให้เกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ของปฏิกิริยาพออลิเมอร์ไรเซชัน เช่นการเกิดพอลิไวนิลคลอไรด์ ตัวอย่างโครงสร้างแบบโฮโมพอลิเมอร์ ตัวอย่างโครงสร้างแบบโคพอลิเมอร์ X X X X X X X XY Y Y X , Y แทน โมเลกุลของมอนอเมอร์
  • 3. SE 502 67 สมบัติของพอลิเมอร์แต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสารตั้งต้น หรือมอนอเมอร์ ที่เตรียมพอลิเมอร์นั้นๆ และขึ้นกับการจัดเรียงตัวของพอลิเมอร์เองด้วย ซึ่งแบ่งโครงสร้าง การจัดเรียงตัวของพอลิเมอร์ได้ 3 แบบ ดังนี้ 1. พอลิเมอร์แบบเส้น แบบนี้มอนอเมอร์จะจัดเรียงตัวกันเป็นโซ่ยาว ลักษณะของเส้น จะพันทับกันไปมาไม่ได้อยู่เป็นเส้นตรง ทาให้มีความแข็ง ขุ่นและเหนียว ถ้ามีคลอรีน และ เบนซีนในโมเลกุลจะทาให้เกิดความใสกว่าพอลิเมอร์แบบอื่น โครงสร้างพอลิเอร์แบบเส้น n CH2 = CH Cl – (CH2 – CH)n – Cl เพอร์ออกไซด์ – CH2 – CH – CH2 – CH – CH2 – CH …….. Cl Cl Cl
  • 4. 68 SE 502 2. พอลิเมอร์แบบกิ่ง พอลิเมอร์แบบนี้มีโซ่กิ่ง ซึ่งจะเป็นโซ่กิ่งแบบที่สั้นหรือยาวก็ได้ กิ่งจะแตกแขนงออกไปจากโซ่ยาวที่เป็นโซ่หลัก การเรียงตัวจึงไม่ชิดเท่ากับแบบเส้น ดังนั้น จึงยืดหยุ่น มีความหนาแน่นต่า และจุดหลอมเหลวต่ากว่าแบบเส้น 3. พอลิเมอร์แบบร่างแห พอลิเมอร์แบบนี้เป็นการเชื่อมโยงระหว่างโซ่แบบเส้นหรือ แบบกิ่งต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นร่างแห ถ้ามีพันธะที่เชื่อมระหว่างโซ่หลักเพียงเล็กน้อย จะมี ความยืดหยุ่นและอ่อนตัว แต่ถ้ามีการเชื่อมโยงระหว่างโซ่หลักมาก จะแข็งไม่สามารถยืดหยุ่น ได้ พอลิเมอร์แบบนี้มีจุดหลอมเหลวสูง เมื่อผ่านการขึ้นรูป จะไม่มีการเปลี่ยนรูปร่าง หรือ หลอมเหลว โครงสร้างพอลิเมอร์แบบร่างแห โครงสร้างพอลิเมอร์แบบกิ่ง
  • 5. SE 502 69 มวลโมเลกุลมีผลต่อสมบัติของพอลิเมอร์โดยจะทาให้เกิดความเหนียว ถ้ามีมวล โมเลกุลสูงและต่อกันเป็นโซ่ยาว แบบเส้น ส่วนแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโซ่ ถ้าพอลิเมอร์นั้นๆ ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโซ่ มีแต่พันธะระหว่างหมู่ฟังก์ชัน หรือแรงแวนเดอวาลส์ จะมีจุด หลอมสูง การที่พอลิเมอร์มีโซ่ที่เรียงชิดกันมากๆ ความหนาแน่นและความเป็นผลึกจะสูง จึง แข็งแรง ทาให้อากาศหรือน้าผ่านไม่ได้ จึงมีลักษณะขุ่น หรือที่เรียกว่าทึบแสง นั้นเอง ประเภทของพอลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ มีหลายประเภท เช่น พลาสติก เส้นใย ยาง และโฟมดัง รายละเอียดต่อไปนี้ พลาสติก พลาสติกที่สังเคราะห์ที่ได้ในขั้นแรกจะอยู่ในรูปของเรซิน คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะ เป็นผง หรือเป็นเม็ดเล็กๆ เมื่อจะใช้งานจะนามาหลอมหรืออัดเป็นรูปร่างตามความต้องการซึ่ง เรียกว่า การขึ้นรูป การขึ้นรูปเรซินทาได้หลายวิธี เช่น ฉีด ขับดัน เป่ากลวง เป่าพอง รีด อัด หมุนล้อและ แบบสุญญากาศ วิธีที่แตกต่างกันเหล่านี้จะได้พลาสติกที่มีสมบัติเหมาะกับการช้านที่แตกต่าง กัน เช่น พลาสติกแบบฟิล์มซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นบางๆจะใช้วิธีรีดเรซินในการผลิต เป็นต้น พลาสติกเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสมบัติเฉพาะตัว การทดสอบสมบัติ ของพลาสติก จะทดสอบสิ่งต่อไปนี้ คือความแข็งแรง ความทนทานต่อการขีดข่วน ความ หนาแน่น การละลายและการเผาไหม้ การละลายของพลาสติก ส่วนใหญ่จะละลายในตัวทา ละลายอินทรีย์ จึงไม่ควรนาพลาสติกบรรจุตัวทาละลายอินทรีย์ การจาแนกพลาสติก ถ้าใช้ความร้อนเป็นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. เทอร์โมพลาสติก เป็นพลาสติกที่เปลี่ยนรูปได้ เมื่อได้รับความร้อน โดยสมบัติจะ ไม่เปลี่ยนแปลง จึงสามารถนากลับมาใช้ได้อีก ส่วนใหญ่จะเป็นโครงสร้างแบบเส้นหรือแบบกิ่ง มีการเชื่อมระหว่างโซ่น้อยมาก เช่น พอลิเอทิลีน 2. พลาสติกแบบเทอร์มอเซต เป็นพลาสติกที่ไม่สามารถเปลี่ยนรูปได้ เมื่อได้รับ ความร้อนในการขึ้นรูปครั้งแรก และไม่สามารถนากลับมาขึ้นรูปได้อีก ส่วนใหญ่จะมีโครงสร้าง
  • 6. 70 SE 502 แบบร่างแห แบบนี้จะมีความแข็งแรงทนความร้อนและความดันดี กว่าเทอร์โมพลาสติก เช่น พอลิฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์ พอลิเอทิลีน เกิดจากมอนอร์เมอร์ซื่อ เอทิลีน มีสมบัติทางกายภาพขึ้นกับโครงสร้าง ของพอลิเมอร์ คือ ถ้ามีโครงสร้างแบบกิ่งจะมีความใสมาก จัดเป็นพอลิเอทิลีนชนิดความ หนาแน่นต่า(Low Density Polyethylene : LDPE ) สามารถใช้ทาฟิล์มห่ออาหารได้ แต่ถ้า เป็นโครงสร้างแบบเส้นไม่มีกิ่งจะขุ่น จัดเป็นพอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene : HDPE)สามารถใช้ทาขวดบรรจุน้ามันหรือเครื่องสาอางได้ พอลิไวนิลคลอไรด์ และพอลิเอทิลีน แม้มีมอนอเมอร์คล้ายกัน แต่มีสมบัติที่แตกต่างกัน หลายประการ ดังนี้ พอลิไวนิลคลอไรด์ เกิดจาก มอนอร์เมอร์ชื่อ ไวนิลคลอไรด์ (CH2 = CHCl) มีลักษณะ แข็งแต่เปราะ ติดไฟแล้วดับได้ยาก ควันที่ได้เป็นสีดา เมื่อนากระดาษลิตมัสมาทดสอบสีของ ควันจะพบว่ากระดาษลิตมัสสีน้าเงินเปลี่ยนเป็นสีแดง การเผาไหม้มีเขม่ามาก เมื่อสังเกตสีของ เปลวไฟจะพบว่าเป็นสีเขียว ส่วนพอลิเอทิลีน เกิดจากมอนอเมอร์ชื่อ เอทิลีน (CH2 = CH2) มีลักษณะแข็งและ เหนียว ติดไฟแต่ดับได้ง่าย ควันที่ได้เป็นสีดาจางๆ เมื่อนากระดาษลิตมัสมาทดสอบสีของควัน จะพบว่ากระดาษลิตมัสไม่เปลี่ยนสี การเผาไหม้มีเขม่าน้อยมาก เมื่อสังเกตสีของเปลวไฟจะ พบว่าเป็นสีเปลวไฟทั่วไป พอลิเมอร์มีทั้งพอลิเมอร์อินทรีย์ ซึ่งมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบของโซ่หลัก และ พอลิเมอร์อนินทรีย์ ซึ่งมีธาตุองค์ประกอบโซ่หลักเป็นธาตุอื่น เช่นซิลิโคน มีโซ่หลักเป็นธาตุ ซิลิคอน สลับกับออกซิเจน ตัวอย่างพอลิเมอร์อนินทรีย์ R R R R โซ่หลักของซิลิโคน R เป็นหมู่แอลคิล
  • 7. SE 502 71 เส้นใย เส้นใย คือพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างโมเลกุลเหมาะแก่การรีด และปั่น ให้เป็นเส้นด้าย ซึ่งมีทั้งในธรรมชาติ และมนุษย์สามารถสังเคราะห์ขึ้นดังนี้ 1. เส้นใยธรรมชาติ กรณีที่เป็นเส้นใยธรรมชาติจะมีโครงสร้างแบบกิ่ง พอลิเมอร์ เหล่านี้สามารถเกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียวกันทาให้ได้เส้นใยที่เป็นโฮโมพอลิเมอร์ และ มอนอเมอร์ต่างชนิดกันทาให้ได้เส้นใยที่เป็นโคพอลิเมอร์ มีทั้งที่เป็นสารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์ - เส้นใยธรรมชาติที่เป็นสารอินทรีย์ที่ได้จากพืชเช่น เซลลูโลส ได้จากสัตว์เช่น โปรตีน - เส้นใยธรรมชาติที่เป็นสารอนินทรีย์ที่เช่น ใยหิน 2. เส้นใยสังเคราะห์ มีทั้งที่ได้จากสารเคมีและได้จากธรรมชาติแล้วนามาปรับปรุงด้วย สารเคมีให้มีคุณภาพดีขึ้น ตัวอย่างยางประเภทนี้เช่น เรยอง พอลิเอสเทอร์ พอลิเอไมด์ โอเลฟิน ฯลฯ - กรณีที่ได้จากสารเคมีสามารถใช้ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์มาเป็นวัตถุดิบได้ - กรณีที่ได้จากธรรมชาติแล้วนามาปรับปรุงด้วยสารเคมีให้มีคุณภาพดีขึ้นเช่นผ่าน กระบวนการคิวปราโมเนียม กระบวนการคิวปราโมเนียม เป็นการเตรียมเส้นใยโดยเปลี่ยนเซลลูโลสให้อยู่ในรูปของ สารประกอบที่สามารถละลายได้ เส้นใยที่ถูกมนุษย์สังเคราะห์ขึ้น มาเป็นพอลิเมอร์เรียกว่า เส้นใยสังเคราะห์ ซึ่งบาง ชนิดจะมีสมบัติดีกว่าเส้นใยธรรมชาติ เพราะจะทนทานต่อจุลินทรีย์ เชื้อรา แบคทีเรีย ได้ดี ไม่ยับง่าย ไม่ดูดน้า ทนต่อสารเคมี ซักได้ง่าย และแห้งเร็ว เส้นใยสังเคราะห์ที่สาคัญมีดังนี้ 1. เส้นใยไนลอน ใช้ทาถุงน่อง พรมปูพื้น 2. เส้นใยพอลิเอสเทอร์ ใช้ทาเสื้อผ้า กางเกง กระโปรง 3. เส้นใยอะไครลิก ใช้ทาเสื้อหนาว ชุดชั้นในสตรี ผ้าห่ม ตัวอย่างเส้นใยสังเคราะห์ที่ใช้มาก เช่น ไนลอน 6,6 , ไนลอน 6,10 , ไนลอน 6,6 (ตัวเลขข้างท้าย 2 ตัวนี้ หมายถึงจานวนอะตอมของคาร์บอนในมอนอเมอร์ของเอมีน 6 อะตอม และกรดคาร์บอกซิลิก 6 อะตอม) ,ดาครอน หรือ โทเรเทโทรอน เป็นชื่อทางการค้า ของพอลิเอสเทอร์ ซึ่งเป็นโคพอลิเมอร์ ระหว่างเอทิลีนไกลคอลกับไดเมทิลเทเรฟทาเลตโดย เกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น , ส่วนเส้นใยอะไครลิก เกิดจากโพรพิลีนกับ แอมโมเนีย
  • 8. 72 SE 502 สารอะโรมาติก เช่น เบนซีน โทลูอีน และไซลีน เรียกรวมกันว่า บีทีเอ็กซ์ ( BTX ชื่อเต็มว่า Benzene Toluene Xylene) มีการนามาใช้ในอุตสาหกรรมปีโตรเคมี หลายชนิด เช่น ใช้เป็นตัวทาละลาย ใช้เป็นมอนอเมอร์ในการผลิตพอลิเมอร์ชนิดต่างๆ ตัวอย่างพอลิ เมอร์ เช่น พอลิสไตรีน ไนลอน ซึ่งนับว่าเป็นพัฒนาการของการทาเส้นใยอย่างหนึ่ง ยาง ยางเป็นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่งมีทั้งในธรรมชาติ และมนุษย์สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ น้ายางดิบในธรรมชาติ สามารถบูดเสียได้ง่าย จึงต้องเติมแอมโมเนีย เพื่อเป็นสารกันบูด และช่วยป้องกันไม่ให้น้ายางจับตัวกัน ส่วนการเติมกรดเช่น กรดแอซิติกหรือกรดฟอร์มิก จะ ช่วยแยกเนื้อยางจากน้ายาง โดยกรดจะทาให้เนื้อยางรวมตัวกันแล้วตกตะกอนแยกออกมาจาก น้ายาง เราเรียกเนื้อยางที่ได้นี้ว่า ยางดิบ ยางจัดเป็นพอลิเมอร์ของไอโซพรีน (C5H8) จัดอยู่ในจาพวกสารยืดหยุ่น เนื่องจากเป็น โมเลกุลขนาดใหญ่จึงมีการเชื่อมต่อของโมเลกุลมากถึง 1,500 – 15,000 หน่วย กระบวนการวัลคาไนเซชัน เป็นกระบวนการปรับปรุงคุณภาพยาง โดยเติมกามะถัน ในปริมาณที่เหมาะสม ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของกามะถัน ยางที่ได้มีสภาพคงตัวที่ อุณหภูมิต่างๆ มีความยืดหยุ่นคงรูปได้ดี เพราะจะเกิดพันธะโควาเลนต์ของกามะถันเชื่อมสาย โซ่พอลิเมอร์ของยาง นอกจากนี้ ยางยังมีสภาพทนต่อแสง ความร้อน และละลายในตัวทา ละลายยากขึ้นด้วย ตัวอย่างยางสังเคราะห์ที่ใช้ในปัจจุบัน ยางสไตรีนบิวทาไดอีน(ยางSBR): เกิดจากกับสไตรีน(25%)กับบิวทาไดอีน(75%) ยางคลอโรพรีน : เกิดจากคลอโรพรีน ยางบิวทาไดอีน : เกิดจากบิวทาไดอีน ในการผลิตยางรถยนต์ นอกจากจะเติมกามะถันและยังมีการเติมซิลิกา ซิลิเกต และ ผงถ่าน เพื่อช่วยเพิ่มความแข็งแกร่งให้ยาง โดยเฉพาะผงถ่าน จะมีความสามารถในการ ป้องกันการสึกกร่อน และถูกทาลายด้วยแสงแดดได้ดี ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์อย่างรวดเร็ว ทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีขึ้น และความแปลกใหม่ของผลิตภัณฑ์หลากหลาย สามารถ ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่นการผลิตไฟเบอร์กลาส เป็นการพัฒนาพลาสติกธรรมดาให้มี
  • 9. SE 502 73 ความแข็งแรง และทนต่อแรงกระแทกมากขึ้น โดยเติมใยแก้วลงไปหรือเติมผงแกรไฟต์ เพื่อให้มีสมบัติในการนาไฟฟ้าได้ โฟม โฟมเป็นพลาสติกชนิดหนึ่ง ซึ่งผ่านกระบวนการเติมแก๊สเพื่อให้เกิดฟองอากาศ แทรกอยู่ระหว่างเนื้อพลาสติก โฟมทุกชนิดต้องมีสารที่ช่วยทาให้เกิดโฟม ตัวอย่างสารที่ช่วย ทาให้เกิดโฟม เช่นอากาศ หรืออาจเป็นสารเคมีที่สามารถสลายตัวให้แก๊สเมื่อได้รับความร้อน เช่น CFC หรือ Chlorofluoro Carbon มีอีกชื่อว่าฟรีออน ฟรีออนหรือ CFC เป็น สารประกอบของคลอรีน ฟลูออรีน และคาร์บอนตามลาดับ สารนี้สังเคราะห์ขึ้นเพื่อให้ทาเป็น สารให้ความเย็นในตู้เย็น หรือเครื่องทาความเย็น ซึ่งมีสมบัติเป็นฉนวนความร้อน และ ฉนวนไฟฟ้าที่ดีมาก แต่มีข้อเสียคือ จะทาให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก และทาลายแก๊ส โอโชน ที่อยู่ในชั้นบรรยากาศ ปัจจุบันจึงใช้แก๊สเพนเทน และบิวเทนแทน เพื่อป้องกัน การเกิดมลพิษในอากาศ โฟม เกิดจากการนาเม็ดพอลิสไตรีนมาผสมสารทาให้เกิดฟอง แล้วจึงขึ้นรูปด้วยความ ร้อน ซึ่งทาให้ปริมาตรเพิ่มขึ้นหลายเท่า ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของพอลิเมอร์สังเคราะห์ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลาเพื่อให้ได้ผลิตัณฑ์ที่มีคุณาพตามความต้องการใช้งาน เช่น เรซินก็มีการพัฒนาจนได้ เทอร์มอเรซิน และเรซินเทอร์มอเซต เพื่อให้เหมาะสมกับการผลิตพลาสติกแต่ละอย่าง เส้นใย สังเคราะห์กีการพัฒนาให้มีเนื้อเส้นใยที่เบา ทนทานต่อการผุกร่อนและกัดกร่อนของแมลงมาก ขึ้น ในส่วนของยางมีการพัฒนามากจนยางที่ใช้เกือบทั้งหมดเป็นยางสังเคราะห์และมีคุณภาพดี ตามความต้องการใช้งานที่แตกต่างกันไป และโฟมซึ่งมีการใช้มากขึ้นก็มีการพัฒนาให้มี น้าหนักเบา เป็นฉนวนความร้อน เพื่อให้นามาใช้ในตู้เย็นได้ สรุป พอลิเมอร์เป็นสารโมเลกุลใหญ่ที่สามารถพบทั้งในธรรมชาติ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ยาง เส้นใย ฯลฯ และมนุษย์สร้างขึ้น เช่น พลาสติก ยางสังเคราะห์ ฯลฯ เป็นต้น เนื่องจากมนุษย์สามารถสังเคราะห์พอลิเมอร์ได้ จึงควบคุมให้มีโครงสร้างแตกต่างกันได้หลาย
  • 10. 74 SE 502 แบบทั้งแบบโซ่ตรง โซ่กิ่ง และแบบร่างแห ทาให้พอลิเมอร์มีความแข็งแรงทนทานแตกต่างกัน ไปตามการใช้งาน ซึ่งแสดงถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างหนึ่งซึ่งยังคงมีพัฒนาการ อย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน แบบฝึกหัด จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงยกตัวอย่างมอนอเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบรวมตัวมาอย่างน้อย 2 ชนิดพร้อมเขียนปฏิกิริยา 2. จงยกตัวอย่างมอนอเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติมมาอย่างน้อย 2 ชนิดพร้อมเขียนปฏิกิริยา 3. จงบอกวิธีทดสอบพลาสติก พร้อมยกตัวอย่างการทดสอบ