SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
มิติด้านสังคม
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการสร้างเกราะคุ้มกันให้กับชุมชน ทั้งจากวิกฤติจาก “ภายใน”และ “ภายนอก”
ถ้าหากว่าเรายึดปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงอยู่เสมอ เราจะไม่มีโอกาสเจอกับวิกฤติภายใน
ส่วนวิกฤติจากภายนอกเราก็สามารถควบคุมได้เช่นกัน เพราะหากเรายึดถือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว
เราก็จะไม่หลงระเริงไปกับกระแสเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ไม่ฟุ้งเฟ้อไม่ติดกับดักบริโภคนิยม
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง จึ ง เ ป็ น เ ส มื อ น ก า ร ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น ให้ กั บ ตั ว เ อ ง
และยังเป็นส่วนสาคัญ ที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒ นาที่ยั่งยืนของสังคมในระดับประเทศโดยรวม
แ ล ะ ยั ง ข ย า ย ไ ป สู่ ร ะ ดั บ โ ล ก ด้ ว ย
จะพบว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องที่ชุมชนทั่วโลกได้นาเอาไปใช้อย่างกว้างขวาง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการผสมผสานปรัชญาในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในมิติใหม่
ท า ง เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ เ พื่ อ ไ ม่ ให้ สั ง ค ม ต้ อ ง เ อ น เ อี ย ง ไ ป ใน ท า ง ใด ท า ง ห นึ่ ง
เป็นการถ่วงดุลทางความคิดที่ทาให้สังคมต้องหันกลับมาใช้สติปัญญา และเหตุผลเพื่อการตัดสินใดๆ
อ ย่ า ง ส ม ดุ ล ม า ก ขึ้ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร น า ป รัช ญ า แ น ว คิ ด ต ะ วั น อ อ ก ดั ง เช่ น
ฐานวัฒนธรรมประเพณีแห่งการประนีประนอมบนทางสายกลางของสังคมไทยที่มีอยู่อย่างมากมายในอดีต
มาใช้ประโยชน์ในปัจจุบันให้มากขึ้น ซึ่งแนวคิดที่ตั้งอยู่บนฐานการประนีประนอม ความสมดุล
และค วามยั่ง ยืนบ น ท าง สาย กลางนั้น มีอยู่ มากมาย ในป ระเท ศ ที่ กาลังพัฒ นาใน โลก
ห ากน ามาพัฒ นาเลือกใช้โดย ผสมผสาน กับ แนว คิดการ พัฒ นาสมัย ให ม่ให้ เห มาะสม
ก็ อาจ จ ะเป็ น ส่ ว น ผ สม ที่ ล ง ตัว เฉ พ า ะตัว แ ละเ ป็ น อัต ลัก ษ ณ์ ข อ ง แ ต่ ละ ป ระ เท ศ
ที่สามารถมีแนวทางการพัฒนาของตนเองได้ ไม่ต้องเลียนแบบแนวทางการพัฒนาแบบใช้ระบบตลาดนา
ซึ่ง สร้าง ข้ อ ด้อย ใน ก าร แข่ ง ขั น ส าห รับ ป ระเท ศ ที่ ก าลัง พัฒ น าเ ห ล่ านี้ ใน ระย ะสั้น
และเป็นผลให้เกิดความไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ หรือไม่สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างแท้จริง
แบ่งเป็น 2 หัวข้อ ดังนี้
1. การพัฒนาทางสังคมสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข
2. แนวทางการพัฒนาอย่างเป็นระบบองค์รวม
การพัฒนาทางสังคมสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข
แน ว ท าง ใน ก าร ป รับ เ ป ลี่ย น วิ ถีก า รผ ลิต ด้ว ย ป รัช ญ าเ ศ รษ ฐกิ จ พ อเ พีย ง
เพื่อนามาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า โดยเปรียบเทียบรายได้จากวิถีการผลิตด้านต่างๆ ของเกษตรกร
กับค่าใช้จ่ายแล้วพบว่าไม่เพียงพอ ทาให้เกษตรกรมีหนี้สินจากแหล่งเงินกู้ต่างๆ ทั้งในระบบ และนอกระบบ
ส่งผลให้คุณ ภาพชีวิตต่า และเป็ นสาเห ตุห นึ่งให้เกิดก ารบุ กรุก ที่ป่ าเพื่อเพิ่มพื้นที่ท ากิน
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
โดยเชื่อว่าจะนามาซึ่งรายได้ที่มากขึ้น ทั้งที่ทราบดีว่ามีผลต่างทางการผลิตไม่มาก อีกทั้งยังหาทางออกอื่น
เ ช่ น ก า ร เ ข้ า ไ ป เ ก็ บ ข อ ง ป่ า ตั ด ไ ม้ ล่ า สั ต ว์ เ พื่ อ เ ป็ น อ า ห า ร แ ล ะ ยั ง ชี พ
ส่งผลให้เกิดภาวะความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติขยายวงกว้างออกไปอีกจากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้
นเป็ นวัฎ จัก รดัง กล่าว จึงจาเป็ นต้อง เป ลี่ย นแป ลงโดย นาเอารูป แบ บ “ท ฤษฎี ให ม่ ”
อันเป็ นแนว ท างการป ฏิบัติที่เป็ นรูป ธรรมตามแนว คิดป รัช ญ าข อง เศ รษฐกิจพอเพีย ง
ที่จะใช้เป็ นแนวท างในการเป ลี่ย นแป ลงสังคมชนบ ทให้ก้าวไป สู่สิ่งที่ดีกว่า จากจุดเล็กๆ
ซึ่งหากพิจารณาในภาคเกษตรกรรมการเริ่มต้นที่ฐานการผลิตต้องสอดคล้องกับความเป็นจริงของแต่ละพื้นที่
และสร้าง กลุ่มเพื่อให้เกิดพลังในการเป ลี่ย นแป ลงในลักษ ณ ะข องการร่ว มคิด ร่วมท า
ไปสู่การขยายเครือข่ายระหว่างกลุ่มและสร้างพันธมิตรกับกลุ่มอาชีพอื่นในการหนุนช่วยการผลิต
แ ล ะก า รจ า ห น่ าย ให้ กั บ ก ลุ่ ม ก ระ บ ว น ก าร ข อ ง ท ฤ ษ ฎี ให ม่ ทั้ ง 3 ขั้ น ต อ น นั้ น
เริ่มจากการปฏิบัติในวิถีการผลิตที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ภูมิปัญญ าท้องถิ่น วัฒนธรรม
โดยใช้กระบวนการวิจัยและการส่งเสริมทางการเกษตรเป็นกลไกช่วยในการสร้างคุณภาพของการปฏิบัติ
เ ส ริ ม ด้ ว ย ก า ร เ พิ่ ม มู ล ค่ า ใ ห้ กั บ ผ ล ผ ลิ ต ด้ ว ย ก า ร แ ป ร รู ป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
ภ า ย ใ ต้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ่ ม ที่ มี ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ที่ ดี
มีก ารข ย าย เค รือข่ าย เ พื่ อ เสริม พ ลัง ใน ก ารเ ป ลี่ย น แป ลง สู่คุ ณ ภ าพ ชี วิต ที่ ดีก ว่ า
รวมทั้งสร้างพันธมิตรจากภาคส่วนอื่นเพื่อสนับสนุนการตลาดที่ยุติธรรม ตลอดจนการพัฒนาชุมชน
โดยมีปลายทางที่การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และเกิดสังคมอยู่เย็นเป็นสุข
แต่ในบางกรณี อาทิเช่น การผลิตข้าวโพดบนพื้นที่สูงของเกษตรกร ต .ห ลักด่านนั้น
ต้องประสบปัญหากับต้นทุนการผลิตที่สูง แต่มีรายได้ต่า เนื่องจากไม่สามารถควบคุมปัจจัยการผลิต
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
และการตลาดได้ รวมทั้งเกษตรกรเอง ไม่มีการรวมกลุ่มในการดาเนินกิจกรรมกาผลิต
ห รือแป รรูป ผลิตผลท างการเกษตร ท าให้ไม่อาจมีอานาจในการต่อรองได้อย่ างสิ้นเชิง
ดังนั้นจึงจาเป็ นต้องแสวง ห าแนว ท างให ม่ในการผ ลิตที่ ลดพื้นที่ การผลิตให้ น้อย ที่ สุด
แ ต่ มี ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ผ ลิ ต สู ง ก ว่ า เ ดิ ม ภ า ย ใต้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ นั ก วิ ช า ก า ร
รว มไป ถึงการจัดตั้งกลุ่มเพื่ อจาห น่ าย ผลิตผลท าง การเกษ ตร การแป รรูป ผลิตภัณ ฑ์
การหนุนให้พื้นที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวซึ่งจะส่งผลดีต่อเกษตรกรในการเพิ่มรายได้ทางการผลิต
การมีสุขภาพดีจากการไม่ทางานหนักเกินไป และไม่เสี่ยงต่อการใช้สารเคมีไม่ถูกวิธี ซึ่งจะทา
ให้ มี เ ว ล า พ อ ใ น ก า ร ท า นุ บ า รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ เ พ ณี ท า ง ศ า ส น า
อันเป็นพื้นฐานที่สาคัญในการสร้างความอบอุ่นในครอบครัวและที่สาคัญเป็นการคืนพื้นที่ให้กับธรรมชาติที่เป็
นแหล่งอาหาร และเป็นประโยชน์ในการรักษาสภาพแวดล้อมต่อส่วนรวม
การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต การดาเนินการควรเริ่มต้นที่การผลิต
ภายใต้เงื่อนไขที่เหมาะสมกับฐานทรัพยากร มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และได้รับการยอมรับจากเกษตรกร
ภาย ใต้การผลิต และการส่งเสริมการเกษตรรูป แบ บ ให ม่ ค วรมีการแป รรูป ผลิตภัณ ฑ์
เ พื่ อ ยื ด อ า ยุ ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า เ พิ่ ม มู ล ค่ า ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
และลดความผันผวนของราคานอกจากนี้ยังต้องให้ความสาคัญกับภาคการตลาด ซึ่งแนวทางการดา
เนินงานค วรมีกระบ วนการพัฒ นาวิสาหกิจชุ มชน มีการวางแผนทั้งอุป สงค์ และอุป ท าน
สามารถสร้างการต่อรองในกลไกราคาได้
2. แนวทางการพัฒนาอย่างเป็นระบบองค์รวม
การพัฒนาที่มิได้มุ่งเน้นเงินเป็นใหญ่กาไรสูงสุดตามแนวทางระบบทุนนิยม
หากแต่มุ่งเน้นที่การพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีทั้งทางเศรษฐกิจสังคมที่เชื่อมโยงวัฒนธรรม
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
แบบแผนการบริโภค โดยภายใต้ปรัชญาดังกล่าวสามารถสรุปหลักใหญ่สาคัญ 3 ประการ
อันเป็นจุดเน้นที่สาคัญได้แก่
1. ความสมดุล ผลสืบเนื่องจากการพัฒนาอาจกล่าวได้ว่าทาให้บริบทต่างๆในสังคมเสียสมดุล
ไม่ว่าจะเป็นภาวะทางป ระชากรที่มีการอพยพห ลั่งไหลเข้ามาท างานในเมืองของคนชนบ ท
ก่อให้เกิดปัญหาการกระจายตัวทางประชากรและปัญหาต่างๆมากมายเช่น ขาดกาลังแรงงานภาคชนบท
ภ า ว ะ ล้ น เ กิ น ข อ ง แ ร ง ง า น ร า ค า ถู ก ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม
สภาวะด้านสิ่งแวดล้อมที่มีการนาทรัพยากรทางธรรมชาติมาให้เพื่อการพัฒนาอันเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ระบ
บ นิเว ศ ข องไท ย เป ลี่ย นแป ลง ไป ไม่ว่ าจะเป็ นเรื่องภูมิอากาศ ที่ อยู่ อาศัย ข องสัตว์ป่ า
และการสูญ พันธุ์ข องสัตว์บ างช นิด ภาว ะเสีย สมดุลดัง กล่าวเป็ นสิ่ง ที่อาจแก้ไข ได้ยาก
และอาจแก้ไม่ได้เลยหากทิศทางการพัฒนาประเทศยังคงมุ่งเน้นที่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม
ห รื อ ทุ น นิ ย ม พั ฒ น า ก า ร (Advanced Capitalism)
การพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงจึงให้ความสาคัญต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ตามสภาพแวดล้อมที่
เป็นอยู่จริง โดยเน้นที่ความสาคัญของภูมิปัญญ าพื้นบ้านในการประกอบอาชีพที่ไม่ซับซ้อน
เ น้ น ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั บ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ เ ช่ น
ก า ร ท า เ ก ษ ต ร ผ ส ม ผ ส า น ต า ม แ น ว ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่
ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาที่สามารถปฏิบัติได้จริงบนพื้นฐานบริบทสังคมไทยคือภาคเกษตรกรรม
เป็นการสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้นจากความแตกต่างของช่องว่างการพัฒนาระหว่างเมืองและชนบท
จัดเป็นวิถีทางประการหนึ่งในการสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตและความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นกล่าวคือเ
ป็ น ก า ร ผ ลิ ต ที่ เ น้ น ก า ร บ ริ โ ภ ค ก่ อ น ที่ จ ะ น า ไ ป ข า ย มี กิ น มี ใ ช้
ให้สามารถอยู่รอดได้โดยมิต้องพึ่งพาความช่วยเหลือจากภายนอก
2 ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ก า ร พั ฒ น า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ท า ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ยิ่ ง พั ฒ น า
ช่ อ ง ว่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ค น ร ว ย แ ล ะ ค น จ น ก็ ยิ่ ง ข ย า ย ตั ว ม า ก ขึ้ น
เนื่องจากมีการสูบ ท รัพยากรจากช นบ ท มาใช้เพื่อการพัฒ นาเมืองและภาคอุตสาห กรรม
แม้ว่าจะมีการเรียกร้องสิทธิของชุมชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นเรื่องทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่น
อันเป็นการช่วงชิงวาทกรรมระหว่างกระแสท้องถิ่นนิยม (Localization) และกระแสโลกาภิวัฒ น์
(Globalization) เพื่อให้ตัวตนของท้องถิ่นปรากฎชัดเจนยิ่งขึ้นอันเป็นเงื่อนไขที่จาเป็น (Necessary
Condition)
แต่ก็ไม่เพียงพอเนื่องจากระบบคุณค่าในสังคมตลอดจนวัฒนธรรมและแบบแผนทางพฤติกรรมได้ถูกกลืนกล
ายจากกระแสโลกาภิวัฒน์ให้เกิดภาวะการแข่งขันและการแย่งชิงสูงภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
การพลิกฟื้นสังคมไทยจึงเริ่มจากการสร้างคุณค่าเชิงอุดมการณ์ (Ideological Value) ระบบคุณค่าต่างๆ
ในสังคม เพื่อนาพาสังคมให้ตระห นักรู้เท่าทันกระแสการพัฒนา ประเด็นเรื่องความพอเพียง
จึ ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ตุ้ น เ ตื อ น ให้ เ กิ ด ส ติ ค ว า ม ยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใ จ ใ น ก า ร เ ลื อ ก /
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
ตั ด สิ น ใ จ ที่ จ ะ ด า เ นิ น ชี วิ ต ด้ ว ย ค ว า ม ร ะ แ ว ด ร ะ วั ง
รู้เท่ าทั นกระแสการเป ลี่ย น แป ลงเข้ าใจถึง ค ว ามห ม าย ข อง ก ารใช้ห รือการบ ริโภ ค
การแสวงหาหรือการทามาหากินที่ไม่เอารัดเอาเปรียบทั้งต่อมนุษย์ด้วยกันและธรรมชาติบนพื้นฐานของควา
ม พ อ ดี ค ว า ม พ อ เ พี ย ง จึ ง มี นั ย ย ะ ข อ ง ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง รู้ จั ก สั ง ค ม
เข้าใจถึงสารัตถะของการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ ไม่เอาเปรียบเบียดเบียนกันการรู้จัก “พอ”
จึงเป็นหนทางหนึ่งในการดับทุกข์ ช่วยให้ไม่ลุ่มหลงในกิเลสและอบายต่างๆ จากความอยากได้ อยากเป็น
อ ย า ก มี เ ฉ ก เ ช่ น ผู้ อื่ น ห ลั ก ค ว า ม พ อ เ พี ย ง จึ ง เ ป็ น แ น ว ท า ง แ ห่ ง สั น ติ วิ ถี
เป็นสันติวัฒนธรรมที่จะช่วยธารงสังคมให้ผาสุก
3. ค ว า ม ยั่ ง ยื น
บทเรียนที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาประเทศที่ผ่านมาทาให้เกิดคาถามเกี่ยวกับการพัฒนาที่ต้องนาไปสู่ความยั่ง
ยื น ท า ให้ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ไ ด้ ถู ก น า ไ ป ผ น ว ก กั บ ก า ร พั ฒ น า ใน ด้ า น ต่ า ง ๆ
เหตุผลสาคัญประการหนึ่งก็คือมีแนวคิดที่ว่าการพัฒนาต้องเป็นการพัฒนาที่คานึงถึงลูกหลานหรือคนรุ่นต่อไ
ป ที่ พ ว ก เ ข า /
เธอเหล่านั้นก็มีสิทธิที่จะใช้หรือครอบครองทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ต่างไปจากคนรุ่นปัจจุบันแนวทางของคว
ามยั่งยืนจึงถูกนาเสนออย่างเป็นรูปธรรม กล่าวคือหากต้องการให้เกิดความยั่งยืนในการพัฒนาแล้ว
วิธีการพัฒนาต้องเป็นการสร้างการพึ่งตนเองได้ คือสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชน และชุมชน
อั น เ ป็ น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง จ า ก ภ า ย ใ น
มิใช่รอคอยการพัฒนาจากภายนอกเพียงอย่างเดียวซึ่งหากชุมชนมีความเข้มแข็งหรือยืนหยัดอยู่ได้แล้ว
ค ว า ม รู้ สึ ก ใ น ก า ร เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง (Sense of Belonging)
จะทาให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาจนนาไปสู่ความยั่งยืนในที่สุดตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเ
พียงได้ชี้ให้เห็นว่าการพัฒนาตามแนวทางดังกล่าวมิได้เป็นการสร้างวาทกรรมหรือการสร้างความรู้สึกว่าด้อย
พั ฒ น า ต้ อ ง พั ฒ น า ใ ห้ เ ท่ า ทั น ต า ม อ า ร ย ป ร ะ เ ท ศ
หากแต่เป็นการพัฒนาบนพื้นฐานแห่งตัวตนและเอกลักษณ์ตามบริบทที่แตกต่างกันไป ซึ่งในท้ายที่สุดแล้ว
ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ห ล า ก ห ล า ย ดั ง ก ล่ า ว จ ะ เ ป็ น ส่ ว น เ ติ ม เ ต็ ม ให้ แ ก่ กั น แ ล ะ กั น
มุ่งเน้นที่ความหลากหลายของพลังชุมชนเพื่อหนุนเสริมชุมชนให้เกิดการถักทอในการพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดี
อันเป็นภูมิคุ้มกันทางสังคมประการหนึ่งที่มิต้องรอคอยคาตอบหรือการชี้นาจากภายนอก
มิติด้านสิ่งแวดล้อม
ก า ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม นั้ น
เป็นอีกมิติหนึ่งที่มีความสาคัญโดยมีการพยายามเชื่อมโยงการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตามมิติของสิ่งแวดล้อม ไว้ดังนี้
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
1. การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม โดยหลักการสมดุลมวล และระบบนิเวศอุตสาหกรรม
ก า ร พิ จ า ร ณ า ว่ า มี ม ว ล ส า ร เ ข้ า แ ล ะ อ อ ก อ ย่ า ง ล ะ เ ท่ า ไ ร
แ ล ะ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ป ริ ม า ณ ข อ ง ม ว ล ส า ร ภ า ย ใน ร ะ บ บ เ ป็ น อ ย่ า ง ไ ร
นามาเป็นหลักการในการวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจพอเพียงในมิติทางด้านสิ่งแวดล้อม
แนวคิดพื้นฐานข องการวิเค ราะห์นี้อยู่ บ นการมองว่า “ระบ บ เศรษฐกิจพอเพียง ”
เป็นการจัดการธุรกิจที่ช่วยให้มีการหมุนเวียนขยะ และมลภาวะกลับเข้าสู่กระบวนการผลิต
ทาให้ไม่มีการปล่อยทิ้งขยะ และมลภาวะออกสู่สิ่งแวดล้อม หรือมีการปล่อยทิ้งน้อยลง ซึ่งการปล่อยทิ้งขยะ
แ ล ะ ม ล ภ า ว ะ อ อ ก สู่ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ป็ น ผ ล ใ ห้ เ สี ย ส ม ดุ ล ข อ ง ร ะ บ บ นิ เ ว ศ
ห รือท าให้ระบ บ นิเว ศ ป รับ สมดุ ลแต่ กลาย เป็ นผ ลเสีย ห รือเป็ นอัน ตราย ต่ อมนุ ษ ย์
การจัดการสิ่งแวดล้อมในระบ บ เศ รษฐกิจพอเพียง จึงเป็ นกระบ วนการที่เค ลื่อนเข้าใกล้
หรืออยู่ในทิศทางเดียวกันกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมของระบบนิเวศซึ่งเป็นระบบที่ไม่มีการปล่อยของเสี
ย (Zero waste)
2. เศรษฐกิจพอเพียงกับภาวะโลกร้อน
สภ าว ะ โลก ร้อ น เป็ น เรื่ อง ที่ ได้รับ ก า รก ล่าว ถึง อย่ าง ก ว้ าง ข ว าง ใน ปัจ จุบั น
ซึ่ง ได้มี ผู้ ก ล่ า ว ถึ ง แ ล ะ วิ ภ า ค ส า เ ห ตุ ข อ ง เรื่ อ ง ดั ง ก ล่ า ว ไว้ ด้ ว ย กั น ห ล า ย อ ย่ า ง
โ ด ย มี ผู้ อ ธิ บ า ย ค ว า ม เ ชื่ อ ม โ ย ง ข อ ง ปั ญ ห า ดั ง ก ล่ า ว
กับการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวโดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไว้ดังนี้
สาเหตุของภาวะโลกร้อนว่ามีต้นเหตุสาคัญมาจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่อิงกับอุตสาหกรรมเป็น
หลัก อันเป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนรากฐานของความไม่พอเพียง การขยายตัวของชุมชนเมืองสมัยใหม่
ก า ร ข ย า ย ตั ว อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว แ ล ะ ก า ร บ ริโภ ค อ ย่ า ง ฟุ้ ง เ ฟ้ อ ข อ ง ชุ ม ช น เ มื อ ง
อัน เป็ น ปัจ จัย สา คัญ ที่ ก ระ ตุ้น ให้ เกิ ด ก ารเบี ย ด เบี ย น สิ่ง แว ด ล้อ ม อย่ าง เ กิ น พ อ ดี
อันนามาซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนในที่สุดวิกฤติโลกร้อนในปัจจุบันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการปล่อยก๊าซเรือนก
ระจก ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นกิจกรรมที่มีความเกี่ยวพันกับ การขยายตัวของชุมชนเมืองสมัยให ม่
โดยสัญญาณแห่งวิกฤติครั้งนี้ ได้เริ่มแสดงตัวออกมาอย่างต่อเนื่องหลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นต้นมา
คู่ ข น า น กั บ ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง ชุ ม ช น เ มื อ ง ส มั ย ใ ห ม่
สถานการณ์ภาวะโลกร้อนในแต่ละช่วงเวลาจึงสัมพันธ์กับการขยายตัวของชุมชนเมืองในแต่ละยุคสมัยโดยเป้
าหมายหลักของเศรษฐกิจระบบพอเพียงนี้คือ การผลิตเพื่อให้พอเพียงแก่ตัวเองก่อนเป็นลาดับแรก
จากนั้นจึงค่อยนาส่วนที่เกินความต้องการมาแลกเปลี่ยนกับภายนอก โดยมีระบบความคิดเรื่อง
“ความพอเพียง” เป็นตัวคอยควบคุมไม่ให้มีความต้องการที่มากจนเกินจาเป็น นามาสู่วิถีชีวิตที่เรียบง่าย
มี ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ใ น ก า ร บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ส า ม า ร ถ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้
ซึ่งสามารถสรุปเป็นคุณลักษณะเฉพาะของความพอเพียงได้ 2 ประการดังนี้
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
1. ก า ร พั ฒ น า ต า ม ล า ดั บ ขั้ น
โดยต้องเริ่มการพัฒนาจากความจาเป็นขั้นพื้นฐานเป็นอันดับแรกก่อนที่จะพัฒนาในความจาเป็นขั้นสูงต่อไป
ความพอเพียงจะเกิดขึ้นจากการได้รับการสนองความต้องการในแต่ละลาดับขั้นในระดับที่พอดีกับความต้อง
การ
2. มีการพัฒนาจากภายในสู่ภายนอก โดยมุ่งเน้นการพัฒนาที่มาจากภายในตนเอง
แ ล ะ ก า ร พึ่ ง พ า ต น เ อ ง (Self-reliance) เ ป็ น อั น ดั บ แ ร ก
แ ล ะ มี ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น กั บ ผู้ อื่ น ส า ห รั บ สิ น ค้ า ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต เ อ ง ไ ด้
โดยให้ค วามสาคัญ กับ ห น่วย ที่อยู่ ใกล้ตัวเป็ นลาดับ แรกและต่อเนื่องกันไป สู่ห น่ วยอื่น ๆ
ที่ ห่ า ง อ อ ก ไ ป ต า ม ล า ดั บ
ส่งผลให้แต่ละหน่วยการผลิตสามารถมีอานาจในการกาหนดทิศทางพัฒนาด้วยตนเองอันจะนาไปสู่การพึ่งตัว
เองได้ และพอเพียงในตัวเอง
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
แนวคิดชุมชนเมืองที่พอเพียงและหนทางฝ่าวิกฤติโลกร้อน
“ชุ ม ช น เ มื อ ง ที่ พ อ เ พี ย ง ”
คือคาตอบของแนวคิดในการออกแบบชุมชนเมืองเพื่อช่วยบรรเทาปัญ หาจากภาวะโลกร้อน
ที่มีความเหมาะสมกับชุมชนเมืองไทย โดยหลักการสาคัญ ที่สุดของชุมชนเมืองที่พอเพียง คือ
การเป็นชุ มชนเมืองที่มีการสนองค วามต้องการของผู้คนในระดับที่พอเพีย งตามลาดับขั้น
อั น ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ค ว า ม พ อ เ พี ย ง
ซึ่งมุ่งเน้นให้มีการพัฒ นาตามลาดับ ขั้นจากระดับ ที่จาเป็ นขั้นพื้นฐานสู่ระดับ ที่สูงขึ้นไป
และจากภายในที่ใกล้ตัวกระจายออกสู่ภายนอกดังจะเห็นได้จากหลักการพัฒนาของเกษตรทฤษฎีใหม่
โดยลาดับขั้นในที่นี้สามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ลาดับขั้น ดังนี้
1) ล า ดั บ ขั้ น ข อ ง ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ห ม า ย ถึ ง
ล าดั บ ขั้ น ข อ ง ค ว าม ต้ อ ง ก า ร พื้ น ฐ า น ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใน ชุ ม ช น เ มือ ง ใก ล้เ คี ย ง กั บ
“ทฤษฎีความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์” (Basic Human Needs Theory) ของ อับราฮัม มาสโลว์
โด ย ต้ อ ง เ ริ่ม จ า ก ก า ร พั ฒ น า จ า ก ค ว า ม จ า เ ป็ น ขั้ น พื้ น ฐ า น เ ป็ น อั น ดั บ แ ร ก
ก่ อ น ที่ จ ะ พั ฒ น า ใ น ค ว า ม จ า เ ป็ น ใ น ขั้ น ที่ สู ง ขึ้ น ไ ป
ค ว าม พอ เพีย ง จะเกิด ขึ้น จากก ารได้รับ ก ารสน อง ค ว าม ต้อ งก ารใน แต่ ละลาดับ ขั้น
ในระดับที่พอดีกับความต้องการสอดคล้องกับคุณลักษณะเฉพาะของความพอเพียงเรื่องการพัฒนาตามลาดั
บ ขั้ น
ผู้คนภายในชุมชนเมืองต้องมีความพอเพียงจากการได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตอย่างพอเพียงเป็นลา
ดับแรก มีความมั่นคงในการดารงชีวิต มีสภาพแวดล้อมที่ดี มีที่อยู่อาศัย ระบบบริการพื้นฐานสุขอนามัย
แ ล ะ แ ห ล่ ง ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ อ ย่ า ง พ อ เ พี ย ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
ขั้นต่อมาคือความพอเพียงจากการสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม มีการพึ่งพาและเกื้อกูลระหว่างกัน
อันจะนามาสู่ความพอเพียงจากการนาภูมิปัญญาที่ได้จากการเรียนรู้ร่วมกันมาใช้ในการพัฒนา
และมีการสืบทอดภูมิปัญญาซึ่งจะนามาสู่ความพอเพียงในจิตใจในขั้นสูงสุด
2) ล า ดั บ ขั้ น ข อ ง ชุ ม ช น เ มื อ ง ห ม า ย ถึ ง
ลาดับของหน่วยทางสังคมต่างๆในชุมชนเมืองที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในลักษณะโฮลอนและไฮราคี
(Holon & Hierarchy) ซึ่งหมายถึง ในหน่วยทางสังคมหนึ่งๆที่มีความพอเพียงในตนเองในระดับหนึ่ง
แ ต่ ไ ม่ ใ ช่ มี ส ถ า น ะ ปิ ด ตั ว เ อ ง อ ยู่ อ ย่ า ง โ ด ด ๆ
ก ลับ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ไป สู่ ร ะ ดั บ ที่ ให ญ่ ก ว่ า ต่ อ เนื่ อ ง กั น ไป อ ย่ า ง มี ล า ดั บ ชั้ น
โดย แนว คิดนี้ได้ท าก ารจาแนก ลาดับ ขั้น ข อง ห น่ ว ย ชุ มช นออกเป็ น 3 ระดับ ได้แ ก่
ร ะ ดั บ ชุ ม ช น (Neighborhood) ร ะ ดั บ ย่ า น (District)แ ล ะ ร ะ ดั บ เ มื อ ง (Urban)
และยังเชื่อมโยงไปจนถึงระหว่างเมือง โดยการกาหนดขอบเขตของแต่ละหน่วยชุมชนเอาไว้นั้น
เพื่อให้สามารถกาหนดระดับที่เหมาะสมกับศักยภาพในการสนองความจาเป็นและการบริหารจัดการของแต่ล
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
ะ ล า ดั บ ขั้ น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ที่ สุ ด
สอดคล้องกับคุณลักษณะเฉพาะของความพอเพียงเรื่องการพัฒนาจากภายในสู่ภายนอก
แนวคิดทางกายภาพของชุมชนเมืองที่พอเพียง
แนวคิดทางกายภาพที่ทาการนาเสนอเป็นระดับ “แนวคิด”
เท่านั้นเนื่องจากในระดับของการนาไปปฏิบัติทางการออกแบบจริง
ย่อมที่จะต้องได้รับการพิจารณาถึงแนวทางการออกแบบที่เหมาะสมชัดเจน ตามลักษณะของบริบทนั้นๆ
ในแต่ละชุมชนเมืองต่อไป โดย
แนวทางการสร้างสภาพแวดล้อมที่พอเพียงสาหรับหน่วยชุมชนในแต่ละลาดับขั้น
ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเด็นให้พิจารณาได้ดังนี้
1. หน่วยระดับชุมชน (Neighborhood) เป็นหน่วยระดับเล็กที่สุด มีการใช้งานบ่อยที่สุด
แ ล ะ มี ค ว า ม ใ ก ล้ ชิ ด ม า ก ที่ สุ ด
ด้วยความเป็นหน่วยที่มีขนาดเล็กและไม่ซับซ้อนโอกาสในการสร้างให้เกิดความพอเพียงจึงสามารถทาได้ง่า
ย ความพอเพียงจะเกิดจากการที่ผู้คนในชุมชนได้รับการสนองความต้องการขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง
ผู้ ค น ใ น ชุ ม ช น มี ค ว า ม คุ้ น เ ค ย กั น
ด้ว ย การดึง เอาลักษ ณ ะข อง การอยู่ ร่ว ม กัน ข อง ชุ มช นใน ช น บ ท ม าใช้ใน พื้นที่ เมือ ง
โดยมีแนวคิดในการออกแบบดังนี้ในแต่ละหน่วยชุมชนควรมีการจัดเตรียมบริการพื้นฐานสาธารณูปโภค -
สาธารณู ป การร้านค้า พื้น ที่พักผ่อน และอื่นๆ ที่ จาเป็ น ใน การดารง ชีวิตให้พ อเพีย ง
ชุมชนควรมีข นาดเล็กเพื่อค วามสะดว กในการกระจาย บ ริการได้ทั่ว ถึงและไม่สิ้นเป ลือง
รวมทั้งสะดวกในการบริหารจัดการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมช นเพื่อเป็นที่พบป ะระห ว่างกัน
ช่ ว ย ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ ช า สั ง ค ม แ ล ะ ช่ ว ย ล ด ม ล พิ ษ
ร ว ม ทั้ ง ช่ ว ย ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ที่ ดี แ ล ะ ส ร้า ง ค ว า ม น่ า ส บ า ย ให้ กั บ ชุ ม ช น
ควรออกแบบอาคารให้ใช้ระบบธรรมชาติเพื่อลดการใช้พลังงานได้ เช่น จัดวางอาคารเพื่อรับลมธรรมชาติ
ห รื อ
ใช้ร่มเงาของต้นไม้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิใช้ระบบหมุนเวียนพลังงานหรือพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแว
ดล้อม ซึ่งสามารถบ ริห ารจัดการได้ง่าย ในชุ มช นข นาดเล็กลดการใช้รถยนต์ในชุ มช น
ด้วย การใช้ร่มเงาข องต้นไม้ช่ ว ย สร้าง บ รรย ากาศ ที่ ดีให้ กั บ ท างเท้าและท างจักรย าน
เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนหันมาใช้ทางเท้ามากขึ้น
2. ห น่ ว ย ร ะ ดั บ ย่ า น (District) เ ป็ น ห น่ ว ย ชุ ม ช น ล า ดั บ ที่ 2
ซึ่ง จะ เป็ น ห น่ ว ย ที่ ร อง รับ ก ารใช้ ง าน ข อ ง ผู้ค น เ ป็ น จ าน ว น ม าก แ ล ะห ล าก ห ลา ย
ความพอเพียงจะเกิดจากการที่ผู้คนภายในย่านได้รับการสนองความต้องการอย่างทั่วถึง
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
มี ค ว า ม เ ป็ น อั น ห นึ่ ง อั น เ ดี ย ว กั น แ ล ะ มี จิ ต ส า นึ ก ร่ ว ม กั น
โดยมีแนวคิดในการออกแบบดังนี้สร้างพื้นที่ศูนย์กลางย่านที่ชัดเจนด้วยสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์
เพื่อสร้างคว ามภาคภูมิใจร่วมกันข องค นในชุมชนกระตุ้นให้เกิดป ฏิสัมพันธ์ระห ว่ างกัน
บ ริเว ณ ศู น ย์ ก ล าง ย่ า น ค ว ร มีก า ร ค ว บ คุ ม ค ว า ม ห น า แ น่ น ให้ เห ม าะ ส ม เ ช่ น
แ ท ร ก พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว แ ล ะ พื้ น ที่ ธ ร ร ม ช า ติ เ ข้ า ไ ป
เพื่อช่วยลดความหนาแน่นควรมีการจัดวางอาคารภายในย่านให้เข้ากับธรรมชาติ เช่น รับลมประจาถิ่นได้ดี
หรือการใช้แหล่งน้าธรรมชาติเพื่อช่วยลดอุณหภูมิให้กับย่านรวมทั้งการดึงเอกลักษณ์ของภูมิประเทศมาสร้าง
ความน่าสนใจให้กับย่านวางแผนการใช้งานพื้นที่ภายในย่านให้มีความหลากหลายและสมดุลด้วยกิจกรรมที่
จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต เ ช่ น
เพิ่มแหล่งงานในย่านพักอาศัยเพื่อลดการเดินทางระหว่างที่พักอาศัยกับแหล่งงานด้วยการส่งเสริมให้เกิดธุร
กิจขนาดเล็กที่มีค วามเป็ นเอกลักษณ์ในแต่ละย่านออกแบ บอาค ารเพื่อลดการใช้พลังงาน
เช่นใช้รูปแบบของอาคารพื้นถิ่นหรืออาคารพื้นถิ่นประยุกต์เนื่องจากสามารถเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีและมี
เ อ ก ลั ก ษ ณ์
ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีให้กับย่านปลูกต้นไม้ที่มีคุณสมบัติช่วยลดมลพิษได้ดีบริเวณเส้นทางคมนาคมที่มีกา
รใช้งานห นาแน่ น พร้อมทั้งค วรมีการสร้างท างเท้าที่มีค วามสะดว กสบาย มีคว ามร่มรื่น
สามารถกันแดดกันฝนได้และกระจายอย่างทั่วถึง เพื่อกระตุ้นให้คนในเมืองหันมาใช้ทางเท้ากันมากขึ้น
ลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว
3. ห น่ วย ระดับ เมือง (Urban) เป็ นห น่ ว ย ชุ มช นที่ มีการใช้งานบ่ อย น้อย ที่สุด
ค วามพอเพีย งจะเกิดขึ้นจากการที่เมืองมีก ารพึ่งพ าตัว เองได้และพ อเพีย งในตัว เอง
ผู้คนในเมืองได้รับบริการอย่างทั่วถึงเมืองต้องไม่รุกรานธรรมชาติและสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อม
โดยมีแนวคิดในการออกแบบ โดยจากัดข อบเขตเมืองให้ชัดเจนในลักษณะของ Green Belt
บริเวณใจกลางเมืองค วรมีความกระชับ เพื่อลดการท าลาย พื้นที่ธรรมชาติรอบ นอกเมือง
ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องขยายให้ใช้ระบบเครือข่าย ในลักษณะของการกระจายตัวเป็นกลุ่มๆ
จัดการใช้งานพื้นที่ ให้ เห มาะสมและมีค วามสมบู รณ์ใน ตัวเอง เช่ น จัดให้ มีที่ พักอาศัย
แ ล ะ แ ห ล่ ง ง า น ไ ว้ ใ น บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ กั น
เพื่อช่วยลดการเดินทางจากบ้านไปที่ทางานมีโครงข่ายคมนาคมที่ชัดเจนและรับรู้ได้ง่ายส่งเสริมระบบขนส่ง
ม ว ล ช น ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ พื่ อ ล ด ก า ร ใ ช้ ร ถ ย น ต์ ส่ ว น ตั ว
และควรมีการพัฒนาเมืองตามเส้นทางขนส่งมวลชนเป็นหลักสร้างโครงข่ายพื้นที่สาธารณและพื้นที่สีเขียวใน
หลายลาดับขั้นเพื่อให้กระจายได้อย่างทั่วถึงอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวดั้งเดิมไว้ให้มากที่สุดเพื่อใช้ลดอุณหภูมิและล
ด ม ล ภ า ว ะ
เพิ่มพื้นที่เปิดโล่งบริเวณที่มีการใช้งานหนาแน่นสูงเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดเกาะความร้อนในเขตเมืองพัฒนาเมื
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
อ ง ใ ห้ ส ม ดุ ล กั บ ฐ า น ท รั พ ย า ก ร ข อ ง แ ต่ ล ะ ที่
เพื่อลดความสิ้นเปลืองจากการต้องขนทรัพยากรจากแหล่งอื่นที่ห่างไกล
มิติด้านเทคโนโลยี
1 การพัฒนากาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวท างการพัฒ นาท รัพยากรมนุ ษย์ โดย ใช้วิท ย าศาสตร์และเท ค โนโลยี
โดยเน้นการใช้ระบบเสมือน (Virtual) และระบบเครือข่าย (Networking) เป็นแนวทางการดาเนินงานหลัก
ซึ่งเหมาะสมอย่างยิ่ง กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ท า ง ส า ย ก ล า ง ก า ร พั ฒ น า ก า ลั ง ค น ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
แ ล ะ เท ค โน โล ยี ที่ เ น้ น ก า รส ร้า ง ระ บ บ เ ส มื อ น เพื่ อ ก าร เ รีย น รู้ (Virtual education)
ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ก า ร จั ด ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม แ น ว เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
โดยใช้ระบบศึกษาทางไกลที่ใช้สื่อทันสมัยช่วยเป็นการกระจายองค์ความรู้สู่ปวงชนทุกระดับ
ผู้เรียนทุ กคนสามารถเรียนได้ตลอดเวลาตามความสะดวก โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่
แ ล ะ ป ร ะ ห ยั ด ค่ า ใ ช้ จ่ า ย
ผู้เรียนสามารถพัฒ นาตนเองจากการเรีย นรู้ตามค วามถนัดและค วามสามารถของตนเอง
ซึ่ง ถือได้ว่ าเป็ น การเสน อรูป แบ บ ให ม่ข อง ก ารเรีย นรู้ใน ลัก ษ ณ ะ “ท าง สาย ก ลาง ”
ที่แต่ละคนเลือกได้ตามความต้องการ
2. ความพอป ระมาณ การพัฒ นากาลังคนโดยการศึกษาตามแนวเศรษฐกิจพอเพีย ง
โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่พอเพียง เป็นการสร้างคนที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม มีความวิริยะ
อุ ต ส า ห ะ ค ว า ม ส ม ดุ ล อั น น า ไ ป สู่ ค ว า ม มั่น ค ง แ ล ะ ยั่ ง ยื น ใน ภ า พ ร ว ม
การจัดการศึกษาในระบบเสมือนเป็นรูปแบบการเรียนการสอน และฝึกอบรมแนวใหม่ที่มีความพอประมาณ
เ ป็ น ก า ร แ บ่ ง ปั น ท รัพ ย า ก ร โด ย ใช้ สื่ อ ทั น ส มั ย ช่ ว ย ซึ่ ง ช่ ว ย ล ด ค่ า ใช้ จ่ า ย
เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทุกคน เพื่อนาความรู้ใหม่ๆ ไปพัฒนาตนเองและหน่วยงาน
3. ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ เ ส มื อ น ดั ง ก ล่ า ว
เพื่อให้บุคคลทุกกลุ่มทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สามารถเลือกเรียนได้ตามความสะดวก
วิธีการที่จะใช้มีทั้งในรูปแบบ อินเตอร์เน็ต และเครือข่ายดาวเทียม โดยมีหลักสูตรหลากหลาย
เพื่ อ มุ่ ง ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้อ ง ก าร ข อ ง อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ข อ ง ผู้ เ รีย น ใน ห ล า ย ระ ดั บ
การศึกษ าเช่ นนี้เน้นการเรีย นรู้ด้ว ย ตนเอง โดย มีค รู ห รือผู้สอนเป็ นเพีย ง ผู้แนะแน ว
ผู้จะสามารถพัฒ นาค ว ามมีเห ตุผ ลขึ้ นเอง ได้ก ารศึก ษาตามแน ว เศ รษ ฐกิจพ อเพีย ง
น อ ก จ า ก ก า ร จั ด ห ลั ก สู ต ร ต่ า ง ๆ ใ น รู ป ข อ ง virtual education
ยังได้จัดประสานงานให้มีความร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัย สถานบันเฉพาะทางในรูปของ consortium
และได้ช่ ว ย ส ร้าง ค ว าม เชื่ อ ม โย ง ระห ว่ าง “ผู้ผ ลิต ” ก าลัง ค น แ ละ “ผู้ใช้ ” ก าลัง ค น
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
และยังมีการฝึกปฏิบัติในสภาพจริง เช่น การฝึกอบรมในสถานประกอบการ เป็นการฝึกคนให้มีความอดทน
มีเหตุผล สามารถทางานเป็นทีม
4. ความซื่อสัตย์สุจริต การพัฒนากาลังคนในรูปแบบ virtual education ทั้งทางอินเตอร์เน็ต
และเครือข่ายดาวเทียมเป็นการจัดการศึกษาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นจริยธรรม และคุณธรรม
ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ร ว ม ทั้ ง ก า ร ส ร้ า ง จิ ต ส า นึ ก ต่ อ สั ง ค ม ก ล่ า ว คื อ
ผู้ ที่ เ ข้ า ม า ร่ ว ม ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ซึ่ ง เ น้ น ก า ร ศึ ก ษ า ด้ ว ย ต น เ อ ง
เ ข้ า ม า เ พ ร า ะ ต้ อ ง ก า ร ติ ด ต า ม ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ เ พื่ อ ไ ป พั ฒ น า ต น เ อ ง
โดยเฉพาะผู้ที่ทางานแล้วต้องการนาความรู้ใหม่ไปพัฒนาการทางานของตนเอง และหน่วยงานโดยสมัครใจ
นอกจากนี้ ระบ บ ข องการจัดการศึกษาทั้งในรูป อินเตอร์เน็ต และเค รือข่ าย ดาว เที ย ม
มี ก า ร จั ด ก า ร ใ ห้ มี ก า ร ท า แ บ บ ฝึ ก หั ด แ ล ะ ท ด ส อ บ ต น เ อ ง
ที่สาคัญ การจัดให้มีประสบการณ์จริงโดยการฝึกงา นในโรงงาน สิ่งเหล่านี้ช่ วยฝึกคุณธรรม
และความซื่อสัตย์สุจริตไปโดยปริยาย
5. ความรอบรู้-รอบคอบ การพัฒนาคนตามแนวทางดังกล่าว ยังมีการสร้างประสบการณ์จริง
อีก ทั้ง ก ารจัดห ลัก สู ตรก ารเ รีย น ก ารส อน ก ารฝึ ก อบ รม ใน รูป web-based courses
นั้น ท าโด ย ใช้เท ค โน โลยีทั นสมัย ที่ เห ม าะส ม มีก ารก าห น ดที่ รูป แ บ บ ที่ เห ม าะส ม
จัด ท า ใน รู ป แ บ บ ที่ ผู้ เรีย น ส า ม า รถ เ ข้ า ถึง ได้ ส ะด ว ก แ ล ะ ป ร ะห ยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ย
ขณะที่ได้ความรู้อย่างถูกต้องและพอเพียง
6. ร ะ บ บ ภู มิ คุ้ ม กั น จ า ก ภ า ว ะ ผั น ผ ว น
เพื่อช่วยให้การพัฒนากาลังคนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีความเข้มแข็ง มั่นคง และยั่งยืน
จะมีการร่วมมือกันจัดตั้งเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อให้ผู้สนใจสามารถเลือกลงทะเบียนวิชาที่สนใจได้โดยไม่จา
กั ด เ ว ล า แ ล ะ ส ถ า น ที่
การที่จัดตั้งเป็นศูนย์ที่มีหลายฝ่ายช่วยกันนี้จะทาให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืนต่อภาวะผันผวนต่างๆ ได้
อีกทั้ง ในการจัดการศึกษาตามแนว เศ รษฐกิจพอเพีย งนั้น การจัดห ลักสูตรต่าง ๆ
จะมีการวางแผนล่วงหน้า กาหนดรูปแบบที่ชัดเจน และจัดหลักสูตรตามความต้องการของตลาด
เ พื่ อ ใ ห้ ทั น ต่ อ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง โ ล ก
แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ใ ช้ จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ดั ด แ ป ล ง ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ต ล อ ด
เพื่อให้สามารถยืนหยัดอยู่ได้สภาวะที่อาจเปลี่ยนแปลง
2 การพัฒนาด้านพลังงาน
เนื่ องจากป ระเท ศ ไท ย เป็ นป ระเท ศ เกษ ตรกรรมจึงมีแห ล่ง ชีว ม ว ล (Biomass)
อยู่มากมายดังนั้นการพัฒ นาด้านพลังงาน เพื่อให้เกิดค วามสามารถในการพึ่งพาตนเอง
ชี ว ม ว ล ใน ป ระ เท ศ ไท ย ส า ม า รถ น า ม า พั ฒ น า ใช้ ผ ลิต พ ลัง ง า น ได้ เป็ น อ ย่ า ง ดี
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
โดยเฉพาะวัสดุชีวมวลที่เหลือใช้จากอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ชานอ้อย แกลบ และกากผลปาล์ม เป็นต้น
ดังนั้นชีวมวลจึงนับเป็นพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพสูงที่จะนามาใช้ทดแทนการนาเข้าน้ามันเชื้อเพลิง
อันเป็นการช่วยลดการสูญเสียเงินตราสู่ต่างประเทศ
มิติด้านเศรษฐกิจ
การพัฒนาด้านเศรษฐกิจตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงนั้น
มีนักวิชาการทางด้านเศรษฐศาสตร์ของประเทศได้กล่าวถึงไว้ดังต่อไปนี้
1. การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจเปรียบเทียบกับความคุ้มค่า
การท าให้ เกิ ด ผล ได้ห รือ ผ ลป ระโย ช น์ ม าก ก ว่ าต้น ทุ น ที่ เสีย ไป ซึ่ง ก็ คือ
ความมีประสิทธิภาพ(Efficiency) นอกจากนั้นผลผลิตที่เกิดขึ้นต้องมีลักษณะทางกายภาพ คุณภาพ
ป ริมาณ ตรง ตามค ว ามต้อง การใน เว ลา และสถ าน ที่ที่ ต้อง การ ซึ่งก็ คือ ป ระสิท ธิผ ล
(Effectiveness)ห รื อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย มี ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ห รื อ ต้ น ทุ น ต่ า ที่ สุ ด
ให้ผลตอบแท นมากกว่าอัตราดอกเบี้ย และสัดส่วนข องผลประโยชน์มากกว่าต้นทุนซึ่งก็คือ
เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด ร ว ม ทั้ ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต้ อ ง มี ต้ น ทุ น
และผลประโยชน์ที่ใกล้เคียงกับห น่วยงานที่ใช้ท รัพยากร หรือมีขอบข่ายงานที่ใกล้เคียงกัน
ธุ ร กิ จ นั้ น จึ ง จ ะ อ ยู่ ไ ด้ ใน ร ะ ย ะ ย า ว นั่น คื อ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร แ ข่ ง ขั น
แต่ ก าร พิจ าร ณ า ทั้ง ห ม ด ต้อ ง ค านึ ง ถึง ส ภ าว ะแ ว ด ล้อ ม ทั้ ง ภ าย ใน แ ล ะภ าย น อ ก
รวมทั้งต้องป ระเมินหรือรับ ข้อคิดเห็น (Feedback) จากป ระช าชน ผู้ใช้บ ริการ ผู้เสีย ภาษี
หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด (Stakeholders)
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
จากหลักการของแนวคิดความคุ้มค่าดังกล่าว
สามารถพิจารณาเปรียบเทียบความแตกต่างและความเหมือนของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับหลักความคุ้
มค่าในด้านหลักการ แนวทางปฏิบัติและเป้าหมาย ได้ดังนี้
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
2. ปัจจัยของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ และเสถียรภาพ
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ส า คั ญ เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ข อ ง ป ร ะ ช า ช น
เพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตในระยะยาวอย่างมีคุณภาพตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยได้อธิบายผ่านมุมมองการบริหารจัดการปัจจัยทุน 4 ประเภท อันได้แก่ ทุนทางกายภาพ(Physical
Capital) ทุนมนุษย์ (Human Capital) ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) และทุนสังคม(Social Capital)
ซึ่งได้ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการปัจจัยทุนเหล่านี้เพื่อให้เกิดการเจริญเติบโ
ตอย่างมีคุณภาพ
1. ทุนกายภาพ และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ท ฤ ษ ฎี ก าร เ จ ริญ เ ติบ โต ใน ยุ ค ต้ น ๆ อ า ศั ย ทุ น ท าง ก า ย ภ า พ เ ป็ น ส า คั ญ
ซึ่งการสะสมทุนทางกายภาพให้เพีย งพอได้นั้น ต้องการเงินออมในป ระเท ศที่มากเพีย งพอ
แต่ในประเทศที่ยากจนประสบปัญหาเงินออมที่ไม่เพียงพอ และต้องตกอยู่ในวงจรอุบาทว์ของความยากจน
(Vicious Cycle of Poverty) ที่ มี ทั้ ง อุ ป ส ง ค์ แ ล ะ อุ ป ท า น ข อ ง ทุ น ที่ ต่ า
ท า ให้ ป ระ เ ท ศ ย าก จ น เ ห ล่ า นี้ ต้ อ ง พึ่ ง พ า ทุ น จ า ก ต่ า ง ป ร ะเ ท ศ ทั้ ง ใน รู ป เ งิน กู้
แ ล ะ เ งิ น ล ง ทุ น ท า ง ต ร ง ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
สามารถนามาใช้ได้โดย ตรงกับการบ ริหารเศ รษฐกิจเพื่อการเจริญ เติบโตอย่ างมีคุณภาพ
โดย ผ่านทุ นท างกาย ภาพนี้ โดย เฉพาะอย่ างยิ่งในเรื่อง ของการสะสมทุ นผ่านการออม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเน้นอย่างมากในการให้ประชาชนดาเนินชีวิตในทางสายกลาง
มีค ว ามพอป ระมาณ และมีภูมิคุ้มกันที่ดี ดังนั้นป ระช าช นจะต้องเริ่มที่จะพึ่งพ าตนเอง
ซึ่งเป็นลักษณะสาคัญที่ประชาชนในประเทศยากจนส่วนใหญ่ไม่มี โดยการพึ่งพาตนเองได้นี้เกิดจากปลูกพืช
และเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภคภายใต้การทาเกษตรผสมผสาน และเมื่อผลผลิตมีมากพอจึงนามาแปรรูป
หรือทาการขาย แทนที่จะมุ่งหวังที่จะทาการเกษตรเพื่อการค้าขาย (Cash crop or Mono crop)
เพียงชนิดเดียว ซึ่งมีความเสี่ยงในเรื่องความผันผวนด้านราคา อันก่อให้เกิดภาระหนี้สินที่ยากจะปลดได้
ดังนั้นหากประชาชนมีการพึ่งพาตนเองได้ สามารถค้าขายผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคได้
และมีการใช้จ่ าย อย่ าง พ อป ระม าณ รู้จักเก็ บ ออมเพื่ อส ร้าง ภู มิคุ้มกั นให้ กั บ ต นเอ ง
เราก็จะพบว่าประชาชนมีความสามารถสร้างเงินออมหรือมีการสร้างเงินทุนที่จะนาไปช่วยสร้างความเจริญเติ
บโตในท้องถิ่นได้
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
2. ทุนมนุษย์และการเจริญเติบทางเศรษฐกิจ
แนวคิดเกี่ยวกับการเจริญเติบโตได้พัฒนาจากแนวคิดที่ว่าประเทศจะมีการเจริญเติบโตในระยะยาวไ
ด้โดยอาศัยการเจริญทางเทคโนโลยี ซึ่งเป็นการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจผ่านตัวแปรด้านทุนมนุษย์ ซึ่ง
ในภาคเศรษฐกิจนั้น สามารถเพิ่มพูนได้โดยการเรียนรู้จากการทางาน (Learning-by-doing)
และเมื่อทุกมนุษย์เหล่านี้เพิ่มพูนขึ้นเรื่อยๆ
ก็จะส่งผลให้การสะสมทุนมนุษย์ของระบบเศรษฐกิจโดยรวมมีมากขึ้น และก่อให้เกิด
ผลกระทบเชิงบวกต่อการเจริญเติบโตของประเทศ
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
3. ทุนธรรมชาติและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
อีก ปั จ จั ย ที่ ส า คั ญ ม า ก ต่ อ ก า ร เ จ ริญ เ ติ บ โ ต คื อ ทุ น ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ
ห รื อ ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ
ซึ่งเป็ นที่ ท ราบ กั นดีว่ าป ระเท ศ ที่มีการใช้ท รัพย าก รธรรม ช าติอย่ างม ากเกิ นสมดุ ล
จะส่ ง ผ ล ให้ ท รัพ ย าก รธ รรม ช าติที่ มีอ ยู่ ห ม ด ไป ทั้ ง ยั ง ส่ ง ผ ล ร้าย ต่ อ สิ่ง แ ว ด ล้อ ม
ส ร้ า ง ม ล พิ ษ ซึ่ ง ใ น ที่ สุ ด จ ะ ส่ ง ผ ล ร้ า ย ก ลั บ ม า ยั ง ป ร ะ ช า ก ร
ปรัช ญ าของเศรษฐกิจพอเพีย งให้คว ามสาคัญ มากในเรื่องการรักษาคุณภาพสิ่งแว ดล้อม
และทรัพยากรธรรมชาติภายใต้หลักการ ความพอประมาณความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกัน
หากป ระช าช นในทุ กภาคส่วน รว มทั้งภาครัฐ และเอกช นมีเห ตุผลในการใช้ท รัพย ากร
ก็ จ ะ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ เ ชิ ง ล บ ที่ มี ต่ อ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ต น เ อ ง
หากมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมากเกินไป เกิดมลภาวะและมีการทาลายสิ่งแวดล้อม
และเมื่อประชาชนคานึงถึงผลดังกล่าวจะรู้จักบริหารจัดการ และใช้ทรัพยากรอย่างพอประมาณ
ภาย ใต้ห ลักการสร้างภูมิคุ้มกัน นอกจากจะท าให้ป ระช าช นไม่ท าลาย สิ่งแวดล้อมแล้ว
ยังจะช่วยกันอนุรักษ์และเพิ่มพูนทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเอาไว้เพื่อใช้ต่อไป และเพื่อลูกหลานในอนาคต
ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะช่วยรักษาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีของคนในสังคมอย่างยั่งยืน
4. ทุนสังคมและการเจริญเติบทางเศรษฐกิจ
ทุนทางสังค ม เป็ นปัจจัยที่สาคัญ อีกป ระการหนึ่งต่อการเจริญ เติบ โตท างเศ รษฐกิจ
ที่ นั ก เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ใ ห้ ค ว า ม ส น ใ จ ม า ก ขึ้ น
โดย งานวิจัย ได้แสดงผลกระท บ ข อง ทุ นสังค มต่ออัตราการเจริญ เติบ โตท าง เศ รษฐกิจ
โดยใช้คุณลักษณะของทุนสังคม 2 ประการ อันได้แก่ “TRUST” ซึ่งวัดความไว้วางใจกันของคนในสังคม และ
“CIVIC”ซึ่งเป็ นตัว แท นการเป็ นค นดีของสังค ม เช่ น การจ่ายภาษี จากการศึกษาพบ ว่ า
ทุนสังคมทั้งสองมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่ออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีนัยสาคัญ
แล ะ ยั ง พ บ ว่ าผ ล ก ร ะท บ ข อ ง ทุ น สัง ค ม ที่ มีก าร เจ ริญ เ ติบ โต ท าง เศ รษ ฐ กิ จ นั้ น
จะมีในระดับ ที่ สูง กว่ าในป ระเท ศ ย ากจน เห ตุผลป ระการห นึ่งคือ ใน ป ระเท ศ เห ล่านี้
ระบบสถาบันอย่างเป็นทางการเช่น ระบบกฎหมาย ระบบการเงิน และสิทธิการครอบครองนั้นยังไม่เข้มแข็ง
ห รื อ ข า ด ห า ย ไ ป TRUSTห รื อ ค ว า ม ไ ว้ ว า ง ใ จ กั น ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม
จึ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ ม า ก ต่ อ ก า ร ท า ธุ ร ก ร ร ม ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
จึงแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กันของปัจจัยทั้งสองอย่างชัดเจน
ห ลั ก ก า ร ภ า ย ใ ต้ ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง นั้ น
มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ ถื อ ได้ ว่ า เ ป็ น ทุ น สั ง ค ม ที่ ผู ก ติ ด กั บ วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม
ซึ่ ง จ ะ ช่ ว ย ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด ธุ ร ก ร ร ม ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
โดยหลักการของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เห็นได้ชัดเจนที่จะช่วยส่งเสริม ได้แก่ หลักคุณธรรม
วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้
อาทิ เช่ น ค ว ามซื่ อสัตย์ ซึ่ง นับ ได้ว่ าเป็ น TRUST ดัง นั้นห ากในสัง ค มมีค ว ามซื่อสัต ย์
ก็จะทาให้คนในสังคมมีความไว้วางใจกัน เชื่อถือกัน ความไว้ใจนี้จะช่วยส่งเสริมธุรกรรมทางเศรษฐกิจ
โดยเฉพาะในท้องถิ่นที่ระบบสถาบันกฎหมาย สถาบันการเงิน และการประกันภัยขาดหายไป
หรือไม่เข้มแข็งพอ ขจัดปัญหานักแสวงหาผลประโยชน์ และปัญหาข้อมูลไม่เท่าเทียมกันให้หมดไป
นอกจากนี้หากประชาชนยึดมั่นในหลักคุณธรรม เช่น มีความซื่อสัตย์ คิดเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
และ แบ่ งปัน กัน ก็จ ะเป็ น หั ว ใจสาคัญ ใน การสร้าง ระบ บ สถ าบั นอย่ างเป็ น ท าง ก าร
ห รื อ ทุ น สั ง ค ม ภ า ค รั ฐ ที่ เ ข้ ม แ ข็ ง มี ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล
ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ประเทศมีการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ
3. การพัฒนาเศรษฐกิจแบบพหุกิจกรรม หรือพหุผลิตภัณฑ์
รูป แ บ บ แ ล ะวิ ธีป ฏิ บั ติ ต าม แ น ว ท า ง ข อ ง ป รัช ญ าเ ศ ร ษ ฐกิ จ พ อ เพี ย ง นั้ น
เป็นการส่งเสริมให้เกิดการบริโภค และการค้าในรูปแบบของเศรษฐกิจแบบพหุกิจกรรม หรือพหุผลิตภัณฑ์
(Multi-Activities or Multi-Products) ซึ่ง ท า ให้ มีก ารห มุ น เวี ย น ข อ ง ท รัพ ย า ก ร แ ล ะวัต ถุ
จากกิจกรรมห นึ่งไป สู่กิจกรรมอื่นๆ โดย เป็ นการจัดการให้มีการใช้ป ระโยช น์ท รัพยากร
และวัตถุที่มีอยู่ในระบบให้มากที่สุด เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ โดยระบบหมายถึง
องค์ประกอบ 5 ส่วนได้แก่ ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) ของเสีย (Waste)
และการป้อนกลับเพื่อตรวจสอบ (Feedback) เมื่อวิเคราะห์ด้วยแบบจาลองตารางปัจจัยการผลิต และผลผลิต
ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้จาลองหลักการพื้นฐานของวิชาการเศรษฐศาสตร์ คือ ดุลยภาพระหว่างอุปทาน
และอุปสงค์ ระหว่างผลิตกับขาย ระหว่างรายรับและรายจ่าย และระหว่างส่งออกและนาเข้า
โดยเมื่อพิจารณาตามหลักเศรษฐกิจ 3 ข้อ แล้วแสดงให้เห็นผลดังต่อไปนี้
พ อ ป ร ะ ม า ณ ห ม า ย ถึ ง เ งื่ อ น ไ ข ข อ ง ดุ ล ย ภ า พ
ที่เกิดจากสมดุลระหว่างอุปสงค์กับอุปทานระหว่างรายได้กับรายจ่าย และระหว่างส่งออกกับนาเข้า หลักการ
“พ อป ระมาณ ” ท าให้ เกิ ด เงื่อ นไข สมดุ ล จึง ท าให้ เกิด เสถีย รภ าพ และค ว ามมั่น ค ง
ความล้มเหลวในการสร้างสมดุลทาให้สูญเสียเสถียรภาพ หรือสูญเสียความมั่นคง
มีเหตุผล หมายถึง การวิเคราะห์โครงสร้างของธุรกิจ เพื่อทาความเข้าใจข้อจากัด
แ ล ะ ใ ช้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ นี้
สร้างกิจกรรมการผลิตที่เป็ นเครือข่ายเกื้อกูลกันและกันทาให้มีกิจกรรมการผลิตหลายด้าน
ทาให้สามารถอุดช่องโหว่ของธุรกิจได้ ซึ่งตรงข้ามกับการมีการผลิตที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เช่น ธุรกิจโรงแรม
เชื่อมโยงกับธุรกิจโรงกลึงได้ยาก
มีภูมิคุ้มกัน หมายถึง มีการผลิต กิจกรรมหลายด้านที่เกื้อกูลกัน เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย
และประโยชน์ที่จะได้รับ คือ มีความสามารถในการหลีกเลี่ยงวิกฤติที่เกิดขึ้นจากภายนอก ประหยัด มั่นคง
และแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
SufficiencyeconomyIct Krutao
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 

Was ist angesagt? (19)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
002
002002
002
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 

Ähnlich wie กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKanyakon
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมjirapom
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 

Ähnlich wie กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
กลไกสังคม
กลไกสังคมกลไกสังคม
กลไกสังคม
 
5
55
5
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp
PpPp
Pp
 

Mehr von freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

Mehr von freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง

  • 1. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน มิติด้านสังคม เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการสร้างเกราะคุ้มกันให้กับชุมชน ทั้งจากวิกฤติจาก “ภายใน”และ “ภายนอก” ถ้าหากว่าเรายึดปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงอยู่เสมอ เราจะไม่มีโอกาสเจอกับวิกฤติภายใน ส่วนวิกฤติจากภายนอกเราก็สามารถควบคุมได้เช่นกัน เพราะหากเรายึดถือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว เราก็จะไม่หลงระเริงไปกับกระแสเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ไม่ฟุ้งเฟ้อไม่ติดกับดักบริโภคนิยม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง จึ ง เ ป็ น เ ส มื อ น ก า ร ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น ให้ กั บ ตั ว เ อ ง และยังเป็นส่วนสาคัญ ที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒ นาที่ยั่งยืนของสังคมในระดับประเทศโดยรวม แ ล ะ ยั ง ข ย า ย ไ ป สู่ ร ะ ดั บ โ ล ก ด้ ว ย จะพบว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องที่ชุมชนทั่วโลกได้นาเอาไปใช้อย่างกว้างขวาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการผสมผสานปรัชญาในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในมิติใหม่ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ เ พื่ อ ไ ม่ ให้ สั ง ค ม ต้ อ ง เ อ น เ อี ย ง ไ ป ใน ท า ง ใด ท า ง ห นึ่ ง เป็นการถ่วงดุลทางความคิดที่ทาให้สังคมต้องหันกลับมาใช้สติปัญญา และเหตุผลเพื่อการตัดสินใดๆ อ ย่ า ง ส ม ดุ ล ม า ก ขึ้ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร น า ป รัช ญ า แ น ว คิ ด ต ะ วั น อ อ ก ดั ง เช่ น ฐานวัฒนธรรมประเพณีแห่งการประนีประนอมบนทางสายกลางของสังคมไทยที่มีอยู่อย่างมากมายในอดีต มาใช้ประโยชน์ในปัจจุบันให้มากขึ้น ซึ่งแนวคิดที่ตั้งอยู่บนฐานการประนีประนอม ความสมดุล และค วามยั่ง ยืนบ น ท าง สาย กลางนั้น มีอยู่ มากมาย ในป ระเท ศ ที่ กาลังพัฒ นาใน โลก ห ากน ามาพัฒ นาเลือกใช้โดย ผสมผสาน กับ แนว คิดการ พัฒ นาสมัย ให ม่ให้ เห มาะสม ก็ อาจ จ ะเป็ น ส่ ว น ผ สม ที่ ล ง ตัว เฉ พ า ะตัว แ ละเ ป็ น อัต ลัก ษ ณ์ ข อ ง แ ต่ ละ ป ระ เท ศ ที่สามารถมีแนวทางการพัฒนาของตนเองได้ ไม่ต้องเลียนแบบแนวทางการพัฒนาแบบใช้ระบบตลาดนา ซึ่ง สร้าง ข้ อ ด้อย ใน ก าร แข่ ง ขั น ส าห รับ ป ระเท ศ ที่ ก าลัง พัฒ น าเ ห ล่ านี้ ใน ระย ะสั้น และเป็นผลให้เกิดความไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ หรือไม่สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างแท้จริง แบ่งเป็น 2 หัวข้อ ดังนี้ 1. การพัฒนาทางสังคมสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข 2. แนวทางการพัฒนาอย่างเป็นระบบองค์รวม การพัฒนาทางสังคมสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข แน ว ท าง ใน ก าร ป รับ เ ป ลี่ย น วิ ถีก า รผ ลิต ด้ว ย ป รัช ญ าเ ศ รษ ฐกิ จ พ อเ พีย ง เพื่อนามาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า โดยเปรียบเทียบรายได้จากวิถีการผลิตด้านต่างๆ ของเกษตรกร กับค่าใช้จ่ายแล้วพบว่าไม่เพียงพอ ทาให้เกษตรกรมีหนี้สินจากแหล่งเงินกู้ต่างๆ ทั้งในระบบ และนอกระบบ ส่งผลให้คุณ ภาพชีวิตต่า และเป็ นสาเห ตุห นึ่งให้เกิดก ารบุ กรุก ที่ป่ าเพื่อเพิ่มพื้นที่ท ากิน
  • 2. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ โดยเชื่อว่าจะนามาซึ่งรายได้ที่มากขึ้น ทั้งที่ทราบดีว่ามีผลต่างทางการผลิตไม่มาก อีกทั้งยังหาทางออกอื่น เ ช่ น ก า ร เ ข้ า ไ ป เ ก็ บ ข อ ง ป่ า ตั ด ไ ม้ ล่ า สั ต ว์ เ พื่ อ เ ป็ น อ า ห า ร แ ล ะ ยั ง ชี พ ส่งผลให้เกิดภาวะความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติขยายวงกว้างออกไปอีกจากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้ นเป็ นวัฎ จัก รดัง กล่าว จึงจาเป็ นต้อง เป ลี่ย นแป ลงโดย นาเอารูป แบ บ “ท ฤษฎี ให ม่ ” อันเป็ นแนว ท างการป ฏิบัติที่เป็ นรูป ธรรมตามแนว คิดป รัช ญ าข อง เศ รษฐกิจพอเพีย ง ที่จะใช้เป็ นแนวท างในการเป ลี่ย นแป ลงสังคมชนบ ทให้ก้าวไป สู่สิ่งที่ดีกว่า จากจุดเล็กๆ ซึ่งหากพิจารณาในภาคเกษตรกรรมการเริ่มต้นที่ฐานการผลิตต้องสอดคล้องกับความเป็นจริงของแต่ละพื้นที่ และสร้าง กลุ่มเพื่อให้เกิดพลังในการเป ลี่ย นแป ลงในลักษ ณ ะข องการร่ว มคิด ร่วมท า ไปสู่การขยายเครือข่ายระหว่างกลุ่มและสร้างพันธมิตรกับกลุ่มอาชีพอื่นในการหนุนช่วยการผลิต แ ล ะก า รจ า ห น่ าย ให้ กั บ ก ลุ่ ม ก ระ บ ว น ก าร ข อ ง ท ฤ ษ ฎี ให ม่ ทั้ ง 3 ขั้ น ต อ น นั้ น เริ่มจากการปฏิบัติในวิถีการผลิตที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ภูมิปัญญ าท้องถิ่น วัฒนธรรม โดยใช้กระบวนการวิจัยและการส่งเสริมทางการเกษตรเป็นกลไกช่วยในการสร้างคุณภาพของการปฏิบัติ เ ส ริ ม ด้ ว ย ก า ร เ พิ่ ม มู ล ค่ า ใ ห้ กั บ ผ ล ผ ลิ ต ด้ ว ย ก า ร แ ป ร รู ป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ภ า ย ใ ต้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ่ ม ที่ มี ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ที่ ดี มีก ารข ย าย เค รือข่ าย เ พื่ อ เสริม พ ลัง ใน ก ารเ ป ลี่ย น แป ลง สู่คุ ณ ภ าพ ชี วิต ที่ ดีก ว่ า รวมทั้งสร้างพันธมิตรจากภาคส่วนอื่นเพื่อสนับสนุนการตลาดที่ยุติธรรม ตลอดจนการพัฒนาชุมชน โดยมีปลายทางที่การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และเกิดสังคมอยู่เย็นเป็นสุข แต่ในบางกรณี อาทิเช่น การผลิตข้าวโพดบนพื้นที่สูงของเกษตรกร ต .ห ลักด่านนั้น ต้องประสบปัญหากับต้นทุนการผลิตที่สูง แต่มีรายได้ต่า เนื่องจากไม่สามารถควบคุมปัจจัยการผลิต
  • 3. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ และการตลาดได้ รวมทั้งเกษตรกรเอง ไม่มีการรวมกลุ่มในการดาเนินกิจกรรมกาผลิต ห รือแป รรูป ผลิตผลท างการเกษตร ท าให้ไม่อาจมีอานาจในการต่อรองได้อย่ างสิ้นเชิง ดังนั้นจึงจาเป็ นต้องแสวง ห าแนว ท างให ม่ในการผ ลิตที่ ลดพื้นที่ การผลิตให้ น้อย ที่ สุด แ ต่ มี ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ผ ลิ ต สู ง ก ว่ า เ ดิ ม ภ า ย ใต้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ นั ก วิ ช า ก า ร รว มไป ถึงการจัดตั้งกลุ่มเพื่ อจาห น่ าย ผลิตผลท าง การเกษ ตร การแป รรูป ผลิตภัณ ฑ์ การหนุนให้พื้นที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวซึ่งจะส่งผลดีต่อเกษตรกรในการเพิ่มรายได้ทางการผลิต การมีสุขภาพดีจากการไม่ทางานหนักเกินไป และไม่เสี่ยงต่อการใช้สารเคมีไม่ถูกวิธี ซึ่งจะทา ให้ มี เ ว ล า พ อ ใ น ก า ร ท า นุ บ า รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ เ พ ณี ท า ง ศ า ส น า อันเป็นพื้นฐานที่สาคัญในการสร้างความอบอุ่นในครอบครัวและที่สาคัญเป็นการคืนพื้นที่ให้กับธรรมชาติที่เป็ นแหล่งอาหาร และเป็นประโยชน์ในการรักษาสภาพแวดล้อมต่อส่วนรวม การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต การดาเนินการควรเริ่มต้นที่การผลิต ภายใต้เงื่อนไขที่เหมาะสมกับฐานทรัพยากร มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และได้รับการยอมรับจากเกษตรกร ภาย ใต้การผลิต และการส่งเสริมการเกษตรรูป แบ บ ให ม่ ค วรมีการแป รรูป ผลิตภัณ ฑ์ เ พื่ อ ยื ด อ า ยุ ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า เ พิ่ ม มู ล ค่ า ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ และลดความผันผวนของราคานอกจากนี้ยังต้องให้ความสาคัญกับภาคการตลาด ซึ่งแนวทางการดา เนินงานค วรมีกระบ วนการพัฒ นาวิสาหกิจชุ มชน มีการวางแผนทั้งอุป สงค์ และอุป ท าน สามารถสร้างการต่อรองในกลไกราคาได้ 2. แนวทางการพัฒนาอย่างเป็นระบบองค์รวม การพัฒนาที่มิได้มุ่งเน้นเงินเป็นใหญ่กาไรสูงสุดตามแนวทางระบบทุนนิยม หากแต่มุ่งเน้นที่การพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีทั้งทางเศรษฐกิจสังคมที่เชื่อมโยงวัฒนธรรม
  • 4. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ แบบแผนการบริโภค โดยภายใต้ปรัชญาดังกล่าวสามารถสรุปหลักใหญ่สาคัญ 3 ประการ อันเป็นจุดเน้นที่สาคัญได้แก่ 1. ความสมดุล ผลสืบเนื่องจากการพัฒนาอาจกล่าวได้ว่าทาให้บริบทต่างๆในสังคมเสียสมดุล ไม่ว่าจะเป็นภาวะทางป ระชากรที่มีการอพยพห ลั่งไหลเข้ามาท างานในเมืองของคนชนบ ท ก่อให้เกิดปัญหาการกระจายตัวทางประชากรและปัญหาต่างๆมากมายเช่น ขาดกาลังแรงงานภาคชนบท ภ า ว ะ ล้ น เ กิ น ข อ ง แ ร ง ง า น ร า ค า ถู ก ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม สภาวะด้านสิ่งแวดล้อมที่มีการนาทรัพยากรทางธรรมชาติมาให้เพื่อการพัฒนาอันเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ระบ บ นิเว ศ ข องไท ย เป ลี่ย นแป ลง ไป ไม่ว่ าจะเป็ นเรื่องภูมิอากาศ ที่ อยู่ อาศัย ข องสัตว์ป่ า และการสูญ พันธุ์ข องสัตว์บ างช นิด ภาว ะเสีย สมดุลดัง กล่าวเป็ นสิ่ง ที่อาจแก้ไข ได้ยาก และอาจแก้ไม่ได้เลยหากทิศทางการพัฒนาประเทศยังคงมุ่งเน้นที่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ห รื อ ทุ น นิ ย ม พั ฒ น า ก า ร (Advanced Capitalism) การพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงจึงให้ความสาคัญต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ตามสภาพแวดล้อมที่ เป็นอยู่จริง โดยเน้นที่ความสาคัญของภูมิปัญญ าพื้นบ้านในการประกอบอาชีพที่ไม่ซับซ้อน เ น้ น ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั บ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ เ ช่ น ก า ร ท า เ ก ษ ต ร ผ ส ม ผ ส า น ต า ม แ น ว ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาที่สามารถปฏิบัติได้จริงบนพื้นฐานบริบทสังคมไทยคือภาคเกษตรกรรม เป็นการสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้นจากความแตกต่างของช่องว่างการพัฒนาระหว่างเมืองและชนบท จัดเป็นวิถีทางประการหนึ่งในการสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตและความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นกล่าวคือเ ป็ น ก า ร ผ ลิ ต ที่ เ น้ น ก า ร บ ริ โ ภ ค ก่ อ น ที่ จ ะ น า ไ ป ข า ย มี กิ น มี ใ ช้ ให้สามารถอยู่รอดได้โดยมิต้องพึ่งพาความช่วยเหลือจากภายนอก 2 ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ก า ร พั ฒ น า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ท า ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ยิ่ ง พั ฒ น า ช่ อ ง ว่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ค น ร ว ย แ ล ะ ค น จ น ก็ ยิ่ ง ข ย า ย ตั ว ม า ก ขึ้ น เนื่องจากมีการสูบ ท รัพยากรจากช นบ ท มาใช้เพื่อการพัฒ นาเมืองและภาคอุตสาห กรรม แม้ว่าจะมีการเรียกร้องสิทธิของชุมชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นเรื่องทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่น อันเป็นการช่วงชิงวาทกรรมระหว่างกระแสท้องถิ่นนิยม (Localization) และกระแสโลกาภิวัฒ น์ (Globalization) เพื่อให้ตัวตนของท้องถิ่นปรากฎชัดเจนยิ่งขึ้นอันเป็นเงื่อนไขที่จาเป็น (Necessary Condition) แต่ก็ไม่เพียงพอเนื่องจากระบบคุณค่าในสังคมตลอดจนวัฒนธรรมและแบบแผนทางพฤติกรรมได้ถูกกลืนกล ายจากกระแสโลกาภิวัฒน์ให้เกิดภาวะการแข่งขันและการแย่งชิงสูงภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง การพลิกฟื้นสังคมไทยจึงเริ่มจากการสร้างคุณค่าเชิงอุดมการณ์ (Ideological Value) ระบบคุณค่าต่างๆ ในสังคม เพื่อนาพาสังคมให้ตระห นักรู้เท่าทันกระแสการพัฒนา ประเด็นเรื่องความพอเพียง จึ ง เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ตุ้ น เ ตื อ น ให้ เ กิ ด ส ติ ค ว า ม ยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใ จ ใ น ก า ร เ ลื อ ก /
  • 5. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ ตั ด สิ น ใ จ ที่ จ ะ ด า เ นิ น ชี วิ ต ด้ ว ย ค ว า ม ร ะ แ ว ด ร ะ วั ง รู้เท่ าทั นกระแสการเป ลี่ย น แป ลงเข้ าใจถึง ค ว ามห ม าย ข อง ก ารใช้ห รือการบ ริโภ ค การแสวงหาหรือการทามาหากินที่ไม่เอารัดเอาเปรียบทั้งต่อมนุษย์ด้วยกันและธรรมชาติบนพื้นฐานของควา ม พ อ ดี ค ว า ม พ อ เ พี ย ง จึ ง มี นั ย ย ะ ข อ ง ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง รู้ จั ก สั ง ค ม เข้าใจถึงสารัตถะของการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ ไม่เอาเปรียบเบียดเบียนกันการรู้จัก “พอ” จึงเป็นหนทางหนึ่งในการดับทุกข์ ช่วยให้ไม่ลุ่มหลงในกิเลสและอบายต่างๆ จากความอยากได้ อยากเป็น อ ย า ก มี เ ฉ ก เ ช่ น ผู้ อื่ น ห ลั ก ค ว า ม พ อ เ พี ย ง จึ ง เ ป็ น แ น ว ท า ง แ ห่ ง สั น ติ วิ ถี เป็นสันติวัฒนธรรมที่จะช่วยธารงสังคมให้ผาสุก 3. ค ว า ม ยั่ ง ยื น บทเรียนที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาประเทศที่ผ่านมาทาให้เกิดคาถามเกี่ยวกับการพัฒนาที่ต้องนาไปสู่ความยั่ง ยื น ท า ให้ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ไ ด้ ถู ก น า ไ ป ผ น ว ก กั บ ก า ร พั ฒ น า ใน ด้ า น ต่ า ง ๆ เหตุผลสาคัญประการหนึ่งก็คือมีแนวคิดที่ว่าการพัฒนาต้องเป็นการพัฒนาที่คานึงถึงลูกหลานหรือคนรุ่นต่อไ ป ที่ พ ว ก เ ข า / เธอเหล่านั้นก็มีสิทธิที่จะใช้หรือครอบครองทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ต่างไปจากคนรุ่นปัจจุบันแนวทางของคว ามยั่งยืนจึงถูกนาเสนออย่างเป็นรูปธรรม กล่าวคือหากต้องการให้เกิดความยั่งยืนในการพัฒนาแล้ว วิธีการพัฒนาต้องเป็นการสร้างการพึ่งตนเองได้ คือสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชน และชุมชน อั น เ ป็ น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง จ า ก ภ า ย ใ น มิใช่รอคอยการพัฒนาจากภายนอกเพียงอย่างเดียวซึ่งหากชุมชนมีความเข้มแข็งหรือยืนหยัดอยู่ได้แล้ว ค ว า ม รู้ สึ ก ใ น ก า ร เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง (Sense of Belonging) จะทาให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาจนนาไปสู่ความยั่งยืนในที่สุดตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเ พียงได้ชี้ให้เห็นว่าการพัฒนาตามแนวทางดังกล่าวมิได้เป็นการสร้างวาทกรรมหรือการสร้างความรู้สึกว่าด้อย พั ฒ น า ต้ อ ง พั ฒ น า ใ ห้ เ ท่ า ทั น ต า ม อ า ร ย ป ร ะ เ ท ศ หากแต่เป็นการพัฒนาบนพื้นฐานแห่งตัวตนและเอกลักษณ์ตามบริบทที่แตกต่างกันไป ซึ่งในท้ายที่สุดแล้ว ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ห ล า ก ห ล า ย ดั ง ก ล่ า ว จ ะ เ ป็ น ส่ ว น เ ติ ม เ ต็ ม ให้ แ ก่ กั น แ ล ะ กั น มุ่งเน้นที่ความหลากหลายของพลังชุมชนเพื่อหนุนเสริมชุมชนให้เกิดการถักทอในการพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดี อันเป็นภูมิคุ้มกันทางสังคมประการหนึ่งที่มิต้องรอคอยคาตอบหรือการชี้นาจากภายนอก มิติด้านสิ่งแวดล้อม ก า ร พั ฒ น า ท า ง ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม นั้ น เป็นอีกมิติหนึ่งที่มีความสาคัญโดยมีการพยายามเชื่อมโยงการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามมิติของสิ่งแวดล้อม ไว้ดังนี้
  • 6. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ 1. การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม โดยหลักการสมดุลมวล และระบบนิเวศอุตสาหกรรม ก า ร พิ จ า ร ณ า ว่ า มี ม ว ล ส า ร เ ข้ า แ ล ะ อ อ ก อ ย่ า ง ล ะ เ ท่ า ไ ร แ ล ะ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ป ริ ม า ณ ข อ ง ม ว ล ส า ร ภ า ย ใน ร ะ บ บ เ ป็ น อ ย่ า ง ไ ร นามาเป็นหลักการในการวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจพอเพียงในมิติทางด้านสิ่งแวดล้อม แนวคิดพื้นฐานข องการวิเค ราะห์นี้อยู่ บ นการมองว่า “ระบ บ เศรษฐกิจพอเพียง ” เป็นการจัดการธุรกิจที่ช่วยให้มีการหมุนเวียนขยะ และมลภาวะกลับเข้าสู่กระบวนการผลิต ทาให้ไม่มีการปล่อยทิ้งขยะ และมลภาวะออกสู่สิ่งแวดล้อม หรือมีการปล่อยทิ้งน้อยลง ซึ่งการปล่อยทิ้งขยะ แ ล ะ ม ล ภ า ว ะ อ อ ก สู่ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ ป็ น ผ ล ใ ห้ เ สี ย ส ม ดุ ล ข อ ง ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ห รือท าให้ระบ บ นิเว ศ ป รับ สมดุ ลแต่ กลาย เป็ นผ ลเสีย ห รือเป็ นอัน ตราย ต่ อมนุ ษ ย์ การจัดการสิ่งแวดล้อมในระบ บ เศ รษฐกิจพอเพียง จึงเป็ นกระบ วนการที่เค ลื่อนเข้าใกล้ หรืออยู่ในทิศทางเดียวกันกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมของระบบนิเวศซึ่งเป็นระบบที่ไม่มีการปล่อยของเสี ย (Zero waste) 2. เศรษฐกิจพอเพียงกับภาวะโลกร้อน สภ าว ะ โลก ร้อ น เป็ น เรื่ อง ที่ ได้รับ ก า รก ล่าว ถึง อย่ าง ก ว้ าง ข ว าง ใน ปัจ จุบั น ซึ่ง ได้มี ผู้ ก ล่ า ว ถึ ง แ ล ะ วิ ภ า ค ส า เ ห ตุ ข อ ง เรื่ อ ง ดั ง ก ล่ า ว ไว้ ด้ ว ย กั น ห ล า ย อ ย่ า ง โ ด ย มี ผู้ อ ธิ บ า ย ค ว า ม เ ชื่ อ ม โ ย ง ข อ ง ปั ญ ห า ดั ง ก ล่ า ว กับการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมดังกล่าวโดยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไว้ดังนี้ สาเหตุของภาวะโลกร้อนว่ามีต้นเหตุสาคัญมาจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่อิงกับอุตสาหกรรมเป็น หลัก อันเป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนรากฐานของความไม่พอเพียง การขยายตัวของชุมชนเมืองสมัยใหม่ ก า ร ข ย า ย ตั ว อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว แ ล ะ ก า ร บ ริโภ ค อ ย่ า ง ฟุ้ ง เ ฟ้ อ ข อ ง ชุ ม ช น เ มื อ ง อัน เป็ น ปัจ จัย สา คัญ ที่ ก ระ ตุ้น ให้ เกิ ด ก ารเบี ย ด เบี ย น สิ่ง แว ด ล้อ ม อย่ าง เ กิ น พ อ ดี อันนามาซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนในที่สุดวิกฤติโลกร้อนในปัจจุบันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการปล่อยก๊าซเรือนก ระจก ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นกิจกรรมที่มีความเกี่ยวพันกับ การขยายตัวของชุมชนเมืองสมัยให ม่ โดยสัญญาณแห่งวิกฤติครั้งนี้ ได้เริ่มแสดงตัวออกมาอย่างต่อเนื่องหลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นต้นมา คู่ ข น า น กั บ ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง ชุ ม ช น เ มื อ ง ส มั ย ใ ห ม่ สถานการณ์ภาวะโลกร้อนในแต่ละช่วงเวลาจึงสัมพันธ์กับการขยายตัวของชุมชนเมืองในแต่ละยุคสมัยโดยเป้ าหมายหลักของเศรษฐกิจระบบพอเพียงนี้คือ การผลิตเพื่อให้พอเพียงแก่ตัวเองก่อนเป็นลาดับแรก จากนั้นจึงค่อยนาส่วนที่เกินความต้องการมาแลกเปลี่ยนกับภายนอก โดยมีระบบความคิดเรื่อง “ความพอเพียง” เป็นตัวคอยควบคุมไม่ให้มีความต้องการที่มากจนเกินจาเป็น นามาสู่วิถีชีวิตที่เรียบง่าย มี ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ใ น ก า ร บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ส า ม า ร ถ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ ซึ่งสามารถสรุปเป็นคุณลักษณะเฉพาะของความพอเพียงได้ 2 ประการดังนี้
  • 7. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ 1. ก า ร พั ฒ น า ต า ม ล า ดั บ ขั้ น โดยต้องเริ่มการพัฒนาจากความจาเป็นขั้นพื้นฐานเป็นอันดับแรกก่อนที่จะพัฒนาในความจาเป็นขั้นสูงต่อไป ความพอเพียงจะเกิดขึ้นจากการได้รับการสนองความต้องการในแต่ละลาดับขั้นในระดับที่พอดีกับความต้อง การ 2. มีการพัฒนาจากภายในสู่ภายนอก โดยมุ่งเน้นการพัฒนาที่มาจากภายในตนเอง แ ล ะ ก า ร พึ่ ง พ า ต น เ อ ง (Self-reliance) เ ป็ น อั น ดั บ แ ร ก แ ล ะ มี ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น กั บ ผู้ อื่ น ส า ห รั บ สิ น ค้ า ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต เ อ ง ไ ด้ โดยให้ค วามสาคัญ กับ ห น่วย ที่อยู่ ใกล้ตัวเป็ นลาดับ แรกและต่อเนื่องกันไป สู่ห น่ วยอื่น ๆ ที่ ห่ า ง อ อ ก ไ ป ต า ม ล า ดั บ ส่งผลให้แต่ละหน่วยการผลิตสามารถมีอานาจในการกาหนดทิศทางพัฒนาด้วยตนเองอันจะนาไปสู่การพึ่งตัว เองได้ และพอเพียงในตัวเอง
  • 8. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ แนวคิดชุมชนเมืองที่พอเพียงและหนทางฝ่าวิกฤติโลกร้อน “ชุ ม ช น เ มื อ ง ที่ พ อ เ พี ย ง ” คือคาตอบของแนวคิดในการออกแบบชุมชนเมืองเพื่อช่วยบรรเทาปัญ หาจากภาวะโลกร้อน ที่มีความเหมาะสมกับชุมชนเมืองไทย โดยหลักการสาคัญ ที่สุดของชุมชนเมืองที่พอเพียง คือ การเป็นชุ มชนเมืองที่มีการสนองค วามต้องการของผู้คนในระดับที่พอเพีย งตามลาดับขั้น อั น ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ซึ่งมุ่งเน้นให้มีการพัฒ นาตามลาดับ ขั้นจากระดับ ที่จาเป็ นขั้นพื้นฐานสู่ระดับ ที่สูงขึ้นไป และจากภายในที่ใกล้ตัวกระจายออกสู่ภายนอกดังจะเห็นได้จากหลักการพัฒนาของเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยลาดับขั้นในที่นี้สามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ลาดับขั้น ดังนี้ 1) ล า ดั บ ขั้ น ข อ ง ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ห ม า ย ถึ ง ล าดั บ ขั้ น ข อ ง ค ว าม ต้ อ ง ก า ร พื้ น ฐ า น ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใน ชุ ม ช น เ มือ ง ใก ล้เ คี ย ง กั บ “ทฤษฎีความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์” (Basic Human Needs Theory) ของ อับราฮัม มาสโลว์ โด ย ต้ อ ง เ ริ่ม จ า ก ก า ร พั ฒ น า จ า ก ค ว า ม จ า เ ป็ น ขั้ น พื้ น ฐ า น เ ป็ น อั น ดั บ แ ร ก ก่ อ น ที่ จ ะ พั ฒ น า ใ น ค ว า ม จ า เ ป็ น ใ น ขั้ น ที่ สู ง ขึ้ น ไ ป ค ว าม พอ เพีย ง จะเกิด ขึ้น จากก ารได้รับ ก ารสน อง ค ว าม ต้อ งก ารใน แต่ ละลาดับ ขั้น ในระดับที่พอดีกับความต้องการสอดคล้องกับคุณลักษณะเฉพาะของความพอเพียงเรื่องการพัฒนาตามลาดั บ ขั้ น ผู้คนภายในชุมชนเมืองต้องมีความพอเพียงจากการได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตอย่างพอเพียงเป็นลา ดับแรก มีความมั่นคงในการดารงชีวิต มีสภาพแวดล้อมที่ดี มีที่อยู่อาศัย ระบบบริการพื้นฐานสุขอนามัย แ ล ะ แ ห ล่ ง ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ อ ย่ า ง พ อ เ พี ย ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ขั้นต่อมาคือความพอเพียงจากการสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม มีการพึ่งพาและเกื้อกูลระหว่างกัน อันจะนามาสู่ความพอเพียงจากการนาภูมิปัญญาที่ได้จากการเรียนรู้ร่วมกันมาใช้ในการพัฒนา และมีการสืบทอดภูมิปัญญาซึ่งจะนามาสู่ความพอเพียงในจิตใจในขั้นสูงสุด 2) ล า ดั บ ขั้ น ข อ ง ชุ ม ช น เ มื อ ง ห ม า ย ถึ ง ลาดับของหน่วยทางสังคมต่างๆในชุมชนเมืองที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในลักษณะโฮลอนและไฮราคี (Holon & Hierarchy) ซึ่งหมายถึง ในหน่วยทางสังคมหนึ่งๆที่มีความพอเพียงในตนเองในระดับหนึ่ง แ ต่ ไ ม่ ใ ช่ มี ส ถ า น ะ ปิ ด ตั ว เ อ ง อ ยู่ อ ย่ า ง โ ด ด ๆ ก ลับ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ไป สู่ ร ะ ดั บ ที่ ให ญ่ ก ว่ า ต่ อ เนื่ อ ง กั น ไป อ ย่ า ง มี ล า ดั บ ชั้ น โดย แนว คิดนี้ได้ท าก ารจาแนก ลาดับ ขั้น ข อง ห น่ ว ย ชุ มช นออกเป็ น 3 ระดับ ได้แ ก่ ร ะ ดั บ ชุ ม ช น (Neighborhood) ร ะ ดั บ ย่ า น (District)แ ล ะ ร ะ ดั บ เ มื อ ง (Urban) และยังเชื่อมโยงไปจนถึงระหว่างเมือง โดยการกาหนดขอบเขตของแต่ละหน่วยชุมชนเอาไว้นั้น เพื่อให้สามารถกาหนดระดับที่เหมาะสมกับศักยภาพในการสนองความจาเป็นและการบริหารจัดการของแต่ล
  • 9. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ ะ ล า ดั บ ขั้ น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ที่ สุ ด สอดคล้องกับคุณลักษณะเฉพาะของความพอเพียงเรื่องการพัฒนาจากภายในสู่ภายนอก แนวคิดทางกายภาพของชุมชนเมืองที่พอเพียง แนวคิดทางกายภาพที่ทาการนาเสนอเป็นระดับ “แนวคิด” เท่านั้นเนื่องจากในระดับของการนาไปปฏิบัติทางการออกแบบจริง ย่อมที่จะต้องได้รับการพิจารณาถึงแนวทางการออกแบบที่เหมาะสมชัดเจน ตามลักษณะของบริบทนั้นๆ ในแต่ละชุมชนเมืองต่อไป โดย แนวทางการสร้างสภาพแวดล้อมที่พอเพียงสาหรับหน่วยชุมชนในแต่ละลาดับขั้น ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเด็นให้พิจารณาได้ดังนี้ 1. หน่วยระดับชุมชน (Neighborhood) เป็นหน่วยระดับเล็กที่สุด มีการใช้งานบ่อยที่สุด แ ล ะ มี ค ว า ม ใ ก ล้ ชิ ด ม า ก ที่ สุ ด ด้วยความเป็นหน่วยที่มีขนาดเล็กและไม่ซับซ้อนโอกาสในการสร้างให้เกิดความพอเพียงจึงสามารถทาได้ง่า ย ความพอเพียงจะเกิดจากการที่ผู้คนในชุมชนได้รับการสนองความต้องการขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง ผู้ ค น ใ น ชุ ม ช น มี ค ว า ม คุ้ น เ ค ย กั น ด้ว ย การดึง เอาลักษ ณ ะข อง การอยู่ ร่ว ม กัน ข อง ชุ มช นใน ช น บ ท ม าใช้ใน พื้นที่ เมือ ง โดยมีแนวคิดในการออกแบบดังนี้ในแต่ละหน่วยชุมชนควรมีการจัดเตรียมบริการพื้นฐานสาธารณูปโภค - สาธารณู ป การร้านค้า พื้น ที่พักผ่อน และอื่นๆ ที่ จาเป็ น ใน การดารง ชีวิตให้พ อเพีย ง ชุมชนควรมีข นาดเล็กเพื่อค วามสะดว กในการกระจาย บ ริการได้ทั่ว ถึงและไม่สิ้นเป ลือง รวมทั้งสะดวกในการบริหารจัดการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมช นเพื่อเป็นที่พบป ะระห ว่างกัน ช่ ว ย ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ ช า สั ง ค ม แ ล ะ ช่ ว ย ล ด ม ล พิ ษ ร ว ม ทั้ ง ช่ ว ย ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ที่ ดี แ ล ะ ส ร้า ง ค ว า ม น่ า ส บ า ย ให้ กั บ ชุ ม ช น ควรออกแบบอาคารให้ใช้ระบบธรรมชาติเพื่อลดการใช้พลังงานได้ เช่น จัดวางอาคารเพื่อรับลมธรรมชาติ ห รื อ ใช้ร่มเงาของต้นไม้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิใช้ระบบหมุนเวียนพลังงานหรือพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแว ดล้อม ซึ่งสามารถบ ริห ารจัดการได้ง่าย ในชุ มช นข นาดเล็กลดการใช้รถยนต์ในชุ มช น ด้วย การใช้ร่มเงาข องต้นไม้ช่ ว ย สร้าง บ รรย ากาศ ที่ ดีให้ กั บ ท างเท้าและท างจักรย าน เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนหันมาใช้ทางเท้ามากขึ้น 2. ห น่ ว ย ร ะ ดั บ ย่ า น (District) เ ป็ น ห น่ ว ย ชุ ม ช น ล า ดั บ ที่ 2 ซึ่ง จะ เป็ น ห น่ ว ย ที่ ร อง รับ ก ารใช้ ง าน ข อ ง ผู้ค น เ ป็ น จ าน ว น ม าก แ ล ะห ล าก ห ลา ย ความพอเพียงจะเกิดจากการที่ผู้คนภายในย่านได้รับการสนองความต้องการอย่างทั่วถึง
  • 10. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ มี ค ว า ม เ ป็ น อั น ห นึ่ ง อั น เ ดี ย ว กั น แ ล ะ มี จิ ต ส า นึ ก ร่ ว ม กั น โดยมีแนวคิดในการออกแบบดังนี้สร้างพื้นที่ศูนย์กลางย่านที่ชัดเจนด้วยสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ เพื่อสร้างคว ามภาคภูมิใจร่วมกันข องค นในชุมชนกระตุ้นให้เกิดป ฏิสัมพันธ์ระห ว่ างกัน บ ริเว ณ ศู น ย์ ก ล าง ย่ า น ค ว ร มีก า ร ค ว บ คุ ม ค ว า ม ห น า แ น่ น ให้ เห ม าะ ส ม เ ช่ น แ ท ร ก พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว แ ล ะ พื้ น ที่ ธ ร ร ม ช า ติ เ ข้ า ไ ป เพื่อช่วยลดความหนาแน่นควรมีการจัดวางอาคารภายในย่านให้เข้ากับธรรมชาติ เช่น รับลมประจาถิ่นได้ดี หรือการใช้แหล่งน้าธรรมชาติเพื่อช่วยลดอุณหภูมิให้กับย่านรวมทั้งการดึงเอกลักษณ์ของภูมิประเทศมาสร้าง ความน่าสนใจให้กับย่านวางแผนการใช้งานพื้นที่ภายในย่านให้มีความหลากหลายและสมดุลด้วยกิจกรรมที่ จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต เ ช่ น เพิ่มแหล่งงานในย่านพักอาศัยเพื่อลดการเดินทางระหว่างที่พักอาศัยกับแหล่งงานด้วยการส่งเสริมให้เกิดธุร กิจขนาดเล็กที่มีค วามเป็ นเอกลักษณ์ในแต่ละย่านออกแบ บอาค ารเพื่อลดการใช้พลังงาน เช่นใช้รูปแบบของอาคารพื้นถิ่นหรืออาคารพื้นถิ่นประยุกต์เนื่องจากสามารถเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีและมี เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีให้กับย่านปลูกต้นไม้ที่มีคุณสมบัติช่วยลดมลพิษได้ดีบริเวณเส้นทางคมนาคมที่มีกา รใช้งานห นาแน่ น พร้อมทั้งค วรมีการสร้างท างเท้าที่มีค วามสะดว กสบาย มีคว ามร่มรื่น สามารถกันแดดกันฝนได้และกระจายอย่างทั่วถึง เพื่อกระตุ้นให้คนในเมืองหันมาใช้ทางเท้ากันมากขึ้น ลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว 3. ห น่ วย ระดับ เมือง (Urban) เป็ นห น่ ว ย ชุ มช นที่ มีการใช้งานบ่ อย น้อย ที่สุด ค วามพอเพีย งจะเกิดขึ้นจากการที่เมืองมีก ารพึ่งพ าตัว เองได้และพ อเพีย งในตัว เอง ผู้คนในเมืองได้รับบริการอย่างทั่วถึงเมืองต้องไม่รุกรานธรรมชาติและสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวคิดในการออกแบบ โดยจากัดข อบเขตเมืองให้ชัดเจนในลักษณะของ Green Belt บริเวณใจกลางเมืองค วรมีความกระชับ เพื่อลดการท าลาย พื้นที่ธรรมชาติรอบ นอกเมือง ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องขยายให้ใช้ระบบเครือข่าย ในลักษณะของการกระจายตัวเป็นกลุ่มๆ จัดการใช้งานพื้นที่ ให้ เห มาะสมและมีค วามสมบู รณ์ใน ตัวเอง เช่ น จัดให้ มีที่ พักอาศัย แ ล ะ แ ห ล่ ง ง า น ไ ว้ ใ น บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ กั น เพื่อช่วยลดการเดินทางจากบ้านไปที่ทางานมีโครงข่ายคมนาคมที่ชัดเจนและรับรู้ได้ง่ายส่งเสริมระบบขนส่ง ม ว ล ช น ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ พื่ อ ล ด ก า ร ใ ช้ ร ถ ย น ต์ ส่ ว น ตั ว และควรมีการพัฒนาเมืองตามเส้นทางขนส่งมวลชนเป็นหลักสร้างโครงข่ายพื้นที่สาธารณและพื้นที่สีเขียวใน หลายลาดับขั้นเพื่อให้กระจายได้อย่างทั่วถึงอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวดั้งเดิมไว้ให้มากที่สุดเพื่อใช้ลดอุณหภูมิและล ด ม ล ภ า ว ะ เพิ่มพื้นที่เปิดโล่งบริเวณที่มีการใช้งานหนาแน่นสูงเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดเกาะความร้อนในเขตเมืองพัฒนาเมื
  • 11. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ อ ง ใ ห้ ส ม ดุ ล กั บ ฐ า น ท รั พ ย า ก ร ข อ ง แ ต่ ล ะ ที่ เพื่อลดความสิ้นเปลืองจากการต้องขนทรัพยากรจากแหล่งอื่นที่ห่างไกล มิติด้านเทคโนโลยี 1 การพัฒนากาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แนวท างการพัฒ นาท รัพยากรมนุ ษย์ โดย ใช้วิท ย าศาสตร์และเท ค โนโลยี โดยเน้นการใช้ระบบเสมือน (Virtual) และระบบเครือข่าย (Networking) เป็นแนวทางการดาเนินงานหลัก ซึ่งเหมาะสมอย่างยิ่ง กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ท า ง ส า ย ก ล า ง ก า ร พั ฒ น า ก า ลั ง ค น ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เท ค โน โล ยี ที่ เ น้ น ก า รส ร้า ง ระ บ บ เ ส มื อ น เพื่ อ ก าร เ รีย น รู้ (Virtual education) ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ก า ร จั ด ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม แ น ว เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง โดยใช้ระบบศึกษาทางไกลที่ใช้สื่อทันสมัยช่วยเป็นการกระจายองค์ความรู้สู่ปวงชนทุกระดับ ผู้เรียนทุ กคนสามารถเรียนได้ตลอดเวลาตามความสะดวก โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ แ ล ะ ป ร ะ ห ยั ด ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ผู้เรียนสามารถพัฒ นาตนเองจากการเรีย นรู้ตามค วามถนัดและค วามสามารถของตนเอง ซึ่ง ถือได้ว่ าเป็ น การเสน อรูป แบ บ ให ม่ข อง ก ารเรีย นรู้ใน ลัก ษ ณ ะ “ท าง สาย ก ลาง ” ที่แต่ละคนเลือกได้ตามความต้องการ 2. ความพอป ระมาณ การพัฒ นากาลังคนโดยการศึกษาตามแนวเศรษฐกิจพอเพีย ง โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่พอเพียง เป็นการสร้างคนที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม มีความวิริยะ อุ ต ส า ห ะ ค ว า ม ส ม ดุ ล อั น น า ไ ป สู่ ค ว า ม มั่น ค ง แ ล ะ ยั่ ง ยื น ใน ภ า พ ร ว ม การจัดการศึกษาในระบบเสมือนเป็นรูปแบบการเรียนการสอน และฝึกอบรมแนวใหม่ที่มีความพอประมาณ เ ป็ น ก า ร แ บ่ ง ปั น ท รัพ ย า ก ร โด ย ใช้ สื่ อ ทั น ส มั ย ช่ ว ย ซึ่ ง ช่ ว ย ล ด ค่ า ใช้ จ่ า ย เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทุกคน เพื่อนาความรู้ใหม่ๆ ไปพัฒนาตนเองและหน่วยงาน 3. ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ เ ส มื อ น ดั ง ก ล่ า ว เพื่อให้บุคคลทุกกลุ่มทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สามารถเลือกเรียนได้ตามความสะดวก วิธีการที่จะใช้มีทั้งในรูปแบบ อินเตอร์เน็ต และเครือข่ายดาวเทียม โดยมีหลักสูตรหลากหลาย เพื่ อ มุ่ ง ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้อ ง ก าร ข อ ง อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ข อ ง ผู้ เ รีย น ใน ห ล า ย ระ ดั บ การศึกษ าเช่ นนี้เน้นการเรีย นรู้ด้ว ย ตนเอง โดย มีค รู ห รือผู้สอนเป็ นเพีย ง ผู้แนะแน ว ผู้จะสามารถพัฒ นาค ว ามมีเห ตุผ ลขึ้ นเอง ได้ก ารศึก ษาตามแน ว เศ รษ ฐกิจพ อเพีย ง น อ ก จ า ก ก า ร จั ด ห ลั ก สู ต ร ต่ า ง ๆ ใ น รู ป ข อ ง virtual education ยังได้จัดประสานงานให้มีความร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัย สถานบันเฉพาะทางในรูปของ consortium และได้ช่ ว ย ส ร้าง ค ว าม เชื่ อ ม โย ง ระห ว่ าง “ผู้ผ ลิต ” ก าลัง ค น แ ละ “ผู้ใช้ ” ก าลัง ค น
  • 12. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ และยังมีการฝึกปฏิบัติในสภาพจริง เช่น การฝึกอบรมในสถานประกอบการ เป็นการฝึกคนให้มีความอดทน มีเหตุผล สามารถทางานเป็นทีม 4. ความซื่อสัตย์สุจริต การพัฒนากาลังคนในรูปแบบ virtual education ทั้งทางอินเตอร์เน็ต และเครือข่ายดาวเทียมเป็นการจัดการศึกษาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นจริยธรรม และคุณธรรม ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ร ว ม ทั้ ง ก า ร ส ร้ า ง จิ ต ส า นึ ก ต่ อ สั ง ค ม ก ล่ า ว คื อ ผู้ ที่ เ ข้ า ม า ร่ ว ม ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ซึ่ ง เ น้ น ก า ร ศึ ก ษ า ด้ ว ย ต น เ อ ง เ ข้ า ม า เ พ ร า ะ ต้ อ ง ก า ร ติ ด ต า ม ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ เ พื่ อ ไ ป พั ฒ น า ต น เ อ ง โดยเฉพาะผู้ที่ทางานแล้วต้องการนาความรู้ใหม่ไปพัฒนาการทางานของตนเอง และหน่วยงานโดยสมัครใจ นอกจากนี้ ระบ บ ข องการจัดการศึกษาทั้งในรูป อินเตอร์เน็ต และเค รือข่ าย ดาว เที ย ม มี ก า ร จั ด ก า ร ใ ห้ มี ก า ร ท า แ บ บ ฝึ ก หั ด แ ล ะ ท ด ส อ บ ต น เ อ ง ที่สาคัญ การจัดให้มีประสบการณ์จริงโดยการฝึกงา นในโรงงาน สิ่งเหล่านี้ช่ วยฝึกคุณธรรม และความซื่อสัตย์สุจริตไปโดยปริยาย 5. ความรอบรู้-รอบคอบ การพัฒนาคนตามแนวทางดังกล่าว ยังมีการสร้างประสบการณ์จริง อีก ทั้ง ก ารจัดห ลัก สู ตรก ารเ รีย น ก ารส อน ก ารฝึ ก อบ รม ใน รูป web-based courses นั้น ท าโด ย ใช้เท ค โน โลยีทั นสมัย ที่ เห ม าะส ม มีก ารก าห น ดที่ รูป แ บ บ ที่ เห ม าะส ม จัด ท า ใน รู ป แ บ บ ที่ ผู้ เรีย น ส า ม า รถ เ ข้ า ถึง ได้ ส ะด ว ก แ ล ะ ป ร ะห ยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ย ขณะที่ได้ความรู้อย่างถูกต้องและพอเพียง 6. ร ะ บ บ ภู มิ คุ้ ม กั น จ า ก ภ า ว ะ ผั น ผ ว น เพื่อช่วยให้การพัฒนากาลังคนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีความเข้มแข็ง มั่นคง และยั่งยืน จะมีการร่วมมือกันจัดตั้งเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อให้ผู้สนใจสามารถเลือกลงทะเบียนวิชาที่สนใจได้โดยไม่จา กั ด เ ว ล า แ ล ะ ส ถ า น ที่ การที่จัดตั้งเป็นศูนย์ที่มีหลายฝ่ายช่วยกันนี้จะทาให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืนต่อภาวะผันผวนต่างๆ ได้ อีกทั้ง ในการจัดการศึกษาตามแนว เศ รษฐกิจพอเพีย งนั้น การจัดห ลักสูตรต่าง ๆ จะมีการวางแผนล่วงหน้า กาหนดรูปแบบที่ชัดเจน และจัดหลักสูตรตามความต้องการของตลาด เ พื่ อ ใ ห้ ทั น ต่ อ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง โ ล ก แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ใ ช้ จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ดั ด แ ป ล ง ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม ต ล อ ด เพื่อให้สามารถยืนหยัดอยู่ได้สภาวะที่อาจเปลี่ยนแปลง 2 การพัฒนาด้านพลังงาน เนื่ องจากป ระเท ศ ไท ย เป็ นป ระเท ศ เกษ ตรกรรมจึงมีแห ล่ง ชีว ม ว ล (Biomass) อยู่มากมายดังนั้นการพัฒ นาด้านพลังงาน เพื่อให้เกิดค วามสามารถในการพึ่งพาตนเอง ชี ว ม ว ล ใน ป ระ เท ศ ไท ย ส า ม า รถ น า ม า พั ฒ น า ใช้ ผ ลิต พ ลัง ง า น ได้ เป็ น อ ย่ า ง ดี
  • 13. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ โดยเฉพาะวัสดุชีวมวลที่เหลือใช้จากอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ชานอ้อย แกลบ และกากผลปาล์ม เป็นต้น ดังนั้นชีวมวลจึงนับเป็นพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพสูงที่จะนามาใช้ทดแทนการนาเข้าน้ามันเชื้อเพลิง อันเป็นการช่วยลดการสูญเสียเงินตราสู่ต่างประเทศ มิติด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียงนั้น มีนักวิชาการทางด้านเศรษฐศาสตร์ของประเทศได้กล่าวถึงไว้ดังต่อไปนี้ 1. การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจเปรียบเทียบกับความคุ้มค่า การท าให้ เกิ ด ผล ได้ห รือ ผ ลป ระโย ช น์ ม าก ก ว่ าต้น ทุ น ที่ เสีย ไป ซึ่ง ก็ คือ ความมีประสิทธิภาพ(Efficiency) นอกจากนั้นผลผลิตที่เกิดขึ้นต้องมีลักษณะทางกายภาพ คุณภาพ ป ริมาณ ตรง ตามค ว ามต้อง การใน เว ลา และสถ าน ที่ที่ ต้อง การ ซึ่งก็ คือ ป ระสิท ธิผ ล (Effectiveness)ห รื อ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย มี ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ห รื อ ต้ น ทุ น ต่ า ที่ สุ ด ให้ผลตอบแท นมากกว่าอัตราดอกเบี้ย และสัดส่วนข องผลประโยชน์มากกว่าต้นทุนซึ่งก็คือ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด ร ว ม ทั้ ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต้ อ ง มี ต้ น ทุ น และผลประโยชน์ที่ใกล้เคียงกับห น่วยงานที่ใช้ท รัพยากร หรือมีขอบข่ายงานที่ใกล้เคียงกัน ธุ ร กิ จ นั้ น จึ ง จ ะ อ ยู่ ไ ด้ ใน ร ะ ย ะ ย า ว นั่น คื อ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร แ ข่ ง ขั น แต่ ก าร พิจ าร ณ า ทั้ง ห ม ด ต้อ ง ค านึ ง ถึง ส ภ าว ะแ ว ด ล้อ ม ทั้ ง ภ าย ใน แ ล ะภ าย น อ ก รวมทั้งต้องป ระเมินหรือรับ ข้อคิดเห็น (Feedback) จากป ระช าชน ผู้ใช้บ ริการ ผู้เสีย ภาษี หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด (Stakeholders)
  • 14. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ จากหลักการของแนวคิดความคุ้มค่าดังกล่าว สามารถพิจารณาเปรียบเทียบความแตกต่างและความเหมือนของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับหลักความคุ้ มค่าในด้านหลักการ แนวทางปฏิบัติและเป้าหมาย ได้ดังนี้
  • 15. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ 2. ปัจจัยของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ และเสถียรภาพ
  • 16. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ส า คั ญ เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตในระยะยาวอย่างมีคุณภาพตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยได้อธิบายผ่านมุมมองการบริหารจัดการปัจจัยทุน 4 ประเภท อันได้แก่ ทุนทางกายภาพ(Physical Capital) ทุนมนุษย์ (Human Capital) ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) และทุนสังคม(Social Capital) ซึ่งได้ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการปัจจัยทุนเหล่านี้เพื่อให้เกิดการเจริญเติบโ ตอย่างมีคุณภาพ 1. ทุนกายภาพ และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ท ฤ ษ ฎี ก าร เ จ ริญ เ ติบ โต ใน ยุ ค ต้ น ๆ อ า ศั ย ทุ น ท าง ก า ย ภ า พ เ ป็ น ส า คั ญ ซึ่งการสะสมทุนทางกายภาพให้เพีย งพอได้นั้น ต้องการเงินออมในป ระเท ศที่มากเพีย งพอ แต่ในประเทศที่ยากจนประสบปัญหาเงินออมที่ไม่เพียงพอ และต้องตกอยู่ในวงจรอุบาทว์ของความยากจน (Vicious Cycle of Poverty) ที่ มี ทั้ ง อุ ป ส ง ค์ แ ล ะ อุ ป ท า น ข อ ง ทุ น ที่ ต่ า ท า ให้ ป ระ เ ท ศ ย าก จ น เ ห ล่ า นี้ ต้ อ ง พึ่ ง พ า ทุ น จ า ก ต่ า ง ป ร ะเ ท ศ ทั้ ง ใน รู ป เ งิน กู้ แ ล ะ เ งิ น ล ง ทุ น ท า ง ต ร ง ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง สามารถนามาใช้ได้โดย ตรงกับการบ ริหารเศ รษฐกิจเพื่อการเจริญ เติบโตอย่ างมีคุณภาพ โดย ผ่านทุ นท างกาย ภาพนี้ โดย เฉพาะอย่ างยิ่งในเรื่อง ของการสะสมทุ นผ่านการออม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเน้นอย่างมากในการให้ประชาชนดาเนินชีวิตในทางสายกลาง มีค ว ามพอป ระมาณ และมีภูมิคุ้มกันที่ดี ดังนั้นป ระช าช นจะต้องเริ่มที่จะพึ่งพ าตนเอง ซึ่งเป็นลักษณะสาคัญที่ประชาชนในประเทศยากจนส่วนใหญ่ไม่มี โดยการพึ่งพาตนเองได้นี้เกิดจากปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภคภายใต้การทาเกษตรผสมผสาน และเมื่อผลผลิตมีมากพอจึงนามาแปรรูป หรือทาการขาย แทนที่จะมุ่งหวังที่จะทาการเกษตรเพื่อการค้าขาย (Cash crop or Mono crop) เพียงชนิดเดียว ซึ่งมีความเสี่ยงในเรื่องความผันผวนด้านราคา อันก่อให้เกิดภาระหนี้สินที่ยากจะปลดได้ ดังนั้นหากประชาชนมีการพึ่งพาตนเองได้ สามารถค้าขายผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคได้ และมีการใช้จ่ าย อย่ าง พ อป ระม าณ รู้จักเก็ บ ออมเพื่ อส ร้าง ภู มิคุ้มกั นให้ กั บ ต นเอ ง เราก็จะพบว่าประชาชนมีความสามารถสร้างเงินออมหรือมีการสร้างเงินทุนที่จะนาไปช่วยสร้างความเจริญเติ บโตในท้องถิ่นได้
  • 17. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ 2. ทุนมนุษย์และการเจริญเติบทางเศรษฐกิจ แนวคิดเกี่ยวกับการเจริญเติบโตได้พัฒนาจากแนวคิดที่ว่าประเทศจะมีการเจริญเติบโตในระยะยาวไ ด้โดยอาศัยการเจริญทางเทคโนโลยี ซึ่งเป็นการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจผ่านตัวแปรด้านทุนมนุษย์ ซึ่ง ในภาคเศรษฐกิจนั้น สามารถเพิ่มพูนได้โดยการเรียนรู้จากการทางาน (Learning-by-doing) และเมื่อทุกมนุษย์เหล่านี้เพิ่มพูนขึ้นเรื่อยๆ ก็จะส่งผลให้การสะสมทุนมนุษย์ของระบบเศรษฐกิจโดยรวมมีมากขึ้น และก่อให้เกิด ผลกระทบเชิงบวกต่อการเจริญเติบโตของประเทศ
  • 18. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ 3. ทุนธรรมชาติและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อีก ปั จ จั ย ที่ ส า คั ญ ม า ก ต่ อ ก า ร เ จ ริญ เ ติ บ โ ต คื อ ทุ น ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ ห รื อ ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ซึ่งเป็ นที่ ท ราบ กั นดีว่ าป ระเท ศ ที่มีการใช้ท รัพย าก รธรรม ช าติอย่ างม ากเกิ นสมดุ ล จะส่ ง ผ ล ให้ ท รัพ ย าก รธ รรม ช าติที่ มีอ ยู่ ห ม ด ไป ทั้ ง ยั ง ส่ ง ผ ล ร้าย ต่ อ สิ่ง แ ว ด ล้อ ม ส ร้ า ง ม ล พิ ษ ซึ่ ง ใ น ที่ สุ ด จ ะ ส่ ง ผ ล ร้ า ย ก ลั บ ม า ยั ง ป ร ะ ช า ก ร ปรัช ญ าของเศรษฐกิจพอเพีย งให้คว ามสาคัญ มากในเรื่องการรักษาคุณภาพสิ่งแว ดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติภายใต้หลักการ ความพอประมาณความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกัน หากป ระช าช นในทุ กภาคส่วน รว มทั้งภาครัฐ และเอกช นมีเห ตุผลในการใช้ท รัพย ากร ก็ จ ะ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ เ ชิ ง ล บ ที่ มี ต่ อ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ต น เ อ ง หากมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมากเกินไป เกิดมลภาวะและมีการทาลายสิ่งแวดล้อม และเมื่อประชาชนคานึงถึงผลดังกล่าวจะรู้จักบริหารจัดการ และใช้ทรัพยากรอย่างพอประมาณ ภาย ใต้ห ลักการสร้างภูมิคุ้มกัน นอกจากจะท าให้ป ระช าช นไม่ท าลาย สิ่งแวดล้อมแล้ว ยังจะช่วยกันอนุรักษ์และเพิ่มพูนทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเอาไว้เพื่อใช้ต่อไป และเพื่อลูกหลานในอนาคต ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะช่วยรักษาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีของคนในสังคมอย่างยั่งยืน 4. ทุนสังคมและการเจริญเติบทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังค ม เป็ นปัจจัยที่สาคัญ อีกป ระการหนึ่งต่อการเจริญ เติบ โตท างเศ รษฐกิจ ที่ นั ก เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ใ ห้ ค ว า ม ส น ใ จ ม า ก ขึ้ น โดย งานวิจัย ได้แสดงผลกระท บ ข อง ทุ นสังค มต่ออัตราการเจริญ เติบ โตท าง เศ รษฐกิจ โดยใช้คุณลักษณะของทุนสังคม 2 ประการ อันได้แก่ “TRUST” ซึ่งวัดความไว้วางใจกันของคนในสังคม และ “CIVIC”ซึ่งเป็ นตัว แท นการเป็ นค นดีของสังค ม เช่ น การจ่ายภาษี จากการศึกษาพบ ว่ า ทุนสังคมทั้งสองมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่ออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีนัยสาคัญ แล ะ ยั ง พ บ ว่ าผ ล ก ร ะท บ ข อ ง ทุ น สัง ค ม ที่ มีก าร เจ ริญ เ ติบ โต ท าง เศ รษ ฐ กิ จ นั้ น จะมีในระดับ ที่ สูง กว่ าในป ระเท ศ ย ากจน เห ตุผลป ระการห นึ่งคือ ใน ป ระเท ศ เห ล่านี้ ระบบสถาบันอย่างเป็นทางการเช่น ระบบกฎหมาย ระบบการเงิน และสิทธิการครอบครองนั้นยังไม่เข้มแข็ง ห รื อ ข า ด ห า ย ไ ป TRUSTห รื อ ค ว า ม ไ ว้ ว า ง ใ จ กั น ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม จึ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ ม า ก ต่ อ ก า ร ท า ธุ ร ก ร ร ม ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ จึงแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กันของปัจจัยทั้งสองอย่างชัดเจน ห ลั ก ก า ร ภ า ย ใ ต้ ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง นั้ น มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ ถื อ ได้ ว่ า เ ป็ น ทุ น สั ง ค ม ที่ ผู ก ติ ด กั บ วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม ซึ่ ง จ ะ ช่ ว ย ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด ธุ ร ก ร ร ม ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โดยหลักการของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เห็นได้ชัดเจนที่จะช่วยส่งเสริม ได้แก่ หลักคุณธรรม
  • 19. วิชา GEN352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มควายโบ้ อาทิ เช่ น ค ว ามซื่ อสัตย์ ซึ่ง นับ ได้ว่ าเป็ น TRUST ดัง นั้นห ากในสัง ค มมีค ว ามซื่อสัต ย์ ก็จะทาให้คนในสังคมมีความไว้วางใจกัน เชื่อถือกัน ความไว้ใจนี้จะช่วยส่งเสริมธุรกรรมทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในท้องถิ่นที่ระบบสถาบันกฎหมาย สถาบันการเงิน และการประกันภัยขาดหายไป หรือไม่เข้มแข็งพอ ขจัดปัญหานักแสวงหาผลประโยชน์ และปัญหาข้อมูลไม่เท่าเทียมกันให้หมดไป นอกจากนี้หากประชาชนยึดมั่นในหลักคุณธรรม เช่น มีความซื่อสัตย์ คิดเพื่อประโยชน์ส่วนรวม และ แบ่ งปัน กัน ก็จ ะเป็ น หั ว ใจสาคัญ ใน การสร้าง ระบ บ สถ าบั นอย่ างเป็ น ท าง ก าร ห รื อ ทุ น สั ง ค ม ภ า ค รั ฐ ที่ เ ข้ ม แ ข็ ง มี ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ประเทศมีการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ 3. การพัฒนาเศรษฐกิจแบบพหุกิจกรรม หรือพหุผลิตภัณฑ์ รูป แ บ บ แ ล ะวิ ธีป ฏิ บั ติ ต าม แ น ว ท า ง ข อ ง ป รัช ญ าเ ศ ร ษ ฐกิ จ พ อ เพี ย ง นั้ น เป็นการส่งเสริมให้เกิดการบริโภค และการค้าในรูปแบบของเศรษฐกิจแบบพหุกิจกรรม หรือพหุผลิตภัณฑ์ (Multi-Activities or Multi-Products) ซึ่ง ท า ให้ มีก ารห มุ น เวี ย น ข อ ง ท รัพ ย า ก ร แ ล ะวัต ถุ จากกิจกรรมห นึ่งไป สู่กิจกรรมอื่นๆ โดย เป็ นการจัดการให้มีการใช้ป ระโยช น์ท รัพยากร และวัตถุที่มีอยู่ในระบบให้มากที่สุด เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ โดยระบบหมายถึง องค์ประกอบ 5 ส่วนได้แก่ ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) ของเสีย (Waste) และการป้อนกลับเพื่อตรวจสอบ (Feedback) เมื่อวิเคราะห์ด้วยแบบจาลองตารางปัจจัยการผลิต และผลผลิต ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้จาลองหลักการพื้นฐานของวิชาการเศรษฐศาสตร์ คือ ดุลยภาพระหว่างอุปทาน และอุปสงค์ ระหว่างผลิตกับขาย ระหว่างรายรับและรายจ่าย และระหว่างส่งออกและนาเข้า โดยเมื่อพิจารณาตามหลักเศรษฐกิจ 3 ข้อ แล้วแสดงให้เห็นผลดังต่อไปนี้ พ อ ป ร ะ ม า ณ ห ม า ย ถึ ง เ งื่ อ น ไ ข ข อ ง ดุ ล ย ภ า พ ที่เกิดจากสมดุลระหว่างอุปสงค์กับอุปทานระหว่างรายได้กับรายจ่าย และระหว่างส่งออกกับนาเข้า หลักการ “พ อป ระมาณ ” ท าให้ เกิ ด เงื่อ นไข สมดุ ล จึง ท าให้ เกิด เสถีย รภ าพ และค ว ามมั่น ค ง ความล้มเหลวในการสร้างสมดุลทาให้สูญเสียเสถียรภาพ หรือสูญเสียความมั่นคง มีเหตุผล หมายถึง การวิเคราะห์โครงสร้างของธุรกิจ เพื่อทาความเข้าใจข้อจากัด แ ล ะ ใ ช้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ นี้ สร้างกิจกรรมการผลิตที่เป็ นเครือข่ายเกื้อกูลกันและกันทาให้มีกิจกรรมการผลิตหลายด้าน ทาให้สามารถอุดช่องโหว่ของธุรกิจได้ ซึ่งตรงข้ามกับการมีการผลิตที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เช่น ธุรกิจโรงแรม เชื่อมโยงกับธุรกิจโรงกลึงได้ยาก มีภูมิคุ้มกัน หมายถึง มีการผลิต กิจกรรมหลายด้านที่เกื้อกูลกัน เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย และประโยชน์ที่จะได้รับ คือ มีความสามารถในการหลีกเลี่ยงวิกฤติที่เกิดขึ้นจากภายนอก ประหยัด มั่นคง และแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม