SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน สัตว์เลี้ยงบาบัด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวศิรดา โพธิวัฒน์ เลขที่ 38 ชั้น 6 ห้อง 3
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. น.ส. ลักษมี ใจคา เลขที่ 23
2. น.ส. ศิรดา โพธิวัฒน์ เลขที่ 38
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สัตว์เลี้ยงบาบัด สัตว์เลี้ยงให้อะไรกับเรา แล้วเราให้อะไรกับสัตว์เลี้ยง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Animal Therapy
ประเภทโครงงาน สารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. ศิรดา โพธิวัฒน์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน 10 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน สัตว์ ได้มีบทบาทในชีวิตของมนุษย์มากขึ้น ในฐานะสัตว์เลี้ยง ในยุคดิจิตอล ซึ่ง
เป็นยุคแห่งการแข่งขัน ผู้คนต่างก้มหน้าทางาน จนแทบลืมดูแลตัวเอง บางครั้งจึงเกิดเป็นความเครียดสะสม ดังนั้น
การเลี้ยงสัตว์จึงเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกในการช่วยผ่อนคลายความเหนื่อยล้าจากการทางาน ช่วยให้เราได้มีเวลาพักผ่อน
มีเพื่อนเล่นในวันที่เครียดจากการทางาน และยังมีการวิจัยเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงบาบัดมากมายที่ได้ผลจริงในการบาบัด
จิตใจของมนุษย์ เช่นงานวิจัยของ Marian R. Banks และ William A. Banks ชื่อ The Effects of Animal-
Assisted Therapy on Loneliness in an Elderly Population in Long-Term Care Facilities ชี้ให้เห็นว่าการ
จัดให้มีสุนัขเข้าไปเยี่ยมเยียนคุณตาคุณยายที่อาศัยในบ้านพักคนชราช่วยลดความรู้สึกเหงาหงอยลงอย่างได้ผล
นอกจากนี้เมื่อได้ลองให้พวกเขาเลี้ยงนกขมิ้นนาน 3 เดือน ผลก็ปรากฏว่ายังช่วยให้ลดความเครียด และเพิ่มระดับ
คุณภาพชีวิตให้พวกเขาได้ด้วย เรื่องการนาสัตว์บาบัดในไทยเองก็เริ่มเห็นกันบ้าง อย่างคณะสัตวแพทย์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล ก็เคยจัดโครงการ ‘สัตว์บาบัดใจ’ ช่วยฟื้นฟูจิตใจของผู้สูงอายุเช่นกัน จึงเกิดคาถามว่าในเมื่อเรา
เลี้ยงสัตว์เลี้ยงเพื่อช่วยบาบัดความเครียด แล้วสัตว์เลี้ยงต้องการอะไรจากเรา และที่สาคัญที่สุด เราให้อะไรกับสัตว์
เลี้ยง การดูแลที่เราให้มันเพียงพอสาหรับสัตว์เลี้ยงจริงๆหรือไม่ ดังนั้นจึงเกิดความคิดที่จะทาโครงงานเรื่องนี้ขึ้น เพื่อ
สารวจว่าคนรอบตัวเราดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกวิธีแล้วหรือไม่
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
3
1. เพื่อทาความรู้จักกับสัตว์เลี้ยงของตนเอง
2. เพื่อศึกษาวิธีดูแลสัตว์เลี้ยงที่ถูกต้อง
3. เพื่อให้สารวจพฤติกรรมการเลี้ยงสัตว์ของคนรอบข้าง
4. เพื่อให้คาแนะนาในการดูแลสัตว์เลี้ยงที่ถูกต้อง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่องสัตว์เลี้ยงบาบัด การเลี้ยงสุนัขและแมว
2. ขอบเขตประชากร ตัวแทนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/3ที่เลี้ยงสัตว์ที่ต่างชนิดกัน 3คน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
งานวิจัยของ Marian R. Banks และ William A. Banks ชื่อ The Effects of Animal-Assisted Therapy
on Loneliness in an Elderly Population in Long-Term Care Facilities ชี้ให้เห็นว่าการจัดให้มีสุนัขเข้าไป
เยี่ยมเยียนคุณตาคุณยายที่อาศัยในบ้านพักคนชราช่วยลดความรู้สึกเหงาหงอยลงอย่างได้ผล นอกจากนี้เมื่อได้ลองให้
พวกเขาเลี้ยงนกขมิ้นนาน 3 เดือน ผลก็ปรากฏว่ายังช่วยให้ลดความเครียด และเพิ่มระดับคุณภาพชีวิตให้พวกเขาได้
ด้วย
โครงการสุนัขนิสัยดี มาทาการบาบัดสภาพจิตใจของคนชราที่อยู่ในบ้านพักคนชราให้มีสุขภาวะทางจิตใจที่ดี
ขึ้น ซึ่งบ้านพักคนชราที่เราสนใจคือสถานสงเคราะห์คนชรานครปฐม บ้านเลขที่ 1/1 หมู่5 ต.สนามจันทร์ อ.เมือง จ.
นครปฐมจัดขึ้นโดยคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลวิจัยของด็อกเตอร์ Ian Cook นักจิตวิทยาและผู้อานวยการโครงการวิจัยและคลินิกอาการซึมเศร้าของยูซี
แอล ได้กล่าวว่า ด้วยความรักที่ไม่มีเงื่อนไขของสัตว์เลี้ยงช่วยเยียวยาจิตใจกับผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าได้เป็นอย่างดี เพราะ
สัตว์เลี้ยงจะช่วยลดความตึงเครียดและเพิ่มอารมณ์ที่เป็นอยู่ของผู้ป่วยให้เปลี่ยนไป อย่างน้อยก็เปลี่ยนอารมณ์ที่ซึมซึม
อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ให้ยิ้มได้ ลุกมามีกิจกรรมต่างๆ เพราะสัตว์เลี้ยง การลูบคลาสุนัขหรือแมวช่วยลดอัตราการเต้นของ
หัวใจ เจ้าของสุนัขหรือแมวมีฮอร์โมนความเครียดลดลง เพิ่มระดับสารเคมีในสมองมากขึ้นอีกด้ว
สายการบิน Delta Air Lines มีสัตว์เลี้ยงโดยสารไปกับเจ้าของกว่า 250,000 ตัว ซึ่งมีสัดส่วนมากกว่าปี
2015 ถึงร้อยละ 150 โดยส่วนใหญ่เป็นสุนัข แมว หนูแฮมสเตอร์ แต่เริ่มมีสัตว์แปลกๆ (Exotic Pet) เพิ่มมากขึ้น
เรื่อยๆ จนดูเหมือนจะเป็นเทรนด์ที่น่าแปลกประหลาดไม่น้อย
หนังสือประเภทสัตว์เลี้ยงบาบัด (แนวเฉพาะทางยิ่งกว่าหนังสือสัตว์เลี้ยงธรรมดา) ค่อนข้างขายดิบขายดีใน
อังกฤษและอเมริกากว่า หนึ่งในนั้นคือ หนังสือที่มีชื่อว่า Dog Sense and Cat เขียนโดย John Bradshaw นักสัตว
มานุษยวิทยา (anthrozoology) จากมหาวิทยาลัย University of Bristol ที่ขายไปมากถึง 400,000 เล่ม เขาใช้
ศาสตร์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ หรือศึกษาชีวิตทางสังคมของสัตว์ในวัฒนธรรมของมนุษย์ เพื่อ
ตอบปราฏการณ์สัตว์บาบัดที่มีประชากรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากการป่วยไข้ของมนุษย์
ในหนังสือตอบคาถามน่าสนใจว่า มีหลักฐานงานศึกษาใดๆ ที่ชี้ให้เห็นว่า สัตว์เลี้ยงช่วยบาบัดมนุษย์อย่าง
เชิงประจักษ์หรือไม่ คาตอบคือ “ยังไม่มี” งานวิจัยที่มีหลักฐานทางวิชาการชัดเจนในปัจจุบัน ซึ่งต้องยอมรับว่า ที่มัน
ไม่มี เพราะส่วนหนึ่งงานศึกษาด้านสัตว์บาบัด (animal therapy) ยังมีพื้นที่ค่อนข้างจากัดในแวดวงวิชาการอยู่มาก
แม้ไม่มีหลักฐานก็ไม่ได้หมายความว่าไร้แนวโน้มไปเสียทีเดียว เพราะความเชื่อที่ว่าสัตว์เลี้ยงมีพลังในการเยียวยาความ
เจ็บป่วยในแง่บวกล้วนแพร่หลายมาก จากงานวิจัยปี 2014 ที่สารวจทัศนคติของแพทย์ทั่วไปของสหรัฐอเมริกา โดย
แพทย์ร้อยละ 97 เชื่อว่าสัตว์เลี้ยงมีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดแนวโน้มในการรักษาอาการป่วยทางจิตของมนุษย์ได้ ขนาด
หมอเองก็ยังเชื่อและยังแนะนาบ้างตามโอกาส
4
งานวิจัยหลายชิ้นของนักจิตวิทยา Hal Herzog จากมหาวิทยาลัย Western Carolina University ยืนยันว่า
สัตว์บาบัดเองก็สามารถก่อปัญหาให้กับผู้เลี้ยงได้เช่นกัน โดยเฉพาะผู้ป่วยจะรู้สึก ‘เบี่ยงเบน’ โรคที่กาลังเผชิญ ไม่
แก้ปัญหาที่ปัจจัยหลักโดยตรง แต่จะหาสัตว์มาเป็นข้ออ้างเพื่อเลี่ยงการรักษาทางการแพทย์ เก็บปัญหาให้นานต่อไป
เรื่อยๆ อาการป่วยก็จะแย่ลงกว่าเดิม
Boris Levinson อาจารย์ประจาภาคจิตเวชเด็กของมหาวิทยาลัย Yeshiva เคยเสนอแนวคิดสุดพิลึกในปี
1961 ว่า
" สุนัขสามารถช่วยจิตแพทย์ในการบาบัดผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้ "
กลายเป็นว่าแนวคิดของอาจารย์ได้รับเสียงโห่ฮาจากบรรดานักจิตวิทยาที่ร่วมอาชีพด้วยกัน ถูก
วิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นความคิดที่เพ้อเจ้อและไร้แก่นสารสิ้นดี ใครจะยอมให้หมามารักษาแทนคน โอ้ย ไม่ต้องเรียนหมอ
แล้ว ซึ่งอาจารย์ Boris ได้แนวคิดนี้หลังจากวันหนึ่งเขาพาสุนัขตัวโปรดชื่อ ‘จิงเกิ้ล’ ไปที่ทางานด้วย เพื่อทาการบาบัด
คนไข้เด็กที่มีปัญหาในการสื่อสารและเก็บกด แต่กลายเป็นว่า เจ้าจิงเกิ้ลทาลายกาแพงอารมณ์ของเด็กน้อยเสีย
กระจุย เด็กที่เคยเงียบขรึมซึมเศร้ากลับหัวเราะร่าและให้ความร่วมมือในกิจกรรมบาบัดของ Boris อย่างน่าแปลก
ใจ ราวกับเจ้าจิงเกิ้ลร่ายมนต์สะกดปริศนา
นักจิตวิทยา Vanessa Lobue จากมหาวิทยาลัย Rutgers พบว่า ทารกที่อายุตั้งแต่ 1 -3 ขวบ เลือกใช้เวลา
อยู่ร่วมกับสัตว์เลี้ยงนานขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ปลา แฮมสเตอร์ งู แมงมุม และกิ้งก่า มากกว่าที่จะเล่นกับตุ๊กตาสัตว์จาลอง
สะท้อนให้เห็นว่าสมองของทารกเอง ก็มีเซลล์สมองที่ทาให้เราจดจาสัณฐานของสิ่งมีชีวิตจริงและแยกแยะของจริงออก
จากของปลอมได้ ซึ่งเซลล์ประสาท (Neurons) ในสมองส่วน Amygdala ที่มีส่วนในการควบคุมอารมณ์ มักได้รับ
อิทธิพลเมื่อพวกเราเห็นภาพสัตว์น่ารัก และโน้มน้าวให้เราเข้าหาดั่งต้องมนต์
ทีมนักวิจัยชาวญี่ปุ่น Hiroshi Nittono จากมหาวิทยาลัย Hiroshima ได้ลองให้อาสาสมัคร 132 คน ลองใช้
แหนบขนาดเล็ก คีบของจิ๋วๆ ไปวางไว้บนตาแหน่งที่ผู้ทาการทดลองกาหนดไว้ โดยเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้สมาธิและ
ความระแวดระวังสูง ผลปรากกฎว่า อาสาสมัครที่เห็นภาพลูกสัตว์น่ารักๆ ระหว่างทาการทดลอง จะมีความ
ระแวดระวังในการทาภารกิจมากขึ้น โดยชิ้นส่วนที่คีบไม่ตกระหว่างทาง
หนึ่งในข้อสรุปที่นักวิจัยหยิบยกขึ้นมาเป็นประเด็นคือ ลูกสัตว์ที่น่ารักมีความบอบบาง คล้ายคลึงกับทารกใน
มนุษย์ ซึ่งต้องการความเอาใจใส่ในการดูแล มากกว่าสัตว์ที่โตแล้ว หรือหมายความว่า ลูกสัตว์ก็ใช้ประโยชน์จาก
สัญชาตญาณมนุษย์แบบเดียวกับทารก
งานวิจัยที่ลงลึกไปอีกเพื่อศึกษาระบบการทางานของสมอง โดย Massachusetts General Hospital โดย
สัตวแพทย์ Lori Palley และทีมวิจัยใช้เทคโนโลยีการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (MRI) เพื่อศึกษากิจกรรมของ
สมองของแม่มนุษย์จานวน 14 ราย ระหว่างที่พวกเธอปฏิสัมพันธ์กับเด็กทารกมนุษย์และลูกสุนัข
กลายเป็นว่าเมื่อมาดูภาพกิจกรรมทางสมองที่เกิดขึ้น สมองของมนุษย์มีการตอบสนองจุดเดียวกันระหว่างเด็กทารก
และลูกสุนัข โดยเฉพาะสมองส่วนกลาง
นั่นหมายความว่า สัตว์เลี้ยงก็สามารถมอบความพึงพอใจให้กับมนุษย์ไม่แพ้การเลี้ยงดูเด็กทารก จึงไม่แปลก
เลยที่บางคนจะเลี้ยงสุนัขราวลูกหลาน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. หาข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อที่สนใจเช่น สัตว์เลี้ยงบาบัด งานวิจัยต่างๆจากเว็บไซต์
3. จัดทาโครงร่างโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา
4. จัดทาโครงงานตามแบบร่างที่เสนอ
5. นาเสนอรายงานความก้าวหน้าให้ครูที่ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบ และนาคาแนะนามาแก้ไขให้สมบูรณ์
5
6. จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน
7. ประเมินผลโดยให้ครูที่ปรึกษาและผู้ที่สนใจโครงงานร่วมประเมิน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
อินเตอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์
โทรศัพท์
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. กลุ่มตัวอย่างที่สารวจได้รู้จักสัตว์เลี้ยงของตนเองมากขึ้น ในแง่ของสายพันธ์ นิสัย อาหารการกิน พฤติกรรม
ต่างๆ
2. เกิดความแน่ใจว่าเจ้าของจะดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกวิธีจริงๆ
สถานที่ดาเนินการ
ที่พักอาศัยของกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สุขศึกษาและชีววิทยา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. งานวิจัย โดย Deborah L. Wells จาก Queen’s University
2. งานวิจัยของ Marian R. Banks และ William A. Banks ชื่อ The Effects of Animal-Assisted Therapy
on Loneliness in an Elderly Population in Long-Term Care Facilities
3. โครงการสัตว์บาบัดใจคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
6
4. ผลวิจัยของด็อกเตอร์ Ian Cook นักจิตวิทยาและผู้อานวยการโครงการวิจัยและคลินิกอาการซึมเศร้าของ
UCL
5. สายการบิน Delta Air Lines กับการนาสัตว์เลี้ยงขึ้นโดยสาร
6. หนังสือ Dog Sense and Cat โดย John Bradshaw นักสัตวมานุษยวิทยา (anthrozoology) จาก
มหาวิทยาลัย University of Bristol
7. งานวิจัยของนักจิตวิทยา Hal Herzog จากมหาวิทยาลัย Western Carolina University
8. แนวคิดเรื่องจิตวิทยากับสัตว์เลี้ยงของอาจารย์Boris Levinson อาจารย์ประจาภาคจิตเวชเด็กของ
มหาวิทยาลัย Yeshiva
9. แนวคิดเรื่องจิตวิทยากับสัตว์เลี้ยงของนักจิตวิทยา Vanessa Lobue จากมหาวิทยาลัย Rutgers
10. แนวคิดเรื่องจิตวิทยากับสัตว์เลี้ยงของ นักวิจัยชาวญี่ปุ่น Hiroshi Nittono จากมหาวิทยาลัย Hiroshima
11. งานวิจัยศึกษาระบบการทางานของสมอง โดย Massachusetts General Hospital โดยสัตวแพทย์ Lori
Palley

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อkrupornpana55
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestf57acc
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ม.2Khunnawang Khunnawang
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5Khunnawang Khunnawang
 

Was ist angesagt? (20)

ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Fill
FillFill
Fill
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ม.2ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ม.2
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ม.2
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ สังคมศึกษา ป.5
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 

Ähnlich wie Animaltherapy

กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานwaew jittranut
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
แมวบำบัดซึมเศร้า
แมวบำบัดซึมเศร้าแมวบำบัดซึมเศร้า
แมวบำบัดซึมเศร้าKarnBenyapa
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม0636830815
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานorrayaKawichai
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for healthSirintra Chaiwong
 

Ähnlich wie Animaltherapy (20)

กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
แมวบำบัดซึมเศร้า
แมวบำบัดซึมเศร้าแมวบำบัดซึมเศร้า
แมวบำบัดซึมเศร้า
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
taksaorn
taksaorntaksaorn
taksaorn
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงาน
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 
Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 

Mehr von siradamew

Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3siradamew
 
Thai Unemployed
Thai UnemployedThai Unemployed
Thai Unemployedsiradamew
 
ใบงานที่ 2 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำรวจตนเองใบงานที่ 2 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำรวจตนเองsiradamew
 
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเองใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเองsiradamew
 
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเองใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเองsiradamew
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2siradamew
 

Mehr von siradamew (7)

Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3
 
Thai Unemployed
Thai UnemployedThai Unemployed
Thai Unemployed
 
ใบงานที่ 2 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำรวจตนเองใบงานที่ 2 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเองใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
 
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเองใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
ใบงานที่ 2 แบบสำจวจตนเอง
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
Work1
Work1Work1
Work1
 

Animaltherapy

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน สัตว์เลี้ยงบาบัด ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวศิรดา โพธิวัฒน์ เลขที่ 38 ชั้น 6 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส. ลักษมี ใจคา เลขที่ 23 2. น.ส. ศิรดา โพธิวัฒน์ เลขที่ 38 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สัตว์เลี้ยงบาบัด สัตว์เลี้ยงให้อะไรกับเรา แล้วเราให้อะไรกับสัตว์เลี้ยง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Animal Therapy ประเภทโครงงาน สารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. ศิรดา โพธิวัฒน์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 10 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน สัตว์ ได้มีบทบาทในชีวิตของมนุษย์มากขึ้น ในฐานะสัตว์เลี้ยง ในยุคดิจิตอล ซึ่ง เป็นยุคแห่งการแข่งขัน ผู้คนต่างก้มหน้าทางาน จนแทบลืมดูแลตัวเอง บางครั้งจึงเกิดเป็นความเครียดสะสม ดังนั้น การเลี้ยงสัตว์จึงเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกในการช่วยผ่อนคลายความเหนื่อยล้าจากการทางาน ช่วยให้เราได้มีเวลาพักผ่อน มีเพื่อนเล่นในวันที่เครียดจากการทางาน และยังมีการวิจัยเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงบาบัดมากมายที่ได้ผลจริงในการบาบัด จิตใจของมนุษย์ เช่นงานวิจัยของ Marian R. Banks และ William A. Banks ชื่อ The Effects of Animal- Assisted Therapy on Loneliness in an Elderly Population in Long-Term Care Facilities ชี้ให้เห็นว่าการ จัดให้มีสุนัขเข้าไปเยี่ยมเยียนคุณตาคุณยายที่อาศัยในบ้านพักคนชราช่วยลดความรู้สึกเหงาหงอยลงอย่างได้ผล นอกจากนี้เมื่อได้ลองให้พวกเขาเลี้ยงนกขมิ้นนาน 3 เดือน ผลก็ปรากฏว่ายังช่วยให้ลดความเครียด และเพิ่มระดับ คุณภาพชีวิตให้พวกเขาได้ด้วย เรื่องการนาสัตว์บาบัดในไทยเองก็เริ่มเห็นกันบ้าง อย่างคณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก็เคยจัดโครงการ ‘สัตว์บาบัดใจ’ ช่วยฟื้นฟูจิตใจของผู้สูงอายุเช่นกัน จึงเกิดคาถามว่าในเมื่อเรา เลี้ยงสัตว์เลี้ยงเพื่อช่วยบาบัดความเครียด แล้วสัตว์เลี้ยงต้องการอะไรจากเรา และที่สาคัญที่สุด เราให้อะไรกับสัตว์ เลี้ยง การดูแลที่เราให้มันเพียงพอสาหรับสัตว์เลี้ยงจริงๆหรือไม่ ดังนั้นจึงเกิดความคิดที่จะทาโครงงานเรื่องนี้ขึ้น เพื่อ สารวจว่าคนรอบตัวเราดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกวิธีแล้วหรือไม่ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
  • 3. 3 1. เพื่อทาความรู้จักกับสัตว์เลี้ยงของตนเอง 2. เพื่อศึกษาวิธีดูแลสัตว์เลี้ยงที่ถูกต้อง 3. เพื่อให้สารวจพฤติกรรมการเลี้ยงสัตว์ของคนรอบข้าง 4. เพื่อให้คาแนะนาในการดูแลสัตว์เลี้ยงที่ถูกต้อง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่องสัตว์เลี้ยงบาบัด การเลี้ยงสุนัขและแมว 2. ขอบเขตประชากร ตัวแทนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/3ที่เลี้ยงสัตว์ที่ต่างชนิดกัน 3คน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) งานวิจัยของ Marian R. Banks และ William A. Banks ชื่อ The Effects of Animal-Assisted Therapy on Loneliness in an Elderly Population in Long-Term Care Facilities ชี้ให้เห็นว่าการจัดให้มีสุนัขเข้าไป เยี่ยมเยียนคุณตาคุณยายที่อาศัยในบ้านพักคนชราช่วยลดความรู้สึกเหงาหงอยลงอย่างได้ผล นอกจากนี้เมื่อได้ลองให้ พวกเขาเลี้ยงนกขมิ้นนาน 3 เดือน ผลก็ปรากฏว่ายังช่วยให้ลดความเครียด และเพิ่มระดับคุณภาพชีวิตให้พวกเขาได้ ด้วย โครงการสุนัขนิสัยดี มาทาการบาบัดสภาพจิตใจของคนชราที่อยู่ในบ้านพักคนชราให้มีสุขภาวะทางจิตใจที่ดี ขึ้น ซึ่งบ้านพักคนชราที่เราสนใจคือสถานสงเคราะห์คนชรานครปฐม บ้านเลขที่ 1/1 หมู่5 ต.สนามจันทร์ อ.เมือง จ. นครปฐมจัดขึ้นโดยคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผลวิจัยของด็อกเตอร์ Ian Cook นักจิตวิทยาและผู้อานวยการโครงการวิจัยและคลินิกอาการซึมเศร้าของยูซี แอล ได้กล่าวว่า ด้วยความรักที่ไม่มีเงื่อนไขของสัตว์เลี้ยงช่วยเยียวยาจิตใจกับผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าได้เป็นอย่างดี เพราะ สัตว์เลี้ยงจะช่วยลดความตึงเครียดและเพิ่มอารมณ์ที่เป็นอยู่ของผู้ป่วยให้เปลี่ยนไป อย่างน้อยก็เปลี่ยนอารมณ์ที่ซึมซึม อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ให้ยิ้มได้ ลุกมามีกิจกรรมต่างๆ เพราะสัตว์เลี้ยง การลูบคลาสุนัขหรือแมวช่วยลดอัตราการเต้นของ หัวใจ เจ้าของสุนัขหรือแมวมีฮอร์โมนความเครียดลดลง เพิ่มระดับสารเคมีในสมองมากขึ้นอีกด้ว สายการบิน Delta Air Lines มีสัตว์เลี้ยงโดยสารไปกับเจ้าของกว่า 250,000 ตัว ซึ่งมีสัดส่วนมากกว่าปี 2015 ถึงร้อยละ 150 โดยส่วนใหญ่เป็นสุนัข แมว หนูแฮมสเตอร์ แต่เริ่มมีสัตว์แปลกๆ (Exotic Pet) เพิ่มมากขึ้น เรื่อยๆ จนดูเหมือนจะเป็นเทรนด์ที่น่าแปลกประหลาดไม่น้อย หนังสือประเภทสัตว์เลี้ยงบาบัด (แนวเฉพาะทางยิ่งกว่าหนังสือสัตว์เลี้ยงธรรมดา) ค่อนข้างขายดิบขายดีใน อังกฤษและอเมริกากว่า หนึ่งในนั้นคือ หนังสือที่มีชื่อว่า Dog Sense and Cat เขียนโดย John Bradshaw นักสัตว มานุษยวิทยา (anthrozoology) จากมหาวิทยาลัย University of Bristol ที่ขายไปมากถึง 400,000 เล่ม เขาใช้ ศาสตร์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ หรือศึกษาชีวิตทางสังคมของสัตว์ในวัฒนธรรมของมนุษย์ เพื่อ ตอบปราฏการณ์สัตว์บาบัดที่มีประชากรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากการป่วยไข้ของมนุษย์ ในหนังสือตอบคาถามน่าสนใจว่า มีหลักฐานงานศึกษาใดๆ ที่ชี้ให้เห็นว่า สัตว์เลี้ยงช่วยบาบัดมนุษย์อย่าง เชิงประจักษ์หรือไม่ คาตอบคือ “ยังไม่มี” งานวิจัยที่มีหลักฐานทางวิชาการชัดเจนในปัจจุบัน ซึ่งต้องยอมรับว่า ที่มัน ไม่มี เพราะส่วนหนึ่งงานศึกษาด้านสัตว์บาบัด (animal therapy) ยังมีพื้นที่ค่อนข้างจากัดในแวดวงวิชาการอยู่มาก แม้ไม่มีหลักฐานก็ไม่ได้หมายความว่าไร้แนวโน้มไปเสียทีเดียว เพราะความเชื่อที่ว่าสัตว์เลี้ยงมีพลังในการเยียวยาความ เจ็บป่วยในแง่บวกล้วนแพร่หลายมาก จากงานวิจัยปี 2014 ที่สารวจทัศนคติของแพทย์ทั่วไปของสหรัฐอเมริกา โดย แพทย์ร้อยละ 97 เชื่อว่าสัตว์เลี้ยงมีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดแนวโน้มในการรักษาอาการป่วยทางจิตของมนุษย์ได้ ขนาด หมอเองก็ยังเชื่อและยังแนะนาบ้างตามโอกาส
  • 4. 4 งานวิจัยหลายชิ้นของนักจิตวิทยา Hal Herzog จากมหาวิทยาลัย Western Carolina University ยืนยันว่า สัตว์บาบัดเองก็สามารถก่อปัญหาให้กับผู้เลี้ยงได้เช่นกัน โดยเฉพาะผู้ป่วยจะรู้สึก ‘เบี่ยงเบน’ โรคที่กาลังเผชิญ ไม่ แก้ปัญหาที่ปัจจัยหลักโดยตรง แต่จะหาสัตว์มาเป็นข้ออ้างเพื่อเลี่ยงการรักษาทางการแพทย์ เก็บปัญหาให้นานต่อไป เรื่อยๆ อาการป่วยก็จะแย่ลงกว่าเดิม Boris Levinson อาจารย์ประจาภาคจิตเวชเด็กของมหาวิทยาลัย Yeshiva เคยเสนอแนวคิดสุดพิลึกในปี 1961 ว่า " สุนัขสามารถช่วยจิตแพทย์ในการบาบัดผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้ " กลายเป็นว่าแนวคิดของอาจารย์ได้รับเสียงโห่ฮาจากบรรดานักจิตวิทยาที่ร่วมอาชีพด้วยกัน ถูก วิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นความคิดที่เพ้อเจ้อและไร้แก่นสารสิ้นดี ใครจะยอมให้หมามารักษาแทนคน โอ้ย ไม่ต้องเรียนหมอ แล้ว ซึ่งอาจารย์ Boris ได้แนวคิดนี้หลังจากวันหนึ่งเขาพาสุนัขตัวโปรดชื่อ ‘จิงเกิ้ล’ ไปที่ทางานด้วย เพื่อทาการบาบัด คนไข้เด็กที่มีปัญหาในการสื่อสารและเก็บกด แต่กลายเป็นว่า เจ้าจิงเกิ้ลทาลายกาแพงอารมณ์ของเด็กน้อยเสีย กระจุย เด็กที่เคยเงียบขรึมซึมเศร้ากลับหัวเราะร่าและให้ความร่วมมือในกิจกรรมบาบัดของ Boris อย่างน่าแปลก ใจ ราวกับเจ้าจิงเกิ้ลร่ายมนต์สะกดปริศนา นักจิตวิทยา Vanessa Lobue จากมหาวิทยาลัย Rutgers พบว่า ทารกที่อายุตั้งแต่ 1 -3 ขวบ เลือกใช้เวลา อยู่ร่วมกับสัตว์เลี้ยงนานขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ปลา แฮมสเตอร์ งู แมงมุม และกิ้งก่า มากกว่าที่จะเล่นกับตุ๊กตาสัตว์จาลอง สะท้อนให้เห็นว่าสมองของทารกเอง ก็มีเซลล์สมองที่ทาให้เราจดจาสัณฐานของสิ่งมีชีวิตจริงและแยกแยะของจริงออก จากของปลอมได้ ซึ่งเซลล์ประสาท (Neurons) ในสมองส่วน Amygdala ที่มีส่วนในการควบคุมอารมณ์ มักได้รับ อิทธิพลเมื่อพวกเราเห็นภาพสัตว์น่ารัก และโน้มน้าวให้เราเข้าหาดั่งต้องมนต์ ทีมนักวิจัยชาวญี่ปุ่น Hiroshi Nittono จากมหาวิทยาลัย Hiroshima ได้ลองให้อาสาสมัคร 132 คน ลองใช้ แหนบขนาดเล็ก คีบของจิ๋วๆ ไปวางไว้บนตาแหน่งที่ผู้ทาการทดลองกาหนดไว้ โดยเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้สมาธิและ ความระแวดระวังสูง ผลปรากกฎว่า อาสาสมัครที่เห็นภาพลูกสัตว์น่ารักๆ ระหว่างทาการทดลอง จะมีความ ระแวดระวังในการทาภารกิจมากขึ้น โดยชิ้นส่วนที่คีบไม่ตกระหว่างทาง หนึ่งในข้อสรุปที่นักวิจัยหยิบยกขึ้นมาเป็นประเด็นคือ ลูกสัตว์ที่น่ารักมีความบอบบาง คล้ายคลึงกับทารกใน มนุษย์ ซึ่งต้องการความเอาใจใส่ในการดูแล มากกว่าสัตว์ที่โตแล้ว หรือหมายความว่า ลูกสัตว์ก็ใช้ประโยชน์จาก สัญชาตญาณมนุษย์แบบเดียวกับทารก งานวิจัยที่ลงลึกไปอีกเพื่อศึกษาระบบการทางานของสมอง โดย Massachusetts General Hospital โดย สัตวแพทย์ Lori Palley และทีมวิจัยใช้เทคโนโลยีการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก (MRI) เพื่อศึกษากิจกรรมของ สมองของแม่มนุษย์จานวน 14 ราย ระหว่างที่พวกเธอปฏิสัมพันธ์กับเด็กทารกมนุษย์และลูกสุนัข กลายเป็นว่าเมื่อมาดูภาพกิจกรรมทางสมองที่เกิดขึ้น สมองของมนุษย์มีการตอบสนองจุดเดียวกันระหว่างเด็กทารก และลูกสุนัข โดยเฉพาะสมองส่วนกลาง นั่นหมายความว่า สัตว์เลี้ยงก็สามารถมอบความพึงพอใจให้กับมนุษย์ไม่แพ้การเลี้ยงดูเด็กทารก จึงไม่แปลก เลยที่บางคนจะเลี้ยงสุนัขราวลูกหลาน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. หาข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อที่สนใจเช่น สัตว์เลี้ยงบาบัด งานวิจัยต่างๆจากเว็บไซต์ 3. จัดทาโครงร่างโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา 4. จัดทาโครงงานตามแบบร่างที่เสนอ 5. นาเสนอรายงานความก้าวหน้าให้ครูที่ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบ และนาคาแนะนามาแก้ไขให้สมบูรณ์
  • 5. 5 6. จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน 7. ประเมินผลโดยให้ครูที่ปรึกษาและผู้ที่สนใจโครงงานร่วมประเมิน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ อินเตอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. กลุ่มตัวอย่างที่สารวจได้รู้จักสัตว์เลี้ยงของตนเองมากขึ้น ในแง่ของสายพันธ์ นิสัย อาหารการกิน พฤติกรรม ต่างๆ 2. เกิดความแน่ใจว่าเจ้าของจะดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างถูกวิธีจริงๆ สถานที่ดาเนินการ ที่พักอาศัยของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สุขศึกษาและชีววิทยา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. งานวิจัย โดย Deborah L. Wells จาก Queen’s University 2. งานวิจัยของ Marian R. Banks และ William A. Banks ชื่อ The Effects of Animal-Assisted Therapy on Loneliness in an Elderly Population in Long-Term Care Facilities 3. โครงการสัตว์บาบัดใจคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 6. 6 4. ผลวิจัยของด็อกเตอร์ Ian Cook นักจิตวิทยาและผู้อานวยการโครงการวิจัยและคลินิกอาการซึมเศร้าของ UCL 5. สายการบิน Delta Air Lines กับการนาสัตว์เลี้ยงขึ้นโดยสาร 6. หนังสือ Dog Sense and Cat โดย John Bradshaw นักสัตวมานุษยวิทยา (anthrozoology) จาก มหาวิทยาลัย University of Bristol 7. งานวิจัยของนักจิตวิทยา Hal Herzog จากมหาวิทยาลัย Western Carolina University 8. แนวคิดเรื่องจิตวิทยากับสัตว์เลี้ยงของอาจารย์Boris Levinson อาจารย์ประจาภาคจิตเวชเด็กของ มหาวิทยาลัย Yeshiva 9. แนวคิดเรื่องจิตวิทยากับสัตว์เลี้ยงของนักจิตวิทยา Vanessa Lobue จากมหาวิทยาลัย Rutgers 10. แนวคิดเรื่องจิตวิทยากับสัตว์เลี้ยงของ นักวิจัยชาวญี่ปุ่น Hiroshi Nittono จากมหาวิทยาลัย Hiroshima 11. งานวิจัยศึกษาระบบการทางานของสมอง โดย Massachusetts General Hospital โดยสัตวแพทย์ Lori Palley