SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
ห น า | 1ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ห น า | 2ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
คํานํา
E-BOOKคูมือ+แนวขอสอบ นักวิชาการพัสดุ (สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา
สวนยาง) เนื้อหาประกอบดวยความรูเกี่ยวกับ ประกอบดวย สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุน
สงเคราะหการทําสวนยาง สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ.
2542 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4)
พ.ศ. 2530 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) แกไข
เพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542สวนที่ 3 ความรู
เฉพาะตําแหนง การบริหารงานพัสดุ กลยุทธการบริหารงานพัสดุ การจัดมาตรฐานพัสดุ การ
จัดหา การบริหารพัสดุคงเหลือ การจัดการคลังพัสดุ การขนสง การบํารุงรักษา การจําหนาย
พัสดุออกจากบัญชี การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ สวนที่ 4 กฎหมายที่
เกี่ยวของกับการพัสดุ แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และ
ที่แกไขเพิ่มเติม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.
2549 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.
2549 แนวขอสอบ การบริหารงานพัสดุ
ขอใหทุกทานโชคดีในการสอบ
ห น า | 3ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย. 5
ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11
วิสัยทัศน 12
คานิยมองคกร 12
พันธกิจ 13
วัตถุประสงค 13
เปาหมายหลัก 13
ยุทธศาสตร 14
ภารกิจ/บริการ 15
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 18
การปลูกยางพารา 18
การบํารุงรักษา 31
โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 36
การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 44
การแปรรูปผลผลิต 47
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50
สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 52
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติม 67
แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติม 78
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 85
สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง
การบริหารงานพัสดุ 92
กลยุทธการบริหารงานพัสดุ 93
การจัดมาตรฐานพัสดุ 99
การจัดหา 104
การบริหารพัสดุคงเหลือ 114
การจัดการคลังพัสดุ 117
การขนสง 129
การบํารุงรักษา 136
การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี 142
การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ 145
สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัสดุ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 156
แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 232
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 239
แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 248
แนวขอสอบ การบริหารงานพัสดุ 258
ห น า | 4ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย.
ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง
การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ
ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง
หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา
ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง
วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ
การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน
ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ
นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย
หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน
และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ
คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน
ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย
ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ
นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ
ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี
หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน
โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505
หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให
ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก
ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน
พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ
บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก
คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง
ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
ห น า | 5ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
วิสัยทัศน
"มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน”
พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป
เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสู
ครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง
คานิยมองคกร
สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน
หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้
O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน
R : Responsibility ความรับผิดชอบ
R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน
A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม
F : Faith ซื่อสัตยสุจริต
พันธกิจ
1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่
ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม
2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง
ใหกับสถาบันเกษตรกร
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา
ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ
เกษตรกร
4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม
5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค
1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได
และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
ห น า | 6ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ
ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ
เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน
อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค
เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล
เปาหมายหลัก
1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน
ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให
ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม
2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง
คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา
สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย
ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ
3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม
และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ
ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล
4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก
ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา
ในตลาดทองถิ่น
5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง
ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง
ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
ห น า | 7ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง
การปลูกยางพารา
การเตรียมพื้นที่
การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก
ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช
พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่
ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได
เปนตน
การวางแนวปลูก
การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย
กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม
การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง
แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ
ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น
เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ
หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได
ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได
- ปองกันการพังทลายของหนาดิน
- ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง
- ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย
- ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน
- งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน
ระยะปลูก
เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ
ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง
การเตรียมหลุมปลูก
การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด
เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย
ห น า | 8ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170
กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต
แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)
สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม
เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควน
มากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี
การปลูก
วัสดุปลูกและวิธีการปลูก
วัสดุปลูก
วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2
ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช
ตนตอตา
ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก
ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไม
นอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว
ตนยางชําถุง
ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา
ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไป
ปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3
แถว ๆ ละ 5-7 รู
พันธุยาง
กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม
1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง
เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251
สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600
2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง
เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงและมีการเจริญเติบโตดีลักษณะลําตนตรง และใหปริมาตร
เนื้อไมในสวนลําตนสูง มี4 พันธุ คือ พันธุPB 235 PB 255 PB 260 และ RRIC 110
3. กลุมพันธุยางผลผลิตเนื้อไมสูง
ห น า | 9ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ
ยางแผนดิบคุณภาพ 1
- แผนยางมีความสะอาดและปราศจากฟองอากาศตลอดแผน
- มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 1.5 เปอรเซ็นต
- มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัดตลอดแผน
- บาง มีความหนาของแผนไมเกิน 3 มิลลิเมตร
- เนื้อยางแหงใส มีสีสวยสม่ําเสมอตลอดแผน สีเหลืองทอง เหลืองออน
- น้ําหนักเฉลี่ยตอแผน 800-1,200 กรัม
- แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.
ยางแผนดิบคุณภาพ 2
- แผนยางมีความสะอาดตลอดแผน หรืออาจมีสิ่งสกปรกและฟองอากาศอยูในแผน
ยางไดบางเล็กนอย
- มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 2 เปอรเซ็นต
- ความยืดหยุนดีมีลายดอกเดนชัด
- บาง มีความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร
- เนื้อยางแหงมีสีสม่ําเสมอตลอดแผน ลักษณะสีคอนขางคล้ําหรืออาจมีรอยดางดําได
บางเล็กนอย
- น้ําหนักเฉลี่ยตอแผน 1,000-1,200 กรัม
- แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.
ยางแผนดิบคุณภาพ 3
- แผนยางมีความสะอาด หรืออาจมีสิ่งสกปรกและฟองอากาศอยูในแผนยางไดบาง
เล็กนอย
- มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 3 เปอรเซ็นต
- มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัด
- แผนยางคอนขางหนา ความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร
- เนื้อยางแหงมีสีคล้ําคอนขางทึบ ไมโปรงใสเทาที่ควร
- น้ําหนักเฉลี่ยตอแผนไมเกิน 1,500 กรัม
- แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.
ห น า | 10ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542
เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ
ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง
กฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ.
2542”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481
(2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483
(3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ
รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตาม
พระราชบัญญัตินี้
“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตน
ยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง
“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยาง
แทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ
ห น า | 11ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับ
สารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง
“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย
คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่ง
ไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่ง
ไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด
“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษา
ตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ
“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศ
กําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง
“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือ
ยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบ
ชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิต
ยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ
“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนด
“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศ
จัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอก
ราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่
รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและ
การบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ
รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย
ประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผน
ดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน
“ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
ห น า | 12ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการควบคุมยางตาม
พระราชบัญญัตินี้
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้
“อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณรักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจดังตอไปนี้
(1) ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้
ลดคาธรรมเนียม ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่น
(2) ออกประกาศ
(3) แตงตั้งพนักงานเจาหนาที่
ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงหรือประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใช
บังคับได
มาตรา 6 เพื่อประโยชนในการผลิตยาง การคายาง การนํายางเขาและการสง
ยางออก ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กําหนด
(1) ตนยางชนิดอื่นเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้
(2) ตนยางพันธุดี
(3) เขตทําสวนยาง
(4) การแจงเนื้อที่สวนยาง จํานวนตนยาง และพันธุของตนยางที่ปลูกในสวน
ยาง รวมทั้งปริมาณเนื้อยางที่ผูทําสวนยางทําไดในแตละป
(5) เขตหามปลูกตนยาง
(6) วิธีการทําสวนยางในบางทองที่
(7) เขตควบคุมการขนยายยาง
(8) ปริมาณควบคุมเนื้อยาง ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง ตามความเหมาะสมแก
สถานการณยางของประเทศ
(9) การจัดตั้งตลาดกลางแลกเปลี่ยนยางธรรมชาติ รวมทั้งวิธีดําเนินงาน
อํานาจหนาที่ และการควบคุมตลาดกลางแลกเปลี่ยนยางธรรมชาติดังกลาว
ห น า | 13ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด
ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม
ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม
ตอบ ค. 5 กิโลกรัม
สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา
กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา
ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง
ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย
ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ
กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย
9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ
วาอะไร
ก. ก.ส.ย. ข. กสย.
ค. คสย. ง. ค.ส.ย.
ตอบ ก. ก.ส.ย.
10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด
ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ห น า | 14ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ
การยางมีจํานวนเทาใด
ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน
ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน
ตอบ ข. 4 คน / 2 คน
คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย
ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน
กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ
สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม
ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น
อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน
เกี่ยวของกับการยางสองคน
12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง
คราวละกี่ป
ก. 1 ป ข. 2 ป
ค. 3 ป ง. 4 ป
ตอบ ข. 2 ป
กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป
13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ก. รอยละหา
ห น า | 15ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย
ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน
ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน
รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ง. รอยละสิบ
ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย
ละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุน
สงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ให
รัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน
15.เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห
เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดเล็ก จัดสรรเทาใด
ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ
ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ
ตอบ ง. รอยละเจ็ดสิบ
16. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห
เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดกลาง จัดสรรเทาใด
ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ
ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ
ตอบ ข. รอยละยี่สิบ
ห น า | 16ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
17. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห
เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดใหญ จัดสรรเทาใด
ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ
ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ
ตอบ ก. รอยละสิบ
เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางนั้น แตละป ใหแบงสวน
สงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยาง ดังตอไปนี้
ประเภทสวนขนาดใหญ รอยละสิบ
ประเภทสวนขนาดกลาง รอยละยี่สิบ
ประเภทสวนขนาดเล็ก รอยละเจ็ดสิบ
18.ภายในกําหนดเวลาใดนับแตวันสิ้นปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการจัดทํางบดุลแสดง
ฐานะการเงิน เสนอตอรัฐมนตรี
ก. สามสิบวัน ข. หกสิบวัน
ค. เกาสิบวัน ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน
ตอบ ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน
ภายในกําหนดเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการ
จัดทํางบดุลแสดงฐานะการเงิน โดยมีคํารับรองการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจเงิน
แผนดิน และทํารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานเสนอตอรัฐมนตรี
19.ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เสียเงินสงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษอยางไร
ก.จําคุกไมเกินหกเดือน
ข.ปรับไมเกินสิบเทาของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ
ค. ตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงไมเสียเงินสงเคราะห หรือเพื่อเสียเงิน
สงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินสิบเทา
ของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ แตตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ห น า | 17ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
การบริหารงานพัสดุ
ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ
ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารธุรกิจประสบผลสําเร็จ ไดแก 4’m อันประกอบดวย
คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material) และการบริหาร (Management)
ปจจัยดาน Material จึงเปนปจจัยที่มนุษยรูจักมาตั้งแตเกิด และพยายามที่จะ
คิดคนวิธีการที่จะหาพัสดุมาใชตามปริมาณ คุณภาพ เวลา และสถานที่ที่ตองการไดอยาง
เหมาะสม
การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจ การบริหารงาน
พัสดุจึงมีบทบาทในองคการธุรกิจเปนอันมาก เนื่องจากทรัพยากรอันมีจํากัด และธุรกิจตอง
ลงทุนซื้อพัสดุมาใชในธุรกิจของตน จึงตองมีการควบคุมใหมีการใชพัสดุอยางสัมฤทธิ์ผล หรือ
ตองหาวิธีใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุด
การบริหารงานพัสดุถือเปนงานหลักของทุกธุรกิจ เพราะจะมีผลตอความอยูรอด
หรือกําไรของธุรกิจเทา ๆ กับหนาที่อื่น เชน การตลาด การบัญชี การผลิต การเงิน เปนตน
ความหมายของการบริหารงานพัสดุ
การบริหารงานพัสดุ หมายถึง การนําเอาวิทยาการหรือศิลปะในการบริหารมาใช
ในการจัดพัสดุตาง ๆ ที่มีอยูในคลังและใชอยูในกิจการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหเกิด
สภาพคลองตัว และลดคาใชจายตาง ๆ ที่เกิดจากการจัดหา เก็บรักษา และเคลื่อนยายพัสดุนี้
มา
วิชาการบริหารงานพัสดุเริ่มมาจากทางทหารกอน ซึ่งเรียกวา “การสงกําลังบํารุง”
(Logistic)อันเปนการจัดกิจกรรมทางดานยุทโธปกรณและยุทธภัณฑแกหนวยทหารที่ปฏิบัติ
การอยูในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อใหการปฏิบัติงานทางทหารบรรลุเปาหมาย
ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ
การบริหารงานพัสดุจะตองดําเนินตามนโยบายขององคการ ฝายบริหารงานพัสดุ
จะตองทําการวางแผนใหสอดคลองกับนโยบายขององคการธุรกิจ
ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ แบงออกไดตามลําดับดังนี้
1.การวางแผนหรือการกําหนดโครงการ
ห น า | 18ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
2.การกําหนดความตองการ
3.การกําหนดงบประมาณ
4.การจัดหา
5.การเก็บรักษา
6.การแจกจาย
7.การบํารุงรักษา
8.การจําหนาย
กลยุทธการบริหารงานพัสดุ
วัตถุประสงคที่สําคัญของการวางแผนงานพัสดุ คือ เพื่อใหมีพัสดุไวใชอยาง
พอเพียง ตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเปนไปโดยประหยัด
ธุรกิจโดยทั่วไปยอมมีเปาหมายหลักในการดําเนินการ ซึ่งก็คือ การใหธุรกิจอยู
รอดและมีกําไร การที่เปาหมายจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นก็ขึ้นอยูกับปจจัยหลายดาน และ
ปจจัยดานหนึ่งก็คือ การบริหารงานพัสดุที่ดี มีประสิทธิภาพ และเพื่อใหบรรลุผลผูบริหารงาน
พัสดุจะตองกําหนดกลยุทธการบริหารพัสดุ
กลยุทธการบริหารงานพัสดุ มีวิธีการดําเนินงานดังนี้ คือ
1. พยายามซื้อพัสดุใหไดราคาที่ถูกตอง เพราะการซื้อพัสดุที่มีราคาแพง
จะทําใหตนทุนการผลิตสูง มีผลทําใหสินคาขายไดยากขึ้น และกําไรลดลง
2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุคงเหลือสูง หมายถึง มีการใชพัสดุออกไปเร็ว
พัสดุคงเหลือมีสภาพคลอง ทําใหไดผลตอบแทนจากการลงทุนเร็ว ในขณะที่คาใชจายในการ
เก็บรักษาพัสดุจะต่ําลงดวย จึงมีผลตอกําไรของธุรกิจโดยตรง
3. พยายามใหคาใชจายของการเก็บรักษาต่ํา ถาการเก็บรักษาพัสดุมี
ประสิทธิภาพ จะทําใหความเสียหายของพัสดุลดลง และคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา แตถา
การรับพัสดุและการเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหมีพัสดุเสียหายได
4. ใหการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง ถาพัสดุขาดแคลนจะทํา
ใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ เชน การผลิตอาจตองหยุดชะงัก ผลิตสินคาได
ทันตามกําหนด และทําใหเสียโอกาสทางธุรกิจ
5. พัสดุที่ใชมีคุณภาพดีสม่ําเสมอ การใชพัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพคงที่
คุณภาพ7ดีสม่ําเสมอจะเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการผลิต ปองกันการหยุดชะงักและสูญเสีย
ไดอยางมาก
ห น า | 19ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
การจัดหา
ความหมายของการจัดหาพัสดุ
“การจัดหา” หมายถึง การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพที่ตองการ
ในปริมาณที่ถูกตอง ทันเวลา และในราคาที่เหมาะสม หรือ
“การจัดหา” หมายถึง กรรมวิธีในการดําเนินงานเพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุอุปกรณ
และการบริการตาง ๆ ภายในขอบเขตของกฎหมายหรือบริการ
การจัดหามีวิธีการตาง ๆ ดังนี้คือ
1. การซื้อ ไดแก การซื้อพัสดุทุกชนิดทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการที่
เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ เพื่อใชในหนวยงาน
2. การเชา ไดแก การเชาทรัพยสินตาง ๆ ทั้งสังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพย
เชน ที่ดิน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรอุปกรณ เพื่อใชประกอบกิจการ
3. การโอน ไดแก การโอนพัสดุเหลือใชเพื่อนําไปใชในงานอื่น ๆ
4. การจาง ไดแก การจางทําของ จางแรงงาน และจางเหมาตาง ๆ ตลอดจนการ
รับขนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
5. การยืม เปนการยืมพัสดุคงรูปและใชสิ้นเปลืองระหวางหนวยงาน
6. การผลิตเอง เปนการจัดทําขึ้นมาเอง เพื่อประหยัดและปองกันการขาดแคลน
พัสดุ หรือเพื่อปองกันความลับรั่วไหล
7. การแลกเปลี่ยน ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535
นั้น การแลกเปลี่ยนพัสดุใหกระทําไดเฉพาะการแลกเปลี่ยนครุภัณฑกับครุภัณฑ และการ
แลกเปลี่ยนวัสดุกับวัสดุ
8. การบริจาค เปนการใหทรัพยสินแกมูลนิธิหรือหนวยราชการ
9. การยึด ซึ่งปกติมักทําในยามสงครามหรือกรณีฉุกเฉิน ซึ่งกระทําโดย
หนวยงานของรัฐ
วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุ
วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุที่สําคัญ มีดังนี้คือ
1. เพื่อใหการผลิตเปนไปอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง
2. เพื่อใหเกิดการประหยัดดานคาใชจายในการจัดหา การเก็บรักษา และตนทุนดาน
พัสดุ
ห น า | 20ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
3. เพื่อใหไดพัสดุที่มีคุณสมบัติและมาตรฐานตามตองการ
4. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูขายกับผูซื้อ
5. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางแผนกงานตาง ๆ ในธุรกิจ
ขั้นตอนในการจัดหาพัสดุ
ขั้นตอนในการจัดหาพัสดุ มีดังนี้คือ
1. การสํารวจความตองการ ถาพัสดุที่ตองการมีอยูในคลังพัสดุแลวก็จะ
เบิกจายไดทันที แตถาไมมีอยูในคลังพัสดุก็จะตองใหฝายจัดซื้อหรือฝายจัดหาดําเนินงาน
จัดซื้อหรือจัดหาตอไป
2. การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะ ถือเปนสิ่งสําคัญและขาดไมไดใน
กระบวนการจัดหา เพราะทําใหการจัดหาพัสดุเปนไปอยางรวดเร็ว และทําใหสามารถจัดหา
พัสดุไดตรงกับความตองการของผูใช
3. การแสวงหาแหลงขาย ซึ่งแหลงที่ใหความรูเกี่ยวกับพัสดุหาไดจากแหลง
ที่เคยติดตอซื้อขายกันมากอน เชน สมุดโทรศัพทหนาเหลือง วารสารการคา และโฆษณาใน
หนังสือพิมพ ฯลฯ
4. การวิเคราะหราคา โดยควรนําขอเสนอดานราคาและเงื่อนไขตาง ๆ มา
พิจารณา เชน ราคาจากผูขายแตละราย เงื่อนไขการชําระเงิน การใหสวนลด การขนสง และ
บริการอื่น ๆ
5. การสั่งซื้อพัสดุ อาจกระทําไดตั้งแตโทรศัพท โทรเลข หรือโทรพิมพ แต
ถาเปนการจัดหาจํานวนมาก ๆ ก็มักจะทําการสั่งซื้อเปนลายลักษณอักษร หรือเปนสัญญาซื้อ
ขาย
6. การติดตามเรื่อง โดยตองคอยติดตามวาไดรับพัสดุตามใบสั่งซื้อหรือยัง
ถายังก็จะตองติดตามสอบถามไปยังผูขาย เพื่อใหไดพัสดุตามกําหนดเวลา
7. การตรวจรับพัสดุ โดยแผนกตรวจรับของคลังพัสดุจะทําการตรวจรับ
พัสดุที่สงมานั้นใหมีคุณลักษณะ ปริมาณ สภาพ ที่ถูกตองตรงตามคําสั่งซื้อ
8. การเก็บรักษา โดยจะนําไปเก็บในคลังพัสดุเพื่อรอการเบิกจายตอไป
9. การตรวจสอบใบกํากับสินคา คือ ใบบิลสงสินคาที่แสดงรายละเอียดของ
พัสดุที่จัดสงหรือบริการที่ไดรับจากผูขาย ดังนั้นใบสงของจึงเปนใบแสดงสิทธิที่จะรับคาพัสดุ
จากผูซื้อ
ห น า | 21ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
การจัดการคลังพัสดุ
คลังพัสดุ หมายถึง สถานที่เก็บรักษาพัสดุตาง ๆ ใหอยูในสภาพที่ดี และพรอมที่
จะแจกจายไปยังหนวยใช ซึ่งหนาที่พื้นฐานของคลังพัสดุ คือ การเก็บรักษาพัสดุไวอยาง
ปลอดภัย พรอมที่จะนําออกมาแจกจายหรือใชประโยชนไดอยางรวดเร็วเมื่อมีผูมาขอเบิก
วัตถุประสงคของการจัดการคลังพัสดุ มีดังนี้
1. เพื่อใหมีพัสดุเพียงพอกับความตองการ
2. เพื่อใหมีการใชพื้นที่คลังพัสดุอยางคุมคาและไดประโยชนสูงสุด
3. เพื่อใหเกิดการประหยัดเวลา แรงงาน และคาขนสง
4. เพื่อปองกันพัสดุสูญหาย เสื่อมสภาพ และประสบอัคคีภัย
5. เพื่อสนับสนุนการใหบริการที่ดีแกลูกคา เพราะมีสินคาพรอมอยูเสมอ
การเก็บรักษาพัสดุ
การเก็บรักษาพัสดุ หมายถึง การครอบครองและการเก็บรักษาพัสดุเพื่อการใช
ประโยชนในอนาคต ซึ่งหมายรวมถึง การเตรียมการหรือการวางแผนในการปฏิบัติ พัสดุที่จะ
รับเขาเก็บรักษา กรรมวิธีในการเก็บรักษาและการสงพัสดุใหแกผูซื้อ
แบบของการเก็บรักษาพัสดุ
โดยทั่วไปการเก็บรักษาพัสดุมี 2 แบบ คือ
1. การเก็บรักษาพัสดุภายในอาคารคลัง หมายถึง การนําพัสดุเขาเก็บรักษา
ในอาคารหรือสิ่งปลูกสรางอื่นใดที่มีหลังคาเปนโครงสรางปกคลุมอยู และรวมถึงการเก็บ
รักษาพัสดุที่อาศัยสวนหนึ่งสวนใดของอาคารภายใตหลังคาที่อยูนอกผนัง เชน ชายคาหรือ
กันสาดในการเก็บรักษา
2. การเก็บรักษาพัสดุกลางแจง มักใชกับพัสดุที่ทนตอความเปลี่ยนแปลง
ของดินฟาอากาศและสภาพของดินฟาอากาศไมเปนอันตรายตอคุณลักษณะของพัสดุ
ประเภทของอาคารคลังพัสดุ
อาคารคลังพัสดุสามารถแยกตามวัตถุประสงคของการใชงานไดดังนี้
1. คลังทั่วไป เปนคลังที่สรางขึ้นเพื่อใชเก็บรักษาพัสดุหลาย ๆ ชนิด
ลักษณะของคลังจะมิดชิด มีทั้งคลังชั้นเดียวและคลังหลายชั้น นอกจากนี้ยังมีบริเวณที่ใชเปน
สถานที่ถายเทสินคาและทางเดินตามความเหมาะสม
2. คลังพิเศษ เปนอาคารคลังที่สรางขึ้นเพื่อเก็บรักษาพัสดุที่มีคุณลักษณะ
พิเศษเฉพาะอยางเพื่อความปลอดภัยในการเก็บรักษาพัสดุ
ห น า | 22ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535
และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552
___________________________
6. คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ มีอักษรยอวาอยางไร
ก. ควพ. ข. คกว.
ค. กวก. ง. กวพ.
7. การซื้อและการจาง กระทําไดกี่วิธี
ก. 4 วิธี ข. 5 วิธี
ค. 6 วิธี ง. 7 วิธี
8. การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา คือการซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งมีวงเงินเทาใด
ก. มีราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท
ข. มีราคาเกิน 200,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท
ค. มีราคาเกิน 300,000 บาท แตไมเกิน 4,000,000 บาท
ง. มีราคาเกิน 400,000 บาท แตไมเกิน 4,000,000 บาท
9. การซื้อพัสดุเพื่อใชในราชการลับ การซื้อครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท เปนการซื้อ
แบบใด
ก. การซื้อโดยวิธีสอบราคา ข. การซื้อโดยวิธีประกวดราคา
ค. การซื้อโดยวิธีพิเศษ ง. การซื้อโดยวิธีกรณีพิเศษ
10. การซื้อยาของสวนราชการ ใหจัดซื้อตามชื่อสามัญ (GENERIC NAME) ในบัญชียาหลัก
แหงชาติตามที่คณะกรรมการแหงชาติทางดานยากําหนด โดยใหใชเงินงบประมาณจัดซื้อยา
ดังกลาวไมนอยกวารอยละเทาใด
ก. รอยละ 40 ข. รอยละ 50
ค. รอยละ 60 ง. รอยละ 70
ห น า | 23ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
11. การสั่งซื้อหรือสั่งจางครั้งหนึ่ง ในวงเงิน 50,000,000 บาท แตไมเกิน 100,000,000 บาท
อยูในอํานาจหนาที่ของใคร
ก. หัวหนาสวนราชการ ข. ปลัดกระทรวง
ค. รัฐมนตรีเจาสังกัด ง. ถูกทุกขอ
12. การจางออกแบบและควบคุมงาน กระทําไดกี่วิธี
ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี
ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี
13. การจางออกแบบและควบคุมงานที่ผูวาจางเลือกจางผูใหบริการรายหนึ่งรายใด ซึ่งเคย
ทราบหรือเคยเห็นความสามารถแลว และเปนผูใหบริการที่มีหลักฐานดี ใหใชกับการกอสราง
ที่มีวงเงินงบประมาณคากอสรางตามโครงการหนึ่ง ๆ ไมเกิน 2,000,000 บาท เปนการจาง
แบบใด
ก. การจางโดยวิธีตกลง ข. การจางโดยวิธีคัดเลือก
ค. การจางโดยวิธีคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนด
ง. การจางโดยวิธีพิเศษ
14. ขอใดเปนการวาจางโดยการประกวดแบบ
ก. อนุสาวรีย ข. รัฐสภา
ค. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ง. ถูกทุกขอ
15. อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุม
งาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใดของวงเงินงบประมาณคากอสราง
ก. รอยละ 0.5 ข. รอยละ 1.0
ค. รอยละ 1.5 ง. รอยละ 2.0
16."ราคาสูงสุด" นั้น หมายถึงราคากลาง วงเงินงบประมาณที่มีอยูหรือราคาสูงสุดที่
ราชการจะพึงไดรับตามหลักเกณฑที่ผูใดกําหนด
ก. กว.พอ. ข. กวพ.อ.
ค. กพร. ง. กพ.ร.
ห น า | 24ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบ นักบริหารงานพัสดุ
1. เพราะอะไรการบริหารงานพัสดุจึงมีความสําคัญ
(1) เปนงานหลักของธุรกิจ
(2) ทําใหหาพัสดุมาใชไดตามปริมาณที่ตองการ
(3) เปนปจจัยในการบริหารธุรกิจ
(4) ชวยใหการบริหารประสบความสําเร็จ
(5) ทําใหใชทรัพยากรที่มีอยูไดประโยชนสูงสุด
ตอบ 4 การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจมาก เพราะจะ
มีผลตอความอยูรอดหรือกําไรของธุรกิจ โดยพัสดุถือเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหการบริหารธุรกิจ
ประสบผลสําเร็จ ซึ่งปจจัยการบริหารธุรกิจ ประกอบดวย คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ
(Material), และการบริหาร (Management)
2. ทานสามารถลดตนทุนการผลิตทางดานพัสดุไดอยางไร
(1) ประหยัดคาใชจายในการจัดหาและคาเก็บรักษา
(2) ลดการสูญเสียจากการเก็บรักษาไมถูกวิธี และซื้อสินคาที่ดีราคาถูก
(3) คํานวณความตองการไดถูกตองตามความตองการ
(4) ถูกทั้งขอ 1 และ 2
(5) ถูกทั้งขอ 1, 2 และ 3
ตอบ 5 การบริหารงานพัสดุมีบทบาทตอผลการดําเนินงานทั้งตอธุรกิจเอกชนและ
หนวยงานของรัฐ ผูบริหารงาน จึงควรใหความสนใจงานดานการพัสดุนับตั้งแตการประมาณ
ความตองการ การจัดหาจัดซื้อ การบริหารงาน คลังพัสดุ การจัดการคลังพัสดุ การขนสง
การบํารุงรักษา ตลอดจนการจําหนายพัสดุออกจากบัญชี ซึ่งการ บริหารงานพัสดุที่ดีมี
ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลจะทําใหสามารถลดตนทุนตางๆ ได
3. ขอใดคือกลยุทธในการบริหารงานพัสดุ
(1) ไดแหลงผูขายที่ดี มีพัสดุใชอยางตอเนื่อง
(2) มีแรงงานที่มีคุณภาพและไดรับการพัฒนาอยางสม่ําเสมอ
(3) ซื้อพัสดุไดในราคาถูก คุณภาพดี (4) ถูกทั้งขอ 1 และ 2
(5) ถูกทั้งขอ 2 และ 3
ห น า | 25ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ตอบ 4 กลยุทธในการบริหารงานพัสดุ มีดังนี้
1. ซื้อพัสดุไดในราคาที่ถูกตองสมคุณภาพ
2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุสูง
3. คาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา
4. มีพัสดุใชอยางตอเนื่อง
5. พัสดุมีคุณภาพดีสม่ําเสมอ
6. ไดแหลงผูขายที่ดี
7. มีการพัฒนาบุคลากรและการจางแรงงานที่เหมาะสม
8. มีระบบการเก็บบันทึกที่ดี
9. มีการกําหนดมาตรฐานของพัสดุ
10. กําหนดใหมีการพยากรณลวงหนา
4. ทําอยางไรการลงทุนในธุรกิจจะไดประโยชนสูงสุด
(1) มีการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง (2) มีระบบการบันทึกที่ดี
(3) ตนในสินคาต่ําดวยการซื้ออยางประหยัด
(4) การเพิ่มผลผลิตและกําไรสวนเกิน
(5) คาใชจายในการสั่งซื้อและคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา
ตอบ 4 การลงทุนทางธุรกิจใหไดประโยชนสูงสูด สามารถทําได 2 ทาง คือ
1. การเพิ่มกําไรสวนเกินสําหรับแตละหนวยผลิต
2. การเพิ่มผลผลิตใหมากขึ้นโดยใชปจจัยการผลิตเทาเดิม
5.เพราะอะไรจึงกระจายอํานาจในการสั่งซื้อ
(1) ทําใหเกิดความสะดวก และสามารถเลือกผูขายไดอยางประสิทธิภาพ
(2) ทําใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพ
(3) ทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูจัดหากับผูใชเปนไปไดสะดวก
(4) ถูกทั้งขอ 1 และ 3 (5) ถูกทั้งขอ 1, 2 และ 3
ตอบ 5 เหตุผลของการกระจายอํานาจในการจัดซื้อ มีดังนี้
1. ทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูจัดหากับผูใชเปนไปไดสะดวก
2. ทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติงาน และกอใหเกิดประสิทธิภาพ
ในการดําเนินงาน
ห น า | 26ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

More Related Content

Viewers also liked

ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐแนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)ประพันธ์ เวารัมย์
 
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดคู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดประพันธ์ เวารัมย์
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานีตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานีประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการคัดเลือก พ.ศ.2560
ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการคัดเลือก พ.ศ.2560ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการคัดเลือก พ.ศ.2560
ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการคัดเลือก พ.ศ.2560ประพันธ์ เวารัมย์
 

Viewers also liked (13)

ถอดรหัสท้องถิ่น 2
ถอดรหัสท้องถิ่น 2ถอดรหัสท้องถิ่น 2
ถอดรหัสท้องถิ่น 2
 
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐแนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
 
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดคู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานีตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
 
คู่มือสอบแข่งขันครูผู้ช่วย ปี 2560
คู่มือสอบแข่งขันครูผู้ช่วย ปี 2560คู่มือสอบแข่งขันครูผู้ช่วย ปี 2560
คู่มือสอบแข่งขันครูผู้ช่วย ปี 2560
 
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560 - 2579
 
ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการคัดเลือก พ.ศ.2560
ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการคัดเลือก พ.ศ.2560ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการคัดเลือก พ.ศ.2560
ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการคัดเลือก พ.ศ.2560
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม จ่าหน้าซอง
คำขึ้นต้น สรรพนาม จ่าหน้าซองคำขึ้นต้น สรรพนาม จ่าหน้าซอง
คำขึ้นต้น สรรพนาม จ่าหน้าซอง
 

More from บ.ชีทราม จก.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรบ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

More from บ.ชีทราม จก. (13)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง นักวิชาการพัสดุ E-BOOK แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ สกย

  • 1. ห น า | 1ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
  • 2. ห น า | 2ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ คํานํา E-BOOKคูมือ+แนวขอสอบ นักวิชาการพัสดุ (สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทํา สวนยาง) เนื้อหาประกอบดวยความรูเกี่ยวกับ ประกอบดวย สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุน สงเคราะหการทําสวนยาง สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) แกไข เพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542สวนที่ 3 ความรู เฉพาะตําแหนง การบริหารงานพัสดุ กลยุทธการบริหารงานพัสดุ การจัดมาตรฐานพัสดุ การ จัดหา การบริหารพัสดุคงเหลือ การจัดการคลังพัสดุ การขนสง การบํารุงรักษา การจําหนาย พัสดุออกจากบัญชี การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ สวนที่ 4 กฎหมายที่ เกี่ยวของกับการพัสดุ แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และ ที่แกไขเพิ่มเติม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 แนวขอสอบ การบริหารงานพัสดุ ขอใหทุกทานโชคดีในการสอบ
  • 3. ห น า | 3ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 5 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11 วิสัยทัศน 12 คานิยมองคกร 12 พันธกิจ 13 วัตถุประสงค 13 เปาหมายหลัก 13 ยุทธศาสตร 14 ภารกิจ/บริการ 15 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 18 การปลูกยางพารา 18 การบํารุงรักษา 31 โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 36 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 44 การแปรรูปผลผลิต 47 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 52 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติม 67 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติม 78 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 85 สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง การบริหารงานพัสดุ 92 กลยุทธการบริหารงานพัสดุ 93 การจัดมาตรฐานพัสดุ 99 การจัดหา 104 การบริหารพัสดุคงเหลือ 114 การจัดการคลังพัสดุ 117 การขนสง 129 การบํารุงรักษา 136 การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี 142 การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ 145 สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัสดุ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 156 แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม 232 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 239 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 248 แนวขอสอบ การบริหารงานพัสดุ 258
  • 4. ห น า | 4ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
  • 5. ห น า | 5ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ วิสัยทัศน "มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน” พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสู ครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ เกษตรกร 4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
  • 6. ห น า | 6ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม 2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ 3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล 4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา ในตลาดทองถิ่น 5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
  • 7. ห น า | 7ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได เปนตน การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย
  • 8. ห น า | 8ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก) สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควน มากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี การปลูก วัสดุปลูกและวิธีการปลูก วัสดุปลูก วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช ตนตอตา ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไม นอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว ตนยางชําถุง ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไป ปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู พันธุยาง กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม 1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251 สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600 2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงและมีการเจริญเติบโตดีลักษณะลําตนตรง และใหปริมาตร เนื้อไมในสวนลําตนสูง มี4 พันธุ คือ พันธุPB 235 PB 255 PB 260 และ RRIC 110 3. กลุมพันธุยางผลผลิตเนื้อไมสูง
  • 9. ห น า | 9ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ ยางแผนดิบคุณภาพ 1 - แผนยางมีความสะอาดและปราศจากฟองอากาศตลอดแผน - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 1.5 เปอรเซ็นต - มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัดตลอดแผน - บาง มีความหนาของแผนไมเกิน 3 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงใส มีสีสวยสม่ําเสมอตลอดแผน สีเหลืองทอง เหลืองออน - น้ําหนักเฉลี่ยตอแผน 800-1,200 กรัม - แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม. ยางแผนดิบคุณภาพ 2 - แผนยางมีความสะอาดตลอดแผน หรืออาจมีสิ่งสกปรกและฟองอากาศอยูในแผน ยางไดบางเล็กนอย - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 2 เปอรเซ็นต - ความยืดหยุนดีมีลายดอกเดนชัด - บาง มีความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงมีสีสม่ําเสมอตลอดแผน ลักษณะสีคอนขางคล้ําหรืออาจมีรอยดางดําได บางเล็กนอย - น้ําหนักเฉลี่ยตอแผน 1,000-1,200 กรัม - แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม. ยางแผนดิบคุณภาพ 3 - แผนยางมีความสะอาด หรืออาจมีสิ่งสกปรกและฟองอากาศอยูในแผนยางไดบาง เล็กนอย - มีความชื้นในแผนยางไมเกิน 3 เปอรเซ็นต - มีความยืดหยุนดี และมีลายดอกเดนชัด - แผนยางคอนขางหนา ความหนาของแผนยางไมเกิน 4 มิลลิเมตร - เนื้อยางแหงมีสีคล้ําคอนขางทึบ ไมโปรงใสเทาที่ควร - น้ําหนักเฉลี่ยตอแผนไมเกิน 1,500 กรัม - แผนยางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง 38-46 ซม. ยาว 80-90 ซม.
  • 10. ห น า | 10ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตาม พระราชบัญญัตินี้ “ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตน ยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง “ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยาง แทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ
  • 11. ห น า | 11ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับ สารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง “เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่ง ไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่ง ไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด “ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษา ตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ “เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศ กําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง “โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือ ยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบ ชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิต ยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ “ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนด “ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศ จัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอก ราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่ รัฐมนตรีประกาศกําหนด “วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและ การบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย ประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผน ดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน “ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
  • 12. ห น า | 12ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการควบคุมยางตาม พระราชบัญญัตินี้ “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมวิชาการเกษตร “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจดังตอไปนี้ (1) ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ ลดคาธรรมเนียม ยกเวนคาธรรมเนียม และกําหนดกิจการอื่น (2) ออกประกาศ (3) แตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงหรือประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใช บังคับได มาตรา 6 เพื่อประโยชนในการผลิตยาง การคายาง การนํายางเขาและการสง ยางออก ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กําหนด (1) ตนยางชนิดอื่นเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้ (2) ตนยางพันธุดี (3) เขตทําสวนยาง (4) การแจงเนื้อที่สวนยาง จํานวนตนยาง และพันธุของตนยางที่ปลูกในสวน ยาง รวมทั้งปริมาณเนื้อยางที่ผูทําสวนยางทําไดในแตละป (5) เขตหามปลูกตนยาง (6) วิธีการทําสวนยางในบางทองที่ (7) เขตควบคุมการขนยายยาง (8) ปริมาณควบคุมเนื้อยาง ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง ตามความเหมาะสมแก สถานการณยางของประเทศ (9) การจัดตั้งตลาดกลางแลกเปลี่ยนยางธรรมชาติ รวมทั้งวิธีดําเนินงาน อํานาจหนาที่ และการควบคุมตลาดกลางแลกเปลี่ยนยางธรรมชาติดังกลาว
  • 13. ห น า | 13ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ วาอะไร ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย. 10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
  • 14. ห น า | 14ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ การยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน เกี่ยวของกับการยางสองคน 12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง คราวละกี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ข. 2 ป กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป 13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ก. รอยละหา
  • 15. ห น า | 15ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย ละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุน สงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ให รัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน 15.เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดเล็ก จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ง. รอยละเจ็ดสิบ 16. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดกลาง จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ข. รอยละยี่สิบ
  • 16. ห น า | 16ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 17. เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางแตละป ใหแบงสวนสงเคราะห เจาของสวนยางตามประเภทของสวนยางประเภทขนาดใหญ จัดสรรเทาใด ก. รอยละสิบ ข. รอยละยี่สิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละเจ็ดสิบ ตอบ ก. รอยละสิบ เงินสงเคราะหที่ไดจัดสรรไวเพื่อสงเคราะหเจาของสวนยางนั้น แตละป ใหแบงสวน สงเคราะหเจาของสวนยางตามประเภทของสวนยาง ดังตอไปนี้ ประเภทสวนขนาดใหญ รอยละสิบ ประเภทสวนขนาดกลาง รอยละยี่สิบ ประเภทสวนขนาดเล็ก รอยละเจ็ดสิบ 18.ภายในกําหนดเวลาใดนับแตวันสิ้นปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการจัดทํางบดุลแสดง ฐานะการเงิน เสนอตอรัฐมนตรี ก. สามสิบวัน ข. หกสิบวัน ค. เกาสิบวัน ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน ตอบ ง. หนึ่งรอยยี่สิบวัน ภายในกําหนดเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปสงเคราะหทุกป ใหคณะกรรมการ จัดทํางบดุลแสดงฐานะการเงิน โดยมีคํารับรองการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจเงิน แผนดิน และทํารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานเสนอตอรัฐมนตรี 19.ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เสียเงินสงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษอยางไร ก.จําคุกไมเกินหกเดือน ข.ปรับไมเกินสิบเทาของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ ค. ตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูใดกระทําดวยประการใด ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงไมเสียเงินสงเคราะห หรือเพื่อเสียเงิน สงเคราะหนอยกวาที่ควรเสีย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินสิบเทา ของเงินสงเคราะหที่ยังตองชําระ แตตองไมนอยกวาหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
  • 17. ห น า | 17ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ การบริหารงานพัสดุ ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารธุรกิจประสบผลสําเร็จ ไดแก 4’m อันประกอบดวย คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material) และการบริหาร (Management) ปจจัยดาน Material จึงเปนปจจัยที่มนุษยรูจักมาตั้งแตเกิด และพยายามที่จะ คิดคนวิธีการที่จะหาพัสดุมาใชตามปริมาณ คุณภาพ เวลา และสถานที่ที่ตองการไดอยาง เหมาะสม การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจ การบริหารงาน พัสดุจึงมีบทบาทในองคการธุรกิจเปนอันมาก เนื่องจากทรัพยากรอันมีจํากัด และธุรกิจตอง ลงทุนซื้อพัสดุมาใชในธุรกิจของตน จึงตองมีการควบคุมใหมีการใชพัสดุอยางสัมฤทธิ์ผล หรือ ตองหาวิธีใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุด การบริหารงานพัสดุถือเปนงานหลักของทุกธุรกิจ เพราะจะมีผลตอความอยูรอด หรือกําไรของธุรกิจเทา ๆ กับหนาที่อื่น เชน การตลาด การบัญชี การผลิต การเงิน เปนตน ความหมายของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุ หมายถึง การนําเอาวิทยาการหรือศิลปะในการบริหารมาใช ในการจัดพัสดุตาง ๆ ที่มีอยูในคลังและใชอยูในกิจการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหเกิด สภาพคลองตัว และลดคาใชจายตาง ๆ ที่เกิดจากการจัดหา เก็บรักษา และเคลื่อนยายพัสดุนี้ มา วิชาการบริหารงานพัสดุเริ่มมาจากทางทหารกอน ซึ่งเรียกวา “การสงกําลังบํารุง” (Logistic)อันเปนการจัดกิจกรรมทางดานยุทโธปกรณและยุทธภัณฑแกหนวยทหารที่ปฏิบัติ การอยูในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อใหการปฏิบัติงานทางทหารบรรลุเปาหมาย ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุจะตองดําเนินตามนโยบายขององคการ ฝายบริหารงานพัสดุ จะตองทําการวางแผนใหสอดคลองกับนโยบายขององคการธุรกิจ ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ แบงออกไดตามลําดับดังนี้ 1.การวางแผนหรือการกําหนดโครงการ
  • 18. ห น า | 18ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 2.การกําหนดความตองการ 3.การกําหนดงบประมาณ 4.การจัดหา 5.การเก็บรักษา 6.การแจกจาย 7.การบํารุงรักษา 8.การจําหนาย กลยุทธการบริหารงานพัสดุ วัตถุประสงคที่สําคัญของการวางแผนงานพัสดุ คือ เพื่อใหมีพัสดุไวใชอยาง พอเพียง ตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเปนไปโดยประหยัด ธุรกิจโดยทั่วไปยอมมีเปาหมายหลักในการดําเนินการ ซึ่งก็คือ การใหธุรกิจอยู รอดและมีกําไร การที่เปาหมายจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นก็ขึ้นอยูกับปจจัยหลายดาน และ ปจจัยดานหนึ่งก็คือ การบริหารงานพัสดุที่ดี มีประสิทธิภาพ และเพื่อใหบรรลุผลผูบริหารงาน พัสดุจะตองกําหนดกลยุทธการบริหารพัสดุ กลยุทธการบริหารงานพัสดุ มีวิธีการดําเนินงานดังนี้ คือ 1. พยายามซื้อพัสดุใหไดราคาที่ถูกตอง เพราะการซื้อพัสดุที่มีราคาแพง จะทําใหตนทุนการผลิตสูง มีผลทําใหสินคาขายไดยากขึ้น และกําไรลดลง 2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุคงเหลือสูง หมายถึง มีการใชพัสดุออกไปเร็ว พัสดุคงเหลือมีสภาพคลอง ทําใหไดผลตอบแทนจากการลงทุนเร็ว ในขณะที่คาใชจายในการ เก็บรักษาพัสดุจะต่ําลงดวย จึงมีผลตอกําไรของธุรกิจโดยตรง 3. พยายามใหคาใชจายของการเก็บรักษาต่ํา ถาการเก็บรักษาพัสดุมี ประสิทธิภาพ จะทําใหความเสียหายของพัสดุลดลง และคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา แตถา การรับพัสดุและการเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหมีพัสดุเสียหายได 4. ใหการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง ถาพัสดุขาดแคลนจะทํา ใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ เชน การผลิตอาจตองหยุดชะงัก ผลิตสินคาได ทันตามกําหนด และทําใหเสียโอกาสทางธุรกิจ 5. พัสดุที่ใชมีคุณภาพดีสม่ําเสมอ การใชพัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพคงที่ คุณภาพ7ดีสม่ําเสมอจะเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการผลิต ปองกันการหยุดชะงักและสูญเสีย ไดอยางมาก
  • 19. ห น า | 19ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ การจัดหา ความหมายของการจัดหาพัสดุ “การจัดหา” หมายถึง การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพที่ตองการ ในปริมาณที่ถูกตอง ทันเวลา และในราคาที่เหมาะสม หรือ “การจัดหา” หมายถึง กรรมวิธีในการดําเนินงานเพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุอุปกรณ และการบริการตาง ๆ ภายในขอบเขตของกฎหมายหรือบริการ การจัดหามีวิธีการตาง ๆ ดังนี้คือ 1. การซื้อ ไดแก การซื้อพัสดุทุกชนิดทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการที่ เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ เพื่อใชในหนวยงาน 2. การเชา ไดแก การเชาทรัพยสินตาง ๆ ทั้งสังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพย เชน ที่ดิน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรอุปกรณ เพื่อใชประกอบกิจการ 3. การโอน ไดแก การโอนพัสดุเหลือใชเพื่อนําไปใชในงานอื่น ๆ 4. การจาง ไดแก การจางทําของ จางแรงงาน และจางเหมาตาง ๆ ตลอดจนการ รับขนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 5. การยืม เปนการยืมพัสดุคงรูปและใชสิ้นเปลืองระหวางหนวยงาน 6. การผลิตเอง เปนการจัดทําขึ้นมาเอง เพื่อประหยัดและปองกันการขาดแคลน พัสดุ หรือเพื่อปองกันความลับรั่วไหล 7. การแลกเปลี่ยน ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 นั้น การแลกเปลี่ยนพัสดุใหกระทําไดเฉพาะการแลกเปลี่ยนครุภัณฑกับครุภัณฑ และการ แลกเปลี่ยนวัสดุกับวัสดุ 8. การบริจาค เปนการใหทรัพยสินแกมูลนิธิหรือหนวยราชการ 9. การยึด ซึ่งปกติมักทําในยามสงครามหรือกรณีฉุกเฉิน ซึ่งกระทําโดย หนวยงานของรัฐ วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุ วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุที่สําคัญ มีดังนี้คือ 1. เพื่อใหการผลิตเปนไปอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง 2. เพื่อใหเกิดการประหยัดดานคาใชจายในการจัดหา การเก็บรักษา และตนทุนดาน พัสดุ
  • 20. ห น า | 20ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 3. เพื่อใหไดพัสดุที่มีคุณสมบัติและมาตรฐานตามตองการ 4. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูขายกับผูซื้อ 5. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางแผนกงานตาง ๆ ในธุรกิจ ขั้นตอนในการจัดหาพัสดุ ขั้นตอนในการจัดหาพัสดุ มีดังนี้คือ 1. การสํารวจความตองการ ถาพัสดุที่ตองการมีอยูในคลังพัสดุแลวก็จะ เบิกจายไดทันที แตถาไมมีอยูในคลังพัสดุก็จะตองใหฝายจัดซื้อหรือฝายจัดหาดําเนินงาน จัดซื้อหรือจัดหาตอไป 2. การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะ ถือเปนสิ่งสําคัญและขาดไมไดใน กระบวนการจัดหา เพราะทําใหการจัดหาพัสดุเปนไปอยางรวดเร็ว และทําใหสามารถจัดหา พัสดุไดตรงกับความตองการของผูใช 3. การแสวงหาแหลงขาย ซึ่งแหลงที่ใหความรูเกี่ยวกับพัสดุหาไดจากแหลง ที่เคยติดตอซื้อขายกันมากอน เชน สมุดโทรศัพทหนาเหลือง วารสารการคา และโฆษณาใน หนังสือพิมพ ฯลฯ 4. การวิเคราะหราคา โดยควรนําขอเสนอดานราคาและเงื่อนไขตาง ๆ มา พิจารณา เชน ราคาจากผูขายแตละราย เงื่อนไขการชําระเงิน การใหสวนลด การขนสง และ บริการอื่น ๆ 5. การสั่งซื้อพัสดุ อาจกระทําไดตั้งแตโทรศัพท โทรเลข หรือโทรพิมพ แต ถาเปนการจัดหาจํานวนมาก ๆ ก็มักจะทําการสั่งซื้อเปนลายลักษณอักษร หรือเปนสัญญาซื้อ ขาย 6. การติดตามเรื่อง โดยตองคอยติดตามวาไดรับพัสดุตามใบสั่งซื้อหรือยัง ถายังก็จะตองติดตามสอบถามไปยังผูขาย เพื่อใหไดพัสดุตามกําหนดเวลา 7. การตรวจรับพัสดุ โดยแผนกตรวจรับของคลังพัสดุจะทําการตรวจรับ พัสดุที่สงมานั้นใหมีคุณลักษณะ ปริมาณ สภาพ ที่ถูกตองตรงตามคําสั่งซื้อ 8. การเก็บรักษา โดยจะนําไปเก็บในคลังพัสดุเพื่อรอการเบิกจายตอไป 9. การตรวจสอบใบกํากับสินคา คือ ใบบิลสงสินคาที่แสดงรายละเอียดของ พัสดุที่จัดสงหรือบริการที่ไดรับจากผูขาย ดังนั้นใบสงของจึงเปนใบแสดงสิทธิที่จะรับคาพัสดุ จากผูซื้อ
  • 21. ห น า | 21ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ การจัดการคลังพัสดุ คลังพัสดุ หมายถึง สถานที่เก็บรักษาพัสดุตาง ๆ ใหอยูในสภาพที่ดี และพรอมที่ จะแจกจายไปยังหนวยใช ซึ่งหนาที่พื้นฐานของคลังพัสดุ คือ การเก็บรักษาพัสดุไวอยาง ปลอดภัย พรอมที่จะนําออกมาแจกจายหรือใชประโยชนไดอยางรวดเร็วเมื่อมีผูมาขอเบิก วัตถุประสงคของการจัดการคลังพัสดุ มีดังนี้ 1. เพื่อใหมีพัสดุเพียงพอกับความตองการ 2. เพื่อใหมีการใชพื้นที่คลังพัสดุอยางคุมคาและไดประโยชนสูงสุด 3. เพื่อใหเกิดการประหยัดเวลา แรงงาน และคาขนสง 4. เพื่อปองกันพัสดุสูญหาย เสื่อมสภาพ และประสบอัคคีภัย 5. เพื่อสนับสนุนการใหบริการที่ดีแกลูกคา เพราะมีสินคาพรอมอยูเสมอ การเก็บรักษาพัสดุ การเก็บรักษาพัสดุ หมายถึง การครอบครองและการเก็บรักษาพัสดุเพื่อการใช ประโยชนในอนาคต ซึ่งหมายรวมถึง การเตรียมการหรือการวางแผนในการปฏิบัติ พัสดุที่จะ รับเขาเก็บรักษา กรรมวิธีในการเก็บรักษาและการสงพัสดุใหแกผูซื้อ แบบของการเก็บรักษาพัสดุ โดยทั่วไปการเก็บรักษาพัสดุมี 2 แบบ คือ 1. การเก็บรักษาพัสดุภายในอาคารคลัง หมายถึง การนําพัสดุเขาเก็บรักษา ในอาคารหรือสิ่งปลูกสรางอื่นใดที่มีหลังคาเปนโครงสรางปกคลุมอยู และรวมถึงการเก็บ รักษาพัสดุที่อาศัยสวนหนึ่งสวนใดของอาคารภายใตหลังคาที่อยูนอกผนัง เชน ชายคาหรือ กันสาดในการเก็บรักษา 2. การเก็บรักษาพัสดุกลางแจง มักใชกับพัสดุที่ทนตอความเปลี่ยนแปลง ของดินฟาอากาศและสภาพของดินฟาอากาศไมเปนอันตรายตอคุณลักษณะของพัสดุ ประเภทของอาคารคลังพัสดุ อาคารคลังพัสดุสามารถแยกตามวัตถุประสงคของการใชงานไดดังนี้ 1. คลังทั่วไป เปนคลังที่สรางขึ้นเพื่อใชเก็บรักษาพัสดุหลาย ๆ ชนิด ลักษณะของคลังจะมิดชิด มีทั้งคลังชั้นเดียวและคลังหลายชั้น นอกจากนี้ยังมีบริเวณที่ใชเปน สถานที่ถายเทสินคาและทางเดินตามความเหมาะสม 2. คลังพิเศษ เปนอาคารคลังที่สรางขึ้นเพื่อเก็บรักษาพัสดุที่มีคุณลักษณะ พิเศษเฉพาะอยางเพื่อความปลอดภัยในการเก็บรักษาพัสดุ
  • 22. ห น า | 22ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 พ.ศ. 2552 ___________________________ 6. คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ มีอักษรยอวาอยางไร ก. ควพ. ข. คกว. ค. กวก. ง. กวพ. 7. การซื้อและการจาง กระทําไดกี่วิธี ก. 4 วิธี ข. 5 วิธี ค. 6 วิธี ง. 7 วิธี 8. การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา คือการซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งมีวงเงินเทาใด ก. มีราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ข. มีราคาเกิน 200,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. มีราคาเกิน 300,000 บาท แตไมเกิน 4,000,000 บาท ง. มีราคาเกิน 400,000 บาท แตไมเกิน 4,000,000 บาท 9. การซื้อพัสดุเพื่อใชในราชการลับ การซื้อครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท เปนการซื้อ แบบใด ก. การซื้อโดยวิธีสอบราคา ข. การซื้อโดยวิธีประกวดราคา ค. การซื้อโดยวิธีพิเศษ ง. การซื้อโดยวิธีกรณีพิเศษ 10. การซื้อยาของสวนราชการ ใหจัดซื้อตามชื่อสามัญ (GENERIC NAME) ในบัญชียาหลัก แหงชาติตามที่คณะกรรมการแหงชาติทางดานยากําหนด โดยใหใชเงินงบประมาณจัดซื้อยา ดังกลาวไมนอยกวารอยละเทาใด ก. รอยละ 40 ข. รอยละ 50 ค. รอยละ 60 ง. รอยละ 70
  • 23. ห น า | 23ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 11. การสั่งซื้อหรือสั่งจางครั้งหนึ่ง ในวงเงิน 50,000,000 บาท แตไมเกิน 100,000,000 บาท อยูในอํานาจหนาที่ของใคร ก. หัวหนาสวนราชการ ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีเจาสังกัด ง. ถูกทุกขอ 12. การจางออกแบบและควบคุมงาน กระทําไดกี่วิธี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี 13. การจางออกแบบและควบคุมงานที่ผูวาจางเลือกจางผูใหบริการรายหนึ่งรายใด ซึ่งเคย ทราบหรือเคยเห็นความสามารถแลว และเปนผูใหบริการที่มีหลักฐานดี ใหใชกับการกอสราง ที่มีวงเงินงบประมาณคากอสรางตามโครงการหนึ่ง ๆ ไมเกิน 2,000,000 บาท เปนการจาง แบบใด ก. การจางโดยวิธีตกลง ข. การจางโดยวิธีคัดเลือก ค. การจางโดยวิธีคัดเลือกแบบจํากัดขอกําหนด ง. การจางโดยวิธีพิเศษ 14. ขอใดเปนการวาจางโดยการประกวดแบบ ก. อนุสาวรีย ข. รัฐสภา ค. พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ง. ถูกทุกขอ 15. อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุม งาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใดของวงเงินงบประมาณคากอสราง ก. รอยละ 0.5 ข. รอยละ 1.0 ค. รอยละ 1.5 ง. รอยละ 2.0 16."ราคาสูงสุด" นั้น หมายถึงราคากลาง วงเงินงบประมาณที่มีอยูหรือราคาสูงสุดที่ ราชการจะพึงไดรับตามหลักเกณฑที่ผูใดกําหนด ก. กว.พอ. ข. กวพ.อ. ค. กพร. ง. กพ.ร.
  • 24. ห น า | 24ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบ นักบริหารงานพัสดุ 1. เพราะอะไรการบริหารงานพัสดุจึงมีความสําคัญ (1) เปนงานหลักของธุรกิจ (2) ทําใหหาพัสดุมาใชไดตามปริมาณที่ตองการ (3) เปนปจจัยในการบริหารธุรกิจ (4) ชวยใหการบริหารประสบความสําเร็จ (5) ทําใหใชทรัพยากรที่มีอยูไดประโยชนสูงสุด ตอบ 4 การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจมาก เพราะจะ มีผลตอความอยูรอดหรือกําไรของธุรกิจ โดยพัสดุถือเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหการบริหารธุรกิจ ประสบผลสําเร็จ ซึ่งปจจัยการบริหารธุรกิจ ประกอบดวย คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material), และการบริหาร (Management) 2. ทานสามารถลดตนทุนการผลิตทางดานพัสดุไดอยางไร (1) ประหยัดคาใชจายในการจัดหาและคาเก็บรักษา (2) ลดการสูญเสียจากการเก็บรักษาไมถูกวิธี และซื้อสินคาที่ดีราคาถูก (3) คํานวณความตองการไดถูกตองตามความตองการ (4) ถูกทั้งขอ 1 และ 2 (5) ถูกทั้งขอ 1, 2 และ 3 ตอบ 5 การบริหารงานพัสดุมีบทบาทตอผลการดําเนินงานทั้งตอธุรกิจเอกชนและ หนวยงานของรัฐ ผูบริหารงาน จึงควรใหความสนใจงานดานการพัสดุนับตั้งแตการประมาณ ความตองการ การจัดหาจัดซื้อ การบริหารงาน คลังพัสดุ การจัดการคลังพัสดุ การขนสง การบํารุงรักษา ตลอดจนการจําหนายพัสดุออกจากบัญชี ซึ่งการ บริหารงานพัสดุที่ดีมี ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลจะทําใหสามารถลดตนทุนตางๆ ได 3. ขอใดคือกลยุทธในการบริหารงานพัสดุ (1) ไดแหลงผูขายที่ดี มีพัสดุใชอยางตอเนื่อง (2) มีแรงงานที่มีคุณภาพและไดรับการพัฒนาอยางสม่ําเสมอ (3) ซื้อพัสดุไดในราคาถูก คุณภาพดี (4) ถูกทั้งขอ 1 และ 2 (5) ถูกทั้งขอ 2 และ 3
  • 25. ห น า | 25ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ตอบ 4 กลยุทธในการบริหารงานพัสดุ มีดังนี้ 1. ซื้อพัสดุไดในราคาที่ถูกตองสมคุณภาพ 2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุสูง 3. คาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา 4. มีพัสดุใชอยางตอเนื่อง 5. พัสดุมีคุณภาพดีสม่ําเสมอ 6. ไดแหลงผูขายที่ดี 7. มีการพัฒนาบุคลากรและการจางแรงงานที่เหมาะสม 8. มีระบบการเก็บบันทึกที่ดี 9. มีการกําหนดมาตรฐานของพัสดุ 10. กําหนดใหมีการพยากรณลวงหนา 4. ทําอยางไรการลงทุนในธุรกิจจะไดประโยชนสูงสุด (1) มีการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง (2) มีระบบการบันทึกที่ดี (3) ตนในสินคาต่ําดวยการซื้ออยางประหยัด (4) การเพิ่มผลผลิตและกําไรสวนเกิน (5) คาใชจายในการสั่งซื้อและคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา ตอบ 4 การลงทุนทางธุรกิจใหไดประโยชนสูงสูด สามารถทําได 2 ทาง คือ 1. การเพิ่มกําไรสวนเกินสําหรับแตละหนวยผลิต 2. การเพิ่มผลผลิตใหมากขึ้นโดยใชปจจัยการผลิตเทาเดิม 5.เพราะอะไรจึงกระจายอํานาจในการสั่งซื้อ (1) ทําใหเกิดความสะดวก และสามารถเลือกผูขายไดอยางประสิทธิภาพ (2) ทําใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพ (3) ทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูจัดหากับผูใชเปนไปไดสะดวก (4) ถูกทั้งขอ 1 และ 3 (5) ถูกทั้งขอ 1, 2 และ 3 ตอบ 5 เหตุผลของการกระจายอํานาจในการจัดซื้อ มีดังนี้ 1. ทําใหการติดตอประสานงานระหวางผูจัดหากับผูใชเปนไปไดสะดวก 2. ทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติงาน และกอใหเกิดประสิทธิภาพ ในการดําเนินงาน
  • 26. ห น า | 26ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740