SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
Downloaden Sie, um offline zu lesen
L/O/G/O
ระบบประสาท (Nervous System)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
www.kruseksan.com
www.kruseksan.com
ระบบประสาท (Nervous System)
เพื่อให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ อธิบาย
และจานวนส่วนประกอบ และหน้าที่ของเซลล์ประสาท
เพื่อให้นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบาย
โครงสร้างของสมอง และไขสันหลัง
1
3
จุดประสงค์การเรียนรู้
ระบบประสาท (Nervous System) ทาหน้าที่ ควบคุม
การทางานของทุกระบบ ทางานได้อย่างรวดเร็วร่วมกับระบบต่อม
ไร้ท่อ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่รับและตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก
โดยระบบประสาทของมนุษย์แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาท
ส่วนกลาง (CNS) และระบบประสาทรอบนอก (PNS)
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system : CNS
หรือ somatic nervous system)
เป็นศูนย์กลางควบคุม
การทางานของร่างกาย ซึ่ง
ทางานพร้อมกันทั้งใน
ด้านกลไกและทางเคมี
ภายใต้อานาจจิตใจ
ประกอบด้วย สมองและไขสันหลัง
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS)
ประกอบด้วยเส้นประสาทหลายล้านเส้นจากทั่วร่างกาย ส่งข้อมูล
ในรูปกระแสประสาทออกจากบริเวณศูนย์กลาง มีอวัยวะดังนี้
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS)
เป็นศูนย์สั่งการของร่างกายทั้งหมด สมองของคนหนักประมาณ
1.4 kg สาหรับสัตว์ที่มีการพัฒนาของสมองดี จะมีรอยหยักของ
สมองและอัตราส่วนของสมองต่อน้าหนักมาก แบ่งได้ 3 ส่วน
1.1 สมอง (Brain)
ส่วนกลาง
ส่วนหน้า
ส่วนท้าย
1.1.1 สมองส่วนหน้า ดังตาราง
1.1 สมอง (Brain)
ส่วนของสมอง หน้าที่
ซีรีบรัม (Cerebrum)
*มีขนาดโตที่สุด
ควบคุมพฤติกรรมซับซ้อนเกี่ยวกับความรู้สึกและ
อารมณ์ เช่น การมองเห็น ดมกลิ่ม รับรส สัมผัส
ทาลามัส
(Thalamus)
สถานที่ถ่ายทอดกระแสประสาทเข้าสู่สมองและไข
สันหลัง ก่อนเข้าสู่ซีรีบรัม
ไฮโพทาลามัส
(Hypothalamus)
ศูนย์ควบควมควมหิว อิ่ม กระหายน้้า การหลั่ง
ฮอร์โมน ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย การนอนหลับ
1.1.2 สมองส่วนกลาง ดังตาราง
1.1 สมอง (Brain)
ส่วนของสมอง หน้าที่
Midbrain ควบคุมเกี่ยวกับการมองเห็น
1.1.3 สมองส่วนท้าย ดังตาราง
1.1 สมอง (Brain)
ส่วนของสมอง หน้าที่
ซีรีเบลลัม
(Cerebellum)
ควบคุมการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างและการทรง
ตัว เช่น การเดิน การวิ่ง การขี่จักรยาน
พอนส์
(Pons)
ควบคุมการเคลื่อนไหวบนใบหน้า แสดงสีหน้า
การหลั่งน้้าลาย การเคี้ยว
เมดุลลาออบลองกาตา
(Medulla
Oblongata)
ควบคุมการหายใจ การเต้นของหัวใจ การย่อย
อาหาร สติ การหลับ-ตื่น
: เป็นเนื้อเยื่อประสาทที่ทอดยาวจากสมองไปภายในโพรงกระดูก
สันหลัง กระแสประสาทจาก
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะ
ผ่านไขสันหลัง มีทั้งกระแส
ประสาทเข้าและกระแสประสาท
ออกจากสมองและกระแส
ประสาทที่ติดต่อกับไขสันหลัง
โดยตรง ประกอบด้วย 2 บริเวณ
1.2 ไขสันหลัง (Spinal Cord)
- บริเวณสีเทา (Grey matter) : เป็นบริเวณที่ตัวเซลล์ประสาท
อยู่หน้าแน่น จะถูกล้อมรอบด้วยเนื้อสีขาว
- บริเวณสีขาว
(White matter)
: เป็นที่อยู่ของใย
ประสาท
1.2 ไขสันหลัง (Spinal Cord)
1.3 เซลล์ประสาท (Neuron)
องค์ประกอบของเซลล์ประสาท ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน
1.ตัวเซลล์ (Cell body) : คล้ายเซลล์ทั่วไป มีนิวเคลียส มีหน้าที่
เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและเมแทบอลิซึมของเซลล์ประสาท แหล่งสร้าง
พลังงาน สังเคราะห์โปรตีนที่เป็นสารสื่อประสาท
1.3 เซลล์ประสาท (Neuron)
2. ใยประสาท (Nerve Fiber) : เป็นส่วนของเซลล์ที่ยื่นออกมาจากตัว
เซลล์เป็นแขนงเล็ก ๆ มี 2 ชนิด คือ
2.1 เดนไดรต์ (Dendrite) : นากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์
1.3 เซลล์ประสาท (Neuron)
2.2 แอกซอน (Axon) : นากระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ โดย 1 ตัว
เซลล์ มี 1 แอกซอนเท่านั้น
ใยแอกซอนจะมีความยาวมากกว่าเดรนไดรต์ และมีเยื่อไมอีลิน (Myelin
Sheath) ที่สร้างจากเซลล์ชวาน (Schwann Cell) ห่อหุ้มรอบแอกซอน
เยื่อนี้เป็นสารพวกไขมัน มีความเป็นฉนวนไฟฟ้าได้ดี ทาให้กระแสประสาท
เคลื่อนที่เร็ว ในรอยต่อจะไม่มีเยื่อหุ้ม เรียกว่า Node of Ranvier
1.3 เซลล์ประสาท (Neuron)
เซลล์ประสาท
จาแนกตามหน้าที่
การทางานได้
3 ชนิด
1.3 เซลล์ประสาท (Neuron)
1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (Sensory Neuron) : รับ
ความรู้สึกจากส่วนต่าง ๆ เข้าสู่สมองและไขสันหลัง
1.3 เซลล์ประสาท (Neuron)
2. เซลล์ประสาทสั่งการ (Motor Neuron) : นากระแสประสาท
ออกจากสมองและไขสันหลังไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ ของ
ร่างกาย
1.3 เซลล์ประสาท (Neuron)
3. เซลล์ประสาทประสานงาน (Association Neuron) : เป็นตัว
เชื่อมต่อระหว่างเซลล์รับความรู้สึก และเซลล์สั่งการ
หลักการทางานของระบบประสาทส่วนกลาง
สิ่งเร้าหรือการกระตุ้น จัดเป็นข้อมูลที่เส้นประสาทนาไปยังระบบประสาท
ส่วนกลาง เรียกว่า กระแสประสาท เป็นสัญญาไฟฟ้าที่
นาไปสู่เซลล์ประสาทด้านเดนไดรต์ และเดินทางออกอย่างรวดเร็ว
ทางด้านแอกซอน แอกซอนส่วนใหญ่มีแผ่นไขมันหุ้มไว้เป็นช่วงๆ
แผ่นไขมัน ทาหน้าที่ เป็นฉนวนและทาให้กระแสประสาทเดินทางเร็วขึ้น
ถ้าแผ่นไขมันฉีกขาดอาจทาให้กระแสประสาทช้าลง
ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system : PNS)
ทาหน้าที่ รับและนาความรู้สึกเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
แบ่งตามตาแหน่ง ได้ 2 ชนิด คือ
1. เส้นประสาทสมอง (Cranial Nerve : CN) : รับความรู้สึกเข้า
สมองและนาคาสั่งออกจากสมอง
2. เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve : SN) : รับความรู้สึก
เข้าไขสันหลังและนาคาสั่งออกจากไขสันหลัง
ระบบประสาทรอบนอกจาแนกตามลักษณะการทางานได้ 2 แบบ
คือ ระบบประสาทภายใต้อานาจจิตใจ และนอกอานาจจิตใจ
2.ระบบประสาทรอบนอก (PNS)
ตัวอย่างพฤติกรรมที่เกิดจากระบบประสาทรอบนอก
2.ระบบประสาทรอบนอก (PNS)
ระบบประสาทภายใต้อานาจจิตใจ ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ
การเกาเมื่อมีการคัน
การเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น
- การเดิน
- การวิ่ง
- การยกมือ
- การเขียนหนังสือ
- การวาดภาพ
การกะพริบตาเมื่อมีสิ่งรบกวน
การเต้นของหัวใจ
การบีบตัวของกระเพาะอาหาร
การยกเท้าเมื่อเหยียบตะปู
การกระตุกมือเมื่อสัมผัสวัตถุร้อน
แบ่งตามหน้าที่ ได้ 2 ชนิด
- ส่วนที่รับความรู้สึก (Sensory) : รับความรู้สึกจากสิ่งเร้า
(Stimulus) จากภายนอกหรือภายในร่างกาย
- ส่วนสั่ง (Motor) : การมีการทางาน 2 แบบ ดังนี้
1. ระบบประสาทโซมาติก
(Somatic nervous system : SNS)
2. ระบบประสาทอัตโนวัติ
(Autonomic nervous system : ANS)
2.ระบบประสาทรอบนอก (PNS)
ระบบประสาทโซมาติก (Somatic nervous system : SNS)
ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่อยู่
ภายในอานาจจิตใจ (Voluntary) เช่น บังคับให้เดิน นั่ง ยืน
2.1 ระบบประสาทโซมาติก (SNS)
2.1 ระบบประสาทโซมาติก (SNS)
สิ่งเร้า
หน่วยรับความรู้สึก
(อวัยวะรับสัมผัสต่าง ๆ)
เซลล์ประสาท
รับความรู้สึก
ไขสันหลัง สมอง
เซลล์ประสาท
นาคาสั่ง
หน่วยปฏิบัติงาน
(กล้ามเนื้อลาย)
ปฏิกิริยา
ตอบสนอง
การทางานของระบบประสาทโซมาติกมักอยู่ในอานาจจิตใจ แต่มี
การตอบสนองของกล้ามเนื้อลาย ที่เป็นปฏิกิริยารีเฟลกซ์
(Reflex Action) คือ การทางานนั้นอยู่นอกอานาจจิตใจ ไม่ต้อง
ผ่านสมอง
2.1 ระบบประสาทโซมาติก (SNS)
2.1 ระบบประสาทโซมาติก (SNS)
สิ่งเร้า
หน่วยรับความรู้สึก
(อวัยวะรับสัมผัสต่าง ๆ)
เซลล์ประสาท
รับความรู้สึก
ไขสันหลัง
เซลล์ประสาท
นาคาสั่ง
หน่วยปฏิบัติงาน
(กล้ามเนื้อลาย)
ปฏิกิริยา
ตอบสนอง
ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system : SNS)
: ควบคุมการทางานของอวัยวะภายใน โดยควบคุมกล้ามเนื้อเรียบ
กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะระบบทางเดินอาหาร ระบบหัวใจและ
หลอดเลือด ระบบขับถ่าย และหลอดเลือด การควบคุมเป็นการ
ควบคุมที่อยู่นอกอานาจจิตใจ (Involuntary) แบ่งออกเป็น 2
ระบบ ดังนี้
1.ระบบประสาทซิมพาเธติก (Sympathetic nervous system)
2.ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก (Parasympathetic nervous
system)
2.2 ระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS)
สรุปโครงสร้างและการทางานของระบบประสาท
L/O/G/O
www.kruseksan.com
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
www.kruseksan.com

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อsukanya petin
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 

Was ist angesagt? (20)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 

Andere mochten auch

บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารsripranom srisom
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์Tanchanok Pps
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะMaruko Supertinger
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Tanchanok Pps
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์Tanchanok Pps
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์K.s. Mam
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

Andere mochten auch (20)

ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
OPEC muge102
OPEC muge102OPEC muge102
OPEC muge102
 
Nomenclature
NomenclatureNomenclature
Nomenclature
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
Fibers
FibersFibers
Fibers
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
Physics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summaryPhysics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summary
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 

Ähnlich wie ระบบประสาท (Nervous System)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxnatagarns
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 

Ähnlich wie ระบบประสาท (Nervous System) (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptx
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 

Mehr von ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Mehr von ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Astro1 pdf
Astro1 pdfAstro1 pdf
Astro1 pdf
 
Cm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thaiCm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thai
 

ระบบประสาท (Nervous System)