SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
ทัศนคติ (Attitude)
          ทัศนคติ เป็ นแนวความคิดทีมความสาคัญมากแนวหนึ่งทาง จิตวิทยาสังคม และ การ
                                       ่ ี
สือสาร และมีการใช้ คานี้กนอย่างแพร่หลาย สาหรับการนิยามคาว่า ทัศนคติ นัน ได้มนกวิชาการ
  ่                       ั                                                 ้      ี ั
หลายท่านให้ความหมายไว้ดงนี้ ั
          โรเจอร์ อ้างถึงใน สุรพงษ์ โสธนะเสถียร ได้กล่าวถึง ทัศนคติ ว่า เป็ นดัชนีช้ วา บุคคล
                                                                                     ี่
นัน คิดและรูสกอย่างไร กับคนรอบข้าง วัตถุหรือสิงแวดล ้อมตลอดจนสถานการณ์ต่าง ๆ โดย
    ้        ้ึ                                 ่
ทัศนคติ นันมีรากฐานมาจาก ความเชื่อทีอาจส่งผลถึง พฤติกรรม ในอนาคตได้ ทัศนคติ จึงเป็ น
          ้                              ่
เพียง ความพร้อม ทีจะตอบสนองต่อสิงเร้า และเป็ น มิตของ การประเมิน เพือแสดงว่า ชอบ
                    ่                ่              ิ                    ่
หรือไม่ชอบ ต่อประเด็นหนึ่ง ๆ ซึงถือเป็ น การสือสารภายในบุคคล ทีเ่ ป็ นผลกระทบมาจาก การ
                                ่             ่
รับสาร อันจะมีผลต่อ พฤติกรรม ต่อไป
ทัศนคติ (Attitude)
         ศักดิ์ สุนทรเสณี กล่าวถึง ทัศนคติ ทีเ่ ชื่อมโยงไปถึง พฤติกรรมของบุคคล
ว่า ทัศนคติ หมายถึง
         1.ความสลับซับซ้อนของความรูสก หรือการมีอคติของบุคคล ในการทีจะ
                                        ้ึ                                 ่
สร้างความพร้อม ทีจะกระทาสิงใดสิงหนึ่ง ตามประสบการณ์ของบุคคลนัน ทีได้รบมา
                    ่        ่ ่                                      ้ ่ ั
         2.ความโน้มเอียง ทีจะมีปฏิกรยาต่อสิงใดสิงหนึ่งในทางทีดหรือ ต่อต้าน
                           ่         ิิ     ่ ่                 ่ี
สิงแวดล้อม ทีจะมาถึงทางหนึ่งทางใด
  ่            ่
         3.ในด้าน พฤติกรรม หมายถึง การเตรียมตัว หรือความพร้อมทีจะ      ่
ตอบสนอง
ทัศนคติ (Attitude)


     จากคาจากัดความต่าง ๆเหล่านี้ จะเห็นได้วามีประเด็นร่วมทีสาคัญดังนี้คอ
                                            ่              ่            ื
     1. ความรูสกภายใน
              ้ึ
     2. ความพร้อม หรือ แนวโน้มทีจะมีพฤติกรรมในทางใดทางหนึ่ง
                                 ่
องค์ประกอบของ ทัศนคติ
       จากความหมายของ ทัศนคติ ดังกล่าว ซิมบาโด และ เอบบีเซน สามารถ
แยกองค์ประกอบของ ทัศนคติ ได้ 3 ประการคือ
   องค์ประกอบด้านความรู ้
   ( The Cognitive Component)
   องค์ประกอบด้านความรูสก
                       ้ึ
   ( The Affective Component)
   องค์ประกอบด้านพฤติกรรม
   ( The Behavioral Component)
องค์ประกอบด้านความรู ้ ( The Cognitive Component)

        ส่วนทีเ่ ป็ นความเชื่อของบุคคล ทีเ่ กี่ยวกับสิงต่าง ๆ ทัวไปทังทีชอบ และ
                                                      ่         ่ ้ ่
ไม่ชอบ หากบุคคลมีความรู ้ หรือคิดว่าสิงใดดี มักจะมี ทัศนคติ ทีดต่อสิงนัน แต่
                                       ่                           ่ี ่ ้
หากมีความรูมาก่อนว่า สิงใดไม่ดี ก็จะมี ทัศนคติ ทีไม่ดต่อสิงนัน
           ้             ่                           ่ ี ่ ้




                                                                           กลับ
องค์ประกอบด้านความรูสก ( The AffectiveComponent)
                    ้ึ

       ส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับอารมณ์ทเ่ี กี่ยวเนื่องกับสิงต่าง ๆ ซึงมีผลแตกต่างกัน
                                                      ่         ่
ไปตาม บุคลิกภาพ ของคนนัน เป็ นลักษณะทีเ่ ป็ นค่านิยมของแต่ละบุคคล
                             ้




                                                                            กลับ
องค์ประกอบด้านพฤติกรรม(The Behavioral Component)

        การแสดงออกของบุคคลต่อสิงหนึ่ง หรือบุคคลหนึ่ง ซึงเป็ นผลมาจาก
                                  ่                   ่
องค์ประกอบด้านความรู ้ ความคิด และความรูสก
                                        ้ึ
ประเภทของ ทัศนคติ

บุคคลสามารถแสดง ทัศนคติ ออกได้ 3 ประเภทด้วยกัน คือ

     ทัศนคติ ทางเชิงบวก


     ทัศนคติ ทางเชิงลบ


     ทัศนคติ ที่บคคลไม่แสดงความคิดเห็น
                 ุ
ทัศนคติ ทางเชิงบวก

         เป็ น ทัศนคติ ทีชกนาให้บคคลแสดงออก มีความรูสก หรือ อารมณ์ จาก
                        ่ั       ุ                    ้ึ
สภาพจิตใจโต้ตอบ ในด้านดีต่อบุคคลอืน หรือ เรื่องราวใดเรื่องราวหนึ่ง รวมทัง
                                    ่                                   ้
หน่วยงาน องค์กร สถาบัน และการดาเนิน กิจการของ องค์การ อืน ๆ เช่น กลุม
                                                            ่             ่
ชาวเกษตรกร ย่อมมี ทัศนคติ ทางบวก หรือ มีความรูสกทีดต่อสหกรณ์การเกษตร
                                                 ้ึ ่ ี
และให้ความสนับสนุนร่วมมือด้วย การเข้าเป็ นสมาชิก และร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ
อยู่เสมอ เป็ นต้น




                                                                     กลับ
ทัศนคติ ทางเชิงลบ

         ทัศนคติทางลบ หรือ ไม่ดี คือ ทัศนคติ ทีสร้างความรูสกเป็ นไปในทาง
                                                ่          ้ึ
เสือมเสีย ไม่ได้รบความเชื่อถือ หรือ ไว้วางใจ อาจมีความเคลือบแคลงระแวง
   ่             ั
สงสัย รวมทังเกลียดชังต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เรื่องราว หรือปัญหาใดปัญหาหนึ่ง
            ้
หรือหน่วยงานองค์การ สถาบัน และการดาเนินกิจการขององค์การ และอืน ๆ เช่น
                                                                   ่
พนักงาน เจ้าหน้าทีบางคน อาจมี ทัศนคติ
                   ่
เชิงลบต่อบริษท ก่อให้เกิดอคติข้น
              ั                 ึ
ในจิตใจของเขา จนพยายาม ประพฤติ
และปฏิบตต่อต้าน กฎระเบียบของบริษท
         ัิ                           ั
อยู่เสมอ
                                                                    กลับ
ทัศนคติ ที่บคคลไม่แสดงความคิดเห็น
              ุ

        ประเภททีสาม ซึงเป็ นประเภทสุดท้าย คือ ทัศนคติ ทีบคคลไม่แสดง
                  ่    ่                                 ุ่
ความคิดเห็นในเรื่องราวหรือปัญหาใดปัญหาหนึ่ง หรือต่อบุคคล หน่วยงาน
สถาบัน องค์การ และอืน ๆ โดยสิ้นเชิง เช่น นักศึกษาบางคนอาจมี ทัศนคติ นิ่ง
                     ่
เฉยอย่าง ไม่มความคิดเห็น ต่อปัญหาโต้เถียง เรื่องกฎระเบียบว่า ด้วยเครื่องแบบ
             ี
ของนักศึกษา
การเปลี่ยนทัศนคติ (Attitude change)

         ฮอร์เบริท ซี. เคลแมน ได้อธิบายถึง การเปลียนแปลง ทัศนคติ โดยมี
                                                  ่
ความเชื่อว่า ทัศนคติ อย่างเดียวกัน อาจเกิดในตัวบุคคลด้วยวิธทต่างกัน จาก
                                                           ี ่ี
ความคิดนี้ เฮอร์เบริท ได้แบ่งกระบวนการ เปลียนแปลง ทัศนคติ ออกเป็ น 3
                                            ่
ประการ คือ
        การยินยอม (Compliance)

        การเลียนแบบ (Identification)

        ความต้องการทีอยากจะเปลี่ยน (Internalization)
                     ่
การยินยอม (Compliance)

            การยินยอม จะเกิดได้เมือ บุคคลยอมรับสิงทีมอทธิพลต่อตัวเขา และ
                                  ่               ่ ่ ีิ
มุงหวังจะได้รบ ความพอใจ จากบุคคล หรือ กลุมบุคคลทีมอทธิพลนัน การที่
  ่            ั                               ่         ่ ีิ   ้
บุคคลยอมกระทาตามสิงทีอยากให้เขากระทานัน ไม่ใช่เพราะบุคคลเห็นด้วยกับสิง
                       ่ ่                  ้                                ่
นัน แต่เป็ นเพราะเขาคาดหวังว่า จะได้รบ รางวัล หรือการยอมรับจากผูอนในการ
    ้                                  ั                          ้ ่ื
เห็นด้วย และกระทาตาม ดังนัน ความพอใจ ทีได้รบจาก การยอมกระทาตาม นัน
                             ้                ่ ั                          ้
เป็ นผลมาจาก อิทธิพลทางสังคม หรือ อิทธิพลของสิงทีก่อให้เกิด การยอมรับนัน
                                                   ่ ่                   ้
กล่าวได้วา การยอมกระทาตามนี้ เป็ นกระบวนการเปลียนแปลง ทัศนคติ ซึงจะมี
          ่                                          ่                 ่
พลังผลักดัน ให้บคคลยอม กระทาตาม มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กบจานวนหรือ ความ
                   ุ                                          ั
รุนแรงของรางวัลและ การลงโทษ
                                                                         กลับ
การเลียนแบบ (Identification)

         การเลียนแบบ เกิดขึ้นเมือบุคคลยอมรับสิงเร้า หรือสิงกระตุน ซึงการ
                                  ่                ่      ่         ้ ่
ยอมรับนี้เป็ นผลมาจาก การทีบคคล ต้องการจะสร้างความสัมพันธ์ทดี หรือทีพอใจ
                             ุ่                                 ่ี       ่
ระหว่างตนเองกับผูอน หรือกลุมบุคคลอืน จากการเลียนแบบนี้ ทัศนคติ ของ
                  ้ ่ื        ่           ่
บุคคลจะเปลียน ไป มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กบสิงเร้าให้เกิดการเลียนแบบ กล่าวได้วา
              ่                             ั ่                              ่
การเลียนแบบ เป็ นกระบวน การเปลียนแปลง ทัศนคติ ซึงพลังผลักดัน ให้เกิดการ
                                      ่                 ่
เปลียนแปลงนี้ จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กบ ความน่า โน้มน้าวใจ ของสิงเร้าทีมต่อ
    ่                                   ั                          ่ ่ ี
บุคคลนัน การเลียนแบบจึงขึ้นอยู่กบพลัง (Power) ของผูส่งสาร บุคคลจะ
       ้                            ั                       ้
รับเอาบทบาท ทังหมด ของคนอืน มาเป็ นของตนเอง หรือแลกเปลียนบทบาทซึง
                ้               ่                             ่            ่
กันและกัน บุคคลจะเชื่อในสิงทีตวเอง เลียนแบบ แต่ไม่รวมถึงเนื้อหาและ
                           ่ ่ ั
รายละเอียดในการเลียนแบบ ทัศนคติ ของบุคคล จะเปลียนไป   ่
มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กบ สิงเร้าทีทาให้เกิด การเปลียนแปลง
                       ั ่ ่                     ่                       กลับ
ความต้องการที่อยากจะเปลี่ยน (Internalization)

         เป็ นกระบวนการ ทีเ่ กิดขึ้นเมือบุคคลยอมรับสิงทีมอทธิพลเหนือกว่า ซึง
                                       ่            ่ ่ ีิ                 ่
ตรงกับ ความต้องการภายใน ค่านิยม ของเขา พฤติกรรมทีเ่ ปลียนไป ในลักษณะนี้
                                                            ่
จะสอดคล ้องกับ ค่านิยม ทีบคคลมีอยู่เดิม ความพึงพอใจ ทีได้จะขึ้นอยู่กบ เนื้อหา
                        ุ่                                ่          ั
รายละเอียด ของพฤติกรรมนัน ๆ การเปลียนแปลง ดังกล่าว ถ้าความคิด
                             ้             ่
ความรูสกและพฤติกรรมถูกกระทบไม่วา จะในระดับใดก็ตาม จะมีผลต่อการ
      ้ึ                                 ่
เปลียน ทัศนคติ ทังสิ้น
    ่             ้
บริษทตัวอย่าง ที่ลูกค้ามีทศนคติและพฤติกรรมการบริโภคในทางลบ
    ั                     ั
การปรับกลยุทธ์การตลาดเพือเปลี่ยนทัศนคติของ True move
                       ่
การวิเคราะห์ STP

                       สัญญาณ 3G ทัวถึง มาก
                                   ่




ความนิยมปานกลาง                                  ความนิยมสูง




                      สัญญาณ 3G ทัวถึง ปานกลาง
                                  ่
ทัศนคติ สรุปได้ว่า
          ทัศนคติ เป็ นความสัมพันธ์ทคาบเกี่ยวกันระหว่างความรูสก และความเชื่อ
                                          ่ี                     ้ึ
 หรือการรูของบุคคล กับแนวโน้มทีจะมี พฤติกรรมโต้ตอบ ในทางใดทางหนึ่งต่อ
          ้                      ่
 เป้ าหมายของ ทัศนคติ นัน  ้
          โดยสรุป ทัศนคติ ในงานทีน้ ีเป็ นเรื่องของจิตใจ ท่าที ความรูสกนึกคิด และ
                                   ่                                 ้ึ
 ความโน้มเอียงของบุคคล ทีมต่อข้อมูลข่าวสาร และการเปิ ดรับ รายการกรอง
                             ่ ี
 สถานการณ์ ทีได้รบมา ซึงเป็ นไปได้ทงเชิงบวก และเชิงลบ ทัศนคติ มีผลให้มการ
              ่ ั        ่             ั้                                   ี
 แสดง พฤติกรรม ออกมา จะเห็นได้วา ทัศนคติ ประกอบด้วย ความคิดทีมผลต่อ
                                     ่                                  ่ ี
 อารมณ์ และความรูสกนัน ออกมาโดยทางพฤติกรรม
                    ้ึ ้
คาถามอภิปราย


      1.องค์ประกอบของทัศนคติมีก่ดาน
                                  ี ้
      2.จงยงตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ที่มีผลต่อ ทัศนคติดานความรู ้
                                                 ้
      3.การเปลี่ยนทัศนคติ แบ่งออกเป็ นกี่ประการ

More Related Content

What's hot

สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพMediaDonuts
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคRatchadaporn Khwanpanya
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ Kat Suksrikong
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์khanidthakpt
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 

What's hot (20)

Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 

Viewers also liked

วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดบทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดetcenterrbru
 
การตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อtiffany14021975
 
20 tips for customer service by tk 2012
20 tips for customer service by tk 201220 tips for customer service by tk 2012
20 tips for customer service by tk 2012Taweewan Kamonbutr
 
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketพฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketfon_ii
 
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและเรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและsupatra39
 
Public top sv_service excellence nov5_2012_to slideshare_n3
Public top sv_service excellence nov5_2012_to slideshare_n3Public top sv_service excellence nov5_2012_to slideshare_n3
Public top sv_service excellence nov5_2012_to slideshare_n3Taweewan Kamonbutr
 
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)Ritthiporn Lekdee
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจtanongsak
 
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคเรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคsupatra39
 
Marketing Consumer Buying Behaviour
Marketing   Consumer Buying BehaviourMarketing   Consumer Buying Behaviour
Marketing Consumer Buying Behaviourshrirangan1986
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
Personality and consumer behavior
Personality and consumer behaviorPersonality and consumer behavior
Personality and consumer behaviorAbhipsha Mishra
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคWut Sookcharoen
 

Viewers also liked (20)

วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดบทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
 
การตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อ
 
20 tips for customer service by tk 2012
20 tips for customer service by tk 201220 tips for customer service by tk 2012
20 tips for customer service by tk 2012
 
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketพฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
 
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและเรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
 
Public top sv_service excellence nov5_2012_to slideshare_n3
Public top sv_service excellence nov5_2012_to slideshare_n3Public top sv_service excellence nov5_2012_to slideshare_n3
Public top sv_service excellence nov5_2012_to slideshare_n3
 
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
 
Ciencias politica
Ciencias politicaCiencias politica
Ciencias politica
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)
 
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
ทฤษฎีความต้องการและแรงจูงใจ
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคเรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
 
Marketing Consumer Buying Behaviour
Marketing   Consumer Buying BehaviourMarketing   Consumer Buying Behaviour
Marketing Consumer Buying Behaviour
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
Personality and consumer behavior
Personality and consumer behaviorPersonality and consumer behavior
Personality and consumer behavior
 
Perception Ppt New
Perception Ppt NewPerception Ppt New
Perception Ppt New
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 

Similar to ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1

การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allKruKaiNui
 

Similar to ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1 (20)

Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
Chapter 11
Chapter 11Chapter 11
Chapter 11
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Affective2
Affective2Affective2
Affective2
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 
Bloom's taxonomy for learning
Bloom's taxonomy for learningBloom's taxonomy for learning
Bloom's taxonomy for learning
 

ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1

  • 1.
  • 2. ทัศนคติ (Attitude) ทัศนคติ เป็ นแนวความคิดทีมความสาคัญมากแนวหนึ่งทาง จิตวิทยาสังคม และ การ ่ ี สือสาร และมีการใช้ คานี้กนอย่างแพร่หลาย สาหรับการนิยามคาว่า ทัศนคติ นัน ได้มนกวิชาการ ่ ั ้ ี ั หลายท่านให้ความหมายไว้ดงนี้ ั โรเจอร์ อ้างถึงใน สุรพงษ์ โสธนะเสถียร ได้กล่าวถึง ทัศนคติ ว่า เป็ นดัชนีช้ วา บุคคล ี่ นัน คิดและรูสกอย่างไร กับคนรอบข้าง วัตถุหรือสิงแวดล ้อมตลอดจนสถานการณ์ต่าง ๆ โดย ้ ้ึ ่ ทัศนคติ นันมีรากฐานมาจาก ความเชื่อทีอาจส่งผลถึง พฤติกรรม ในอนาคตได้ ทัศนคติ จึงเป็ น ้ ่ เพียง ความพร้อม ทีจะตอบสนองต่อสิงเร้า และเป็ น มิตของ การประเมิน เพือแสดงว่า ชอบ ่ ่ ิ ่ หรือไม่ชอบ ต่อประเด็นหนึ่ง ๆ ซึงถือเป็ น การสือสารภายในบุคคล ทีเ่ ป็ นผลกระทบมาจาก การ ่ ่ รับสาร อันจะมีผลต่อ พฤติกรรม ต่อไป
  • 3. ทัศนคติ (Attitude) ศักดิ์ สุนทรเสณี กล่าวถึง ทัศนคติ ทีเ่ ชื่อมโยงไปถึง พฤติกรรมของบุคคล ว่า ทัศนคติ หมายถึง 1.ความสลับซับซ้อนของความรูสก หรือการมีอคติของบุคคล ในการทีจะ ้ึ ่ สร้างความพร้อม ทีจะกระทาสิงใดสิงหนึ่ง ตามประสบการณ์ของบุคคลนัน ทีได้รบมา ่ ่ ่ ้ ่ ั 2.ความโน้มเอียง ทีจะมีปฏิกรยาต่อสิงใดสิงหนึ่งในทางทีดหรือ ต่อต้าน ่ ิิ ่ ่ ่ี สิงแวดล้อม ทีจะมาถึงทางหนึ่งทางใด ่ ่ 3.ในด้าน พฤติกรรม หมายถึง การเตรียมตัว หรือความพร้อมทีจะ ่ ตอบสนอง
  • 4. ทัศนคติ (Attitude) จากคาจากัดความต่าง ๆเหล่านี้ จะเห็นได้วามีประเด็นร่วมทีสาคัญดังนี้คอ ่ ่ ื 1. ความรูสกภายใน ้ึ 2. ความพร้อม หรือ แนวโน้มทีจะมีพฤติกรรมในทางใดทางหนึ่ง ่
  • 5. องค์ประกอบของ ทัศนคติ จากความหมายของ ทัศนคติ ดังกล่าว ซิมบาโด และ เอบบีเซน สามารถ แยกองค์ประกอบของ ทัศนคติ ได้ 3 ประการคือ องค์ประกอบด้านความรู ้ ( The Cognitive Component) องค์ประกอบด้านความรูสก ้ึ ( The Affective Component) องค์ประกอบด้านพฤติกรรม ( The Behavioral Component)
  • 6. องค์ประกอบด้านความรู ้ ( The Cognitive Component) ส่วนทีเ่ ป็ นความเชื่อของบุคคล ทีเ่ กี่ยวกับสิงต่าง ๆ ทัวไปทังทีชอบ และ ่ ่ ้ ่ ไม่ชอบ หากบุคคลมีความรู ้ หรือคิดว่าสิงใดดี มักจะมี ทัศนคติ ทีดต่อสิงนัน แต่ ่ ่ี ่ ้ หากมีความรูมาก่อนว่า สิงใดไม่ดี ก็จะมี ทัศนคติ ทีไม่ดต่อสิงนัน ้ ่ ่ ี ่ ้ กลับ
  • 7. องค์ประกอบด้านความรูสก ( The AffectiveComponent) ้ึ ส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับอารมณ์ทเ่ี กี่ยวเนื่องกับสิงต่าง ๆ ซึงมีผลแตกต่างกัน ่ ่ ไปตาม บุคลิกภาพ ของคนนัน เป็ นลักษณะทีเ่ ป็ นค่านิยมของแต่ละบุคคล ้ กลับ
  • 8. องค์ประกอบด้านพฤติกรรม(The Behavioral Component) การแสดงออกของบุคคลต่อสิงหนึ่ง หรือบุคคลหนึ่ง ซึงเป็ นผลมาจาก ่ ่ องค์ประกอบด้านความรู ้ ความคิด และความรูสก ้ึ
  • 9. ประเภทของ ทัศนคติ บุคคลสามารถแสดง ทัศนคติ ออกได้ 3 ประเภทด้วยกัน คือ ทัศนคติ ทางเชิงบวก ทัศนคติ ทางเชิงลบ ทัศนคติ ที่บคคลไม่แสดงความคิดเห็น ุ
  • 10. ทัศนคติ ทางเชิงบวก เป็ น ทัศนคติ ทีชกนาให้บคคลแสดงออก มีความรูสก หรือ อารมณ์ จาก ่ั ุ ้ึ สภาพจิตใจโต้ตอบ ในด้านดีต่อบุคคลอืน หรือ เรื่องราวใดเรื่องราวหนึ่ง รวมทัง ่ ้ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน และการดาเนิน กิจการของ องค์การ อืน ๆ เช่น กลุม ่ ่ ชาวเกษตรกร ย่อมมี ทัศนคติ ทางบวก หรือ มีความรูสกทีดต่อสหกรณ์การเกษตร ้ึ ่ ี และให้ความสนับสนุนร่วมมือด้วย การเข้าเป็ นสมาชิก และร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ อยู่เสมอ เป็ นต้น กลับ
  • 11. ทัศนคติ ทางเชิงลบ ทัศนคติทางลบ หรือ ไม่ดี คือ ทัศนคติ ทีสร้างความรูสกเป็ นไปในทาง ่ ้ึ เสือมเสีย ไม่ได้รบความเชื่อถือ หรือ ไว้วางใจ อาจมีความเคลือบแคลงระแวง ่ ั สงสัย รวมทังเกลียดชังต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เรื่องราว หรือปัญหาใดปัญหาหนึ่ง ้ หรือหน่วยงานองค์การ สถาบัน และการดาเนินกิจการขององค์การ และอืน ๆ เช่น ่ พนักงาน เจ้าหน้าทีบางคน อาจมี ทัศนคติ ่ เชิงลบต่อบริษท ก่อให้เกิดอคติข้น ั ึ ในจิตใจของเขา จนพยายาม ประพฤติ และปฏิบตต่อต้าน กฎระเบียบของบริษท ัิ ั อยู่เสมอ กลับ
  • 12. ทัศนคติ ที่บคคลไม่แสดงความคิดเห็น ุ ประเภททีสาม ซึงเป็ นประเภทสุดท้าย คือ ทัศนคติ ทีบคคลไม่แสดง ่ ่ ุ่ ความคิดเห็นในเรื่องราวหรือปัญหาใดปัญหาหนึ่ง หรือต่อบุคคล หน่วยงาน สถาบัน องค์การ และอืน ๆ โดยสิ้นเชิง เช่น นักศึกษาบางคนอาจมี ทัศนคติ นิ่ง ่ เฉยอย่าง ไม่มความคิดเห็น ต่อปัญหาโต้เถียง เรื่องกฎระเบียบว่า ด้วยเครื่องแบบ ี ของนักศึกษา
  • 13. การเปลี่ยนทัศนคติ (Attitude change) ฮอร์เบริท ซี. เคลแมน ได้อธิบายถึง การเปลียนแปลง ทัศนคติ โดยมี ่ ความเชื่อว่า ทัศนคติ อย่างเดียวกัน อาจเกิดในตัวบุคคลด้วยวิธทต่างกัน จาก ี ่ี ความคิดนี้ เฮอร์เบริท ได้แบ่งกระบวนการ เปลียนแปลง ทัศนคติ ออกเป็ น 3 ่ ประการ คือ การยินยอม (Compliance) การเลียนแบบ (Identification) ความต้องการทีอยากจะเปลี่ยน (Internalization) ่
  • 14. การยินยอม (Compliance) การยินยอม จะเกิดได้เมือ บุคคลยอมรับสิงทีมอทธิพลต่อตัวเขา และ ่ ่ ่ ีิ มุงหวังจะได้รบ ความพอใจ จากบุคคล หรือ กลุมบุคคลทีมอทธิพลนัน การที่ ่ ั ่ ่ ีิ ้ บุคคลยอมกระทาตามสิงทีอยากให้เขากระทานัน ไม่ใช่เพราะบุคคลเห็นด้วยกับสิง ่ ่ ้ ่ นัน แต่เป็ นเพราะเขาคาดหวังว่า จะได้รบ รางวัล หรือการยอมรับจากผูอนในการ ้ ั ้ ่ื เห็นด้วย และกระทาตาม ดังนัน ความพอใจ ทีได้รบจาก การยอมกระทาตาม นัน ้ ่ ั ้ เป็ นผลมาจาก อิทธิพลทางสังคม หรือ อิทธิพลของสิงทีก่อให้เกิด การยอมรับนัน ่ ่ ้ กล่าวได้วา การยอมกระทาตามนี้ เป็ นกระบวนการเปลียนแปลง ทัศนคติ ซึงจะมี ่ ่ ่ พลังผลักดัน ให้บคคลยอม กระทาตาม มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กบจานวนหรือ ความ ุ ั รุนแรงของรางวัลและ การลงโทษ กลับ
  • 15. การเลียนแบบ (Identification) การเลียนแบบ เกิดขึ้นเมือบุคคลยอมรับสิงเร้า หรือสิงกระตุน ซึงการ ่ ่ ่ ้ ่ ยอมรับนี้เป็ นผลมาจาก การทีบคคล ต้องการจะสร้างความสัมพันธ์ทดี หรือทีพอใจ ุ่ ่ี ่ ระหว่างตนเองกับผูอน หรือกลุมบุคคลอืน จากการเลียนแบบนี้ ทัศนคติ ของ ้ ่ื ่ ่ บุคคลจะเปลียน ไป มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กบสิงเร้าให้เกิดการเลียนแบบ กล่าวได้วา ่ ั ่ ่ การเลียนแบบ เป็ นกระบวน การเปลียนแปลง ทัศนคติ ซึงพลังผลักดัน ให้เกิดการ ่ ่ เปลียนแปลงนี้ จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กบ ความน่า โน้มน้าวใจ ของสิงเร้าทีมต่อ ่ ั ่ ่ ี บุคคลนัน การเลียนแบบจึงขึ้นอยู่กบพลัง (Power) ของผูส่งสาร บุคคลจะ ้ ั ้ รับเอาบทบาท ทังหมด ของคนอืน มาเป็ นของตนเอง หรือแลกเปลียนบทบาทซึง ้ ่ ่ ่ กันและกัน บุคคลจะเชื่อในสิงทีตวเอง เลียนแบบ แต่ไม่รวมถึงเนื้อหาและ ่ ่ ั รายละเอียดในการเลียนแบบ ทัศนคติ ของบุคคล จะเปลียนไป ่ มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กบ สิงเร้าทีทาให้เกิด การเปลียนแปลง ั ่ ่ ่ กลับ
  • 16. ความต้องการที่อยากจะเปลี่ยน (Internalization) เป็ นกระบวนการ ทีเ่ กิดขึ้นเมือบุคคลยอมรับสิงทีมอทธิพลเหนือกว่า ซึง ่ ่ ่ ีิ ่ ตรงกับ ความต้องการภายใน ค่านิยม ของเขา พฤติกรรมทีเ่ ปลียนไป ในลักษณะนี้ ่ จะสอดคล ้องกับ ค่านิยม ทีบคคลมีอยู่เดิม ความพึงพอใจ ทีได้จะขึ้นอยู่กบ เนื้อหา ุ่ ่ ั รายละเอียด ของพฤติกรรมนัน ๆ การเปลียนแปลง ดังกล่าว ถ้าความคิด ้ ่ ความรูสกและพฤติกรรมถูกกระทบไม่วา จะในระดับใดก็ตาม จะมีผลต่อการ ้ึ ่ เปลียน ทัศนคติ ทังสิ้น ่ ้
  • 19. การวิเคราะห์ STP สัญญาณ 3G ทัวถึง มาก ่ ความนิยมปานกลาง ความนิยมสูง สัญญาณ 3G ทัวถึง ปานกลาง ่
  • 20. ทัศนคติ สรุปได้ว่า ทัศนคติ เป็ นความสัมพันธ์ทคาบเกี่ยวกันระหว่างความรูสก และความเชื่อ ่ี ้ึ หรือการรูของบุคคล กับแนวโน้มทีจะมี พฤติกรรมโต้ตอบ ในทางใดทางหนึ่งต่อ ้ ่ เป้ าหมายของ ทัศนคติ นัน ้ โดยสรุป ทัศนคติ ในงานทีน้ ีเป็ นเรื่องของจิตใจ ท่าที ความรูสกนึกคิด และ ่ ้ึ ความโน้มเอียงของบุคคล ทีมต่อข้อมูลข่าวสาร และการเปิ ดรับ รายการกรอง ่ ี สถานการณ์ ทีได้รบมา ซึงเป็ นไปได้ทงเชิงบวก และเชิงลบ ทัศนคติ มีผลให้มการ ่ ั ่ ั้ ี แสดง พฤติกรรม ออกมา จะเห็นได้วา ทัศนคติ ประกอบด้วย ความคิดทีมผลต่อ ่ ่ ี อารมณ์ และความรูสกนัน ออกมาโดยทางพฤติกรรม ้ึ ้
  • 21. คาถามอภิปราย 1.องค์ประกอบของทัศนคติมีก่ดาน ี ้ 2.จงยงตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ที่มีผลต่อ ทัศนคติดานความรู ้ ้ 3.การเปลี่ยนทัศนคติ แบ่งออกเป็ นกี่ประการ