SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
1. สมการ 
ความหมาย : สมการคือจำานวนที่ 
เท่ากันตั้งแต่ 2 จำานวนขนึ้ไป โดยปกติจะ 
มีตัวแปร (Variable) อยดู่้วย เช่น 5x = 
10 , 5x = y , x2 + y2 = 25 เหล่านี้ 
เป็นต้น สมการจึงประกอบด้วยจำานวนทาง 
ขวาและจำานวนทางซ้าย (ในกรณีที่สมการ 
ของจำานวน 2 จำานวน ในสมการ 2 
จำานวน จะประกอบด้วย ตัวแปร และคา่ 
คงที่ โดยตัวแปรจะมีคา่เปลี่ยนไปได้ใน 
ขณะที่คา่คงที่จะเปลี่ยนคา่ไม่ได้ ส่วน 
ตัวเลขที่เปน็ตัวคณูหรือตัวหารของตัวแปร
คุณสมบัติของสมการ 
(1) คุณสมบัติการเท่ากัน 
ในกรณีที่พจิารณาทีละ 2 จำานวน 
จำานวนทางซ้ายจะเท่ากันกับจำานวนทาง 
ขวา และถ้าจำานวนที่ 1 เท่ากับ จำานวน 
ที่ 2 จำานวนที่ 2 เท่ากับ จำานวนที่ 3 
แล้วละก็ จำานวนที่ 1 จะเท่ากับ จำานวน 
ที่ 3 โดยไม่ต้องพสิูจน์ (เป็น axiom)
(2) คุณสมบัติการบวก 
ถ้าเอาตัวเลขจำานวนเดียวกัน 
ไปบวกทางซ้ายและทางขวาของสมการ 
จำานวนเลขของสมการยังคงเท่ากัน 
(3) คุณสมบัติการลบ 
ถ้าเอาตัวเลขจำานวนเดียวกันไป 
ลบทางซา้ยและทางขวาของสมการ 
จำานวนเลขของสมการยังคงเท่ากัน
(4) คุณสมบัติของการคูณ 
ถ้าเอาตัวเลขจำานวนเดียวกันไปคูณ 
ทางซ้ายและทางขวาของสมการ จำานวน 
เลขของสมการยังคงเท่ากัน 
(5) คุณสมบัติของการหาร 
ถ้าเอาตัวเลขจำานวนเดียวกันไปหาร 
ทางซา้ยและทางขวาของสมการ จำานวน 
เลขของสมการยังคงเท่ากัน
การแก้สมการ 
การแก้สมการ หมายถึง การหา 
ค่าของตัวแปรในสมการซึ่งแบ่งได้เป็น 
หลายแบบ คือ 
(1) การแก้สมการชั้นเดียว 
หมายถึง การแก้สมการที่มีตัวแปรเพียงตัว 
เดียว โดยอาศัยคณุสมบตัิของสมการ
(2) การแก้สมการกำาลังสอง หมาย 
ถึง การแก้สมการที่มีตัวแปรตัวเดียว 
แต่อยใู่นรูปยกกำาลังสอง จากสมการ 
มาตรฐาน 
สมการมาตรฐาน : ax2 + bx 
สามารถแก้สมการกำาลังสองได้ 2 
+ c = 0 
วิธี คือ 
b b 4ac 2- ± - 
(1) โดยการแย2 
a 
กตัวประกอบ 
(2) โดยการใช้สูตร x = 
จากสมการมาตรฐาน ax2 + bx + 
c = 0
(3) การแก้สมการเชิงเส้น 
สองตัวแปร หมายถึงสมการที่มี 
ตัวแปร 2 ตัว โดยเลขชกี้ำาลังของตัวแปร 
แต่ละตัวเปน็หนึ่ง และจะมี 2 สมการ 
รูปทั่วไปโดขยอมีงรูสปมทั่วกาไป รเชิคอื 
งเส้น 2 
ตัวแปร 
ax + by = c 
………………….(1) 
dx + ey = f …………… 
…….(2)
สามารถหาค่าตัวแปร (x, y) 
ได้ 2 วิธี คือ 
(1) โดยการเขียนกราฟ ของ 
สมการทั้งสองลงบนแกนคเู่ดียวกัน จะได้ 
กราฟเป็นสมการเสน้ตรง 2 เส้น และจุดตัด 
ของเส้นตรงทั้งสองคือค่าของตัวแปร 
(2) โดยวิธีทางพีชคณิต ที่ต้อง 
กำาจัดตัวแปรตัวหนึ่งให้หมดไป และหาคา่ 
ของตัวแปรทีละตัว โดยอาศัยคุณสมบตัิของ 
สมการ 
ค่า
(4) การแก้สมการเชิงเส้น 3 
ตัวแปร หมายถึง การแก้สมการที่ตัวแปร 
3 ตัว ซึ่งแต่ละตัวมีเลขยกกำาลัง 1 เท่านั้น 
และมักจะมี 3 สมการ โดยมรีูปทั่ว ไป ดังนี้ 
รแูปลทะมวัั่ไจปะขมอี 3ง สมกกาาร เโชดิงเมสรี้นูท 3ั่ไตปัว ดแัปนรี้ 
a1x + b1y + c1z = k1 
……………………(1) 
a2x + b2y + c2z = k2 
สามารถแก้สมการได้โดยหาค่าตัวแปรที 
……………………(2) 
ละตัว จากการทำาให้ตัวแปรที่เหลือหมดไป 
โดยอาศัยคณุสมบตัิของสมการ 
a3x + b3y + c3z = k3 
……………………(3)
2. อสมการ 
ความหมาย : อสมการ หมายถึง 
จำานวนเลข 2 จำานวนขึ้นไป ที่มีคา่มาก 
น้อยต่างกัน
การหาค่าตัวแปรจาก 
อสมการ 
(1) การบวกและลบอสมการ 
สมารถกระทำาได้เช่นเดียวกับสมการ 
กำาลังหนึ่งทั่วไป โดยย้ายจาก + ไป – 
หรือ จาก – ไป + 
(2) การคูณและหาร การย้าย 
ตัวแปรที่ยังไม่ทราบค่าไปคณูหรือหาร 
ต้องใช้ตัวแปรกำาลังสองเท่านั้น

More Related Content

What's hot

โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์PinNii Natthaya
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 

What's hot (20)

วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 

Similar to สมการและอสมการ

คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมaass012
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงkruaunpwk
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สองlekho
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯทับทิม เจริญตา
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02witthawat silad
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กSiri Siripirom
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1yinqpant
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
เมทริกซ์
เมทริกซ์เมทริกซ์
เมทริกซ์Terayut Jeenjam
 

Similar to สมการและอสมการ (20)

คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
4339
43394339
4339
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
เมทริกซ์
เมทริกซ์เมทริกซ์
เมทริกซ์
 
เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์
 

สมการและอสมการ

  • 1.
  • 2. 1. สมการ ความหมาย : สมการคือจำานวนที่ เท่ากันตั้งแต่ 2 จำานวนขนึ้ไป โดยปกติจะ มีตัวแปร (Variable) อยดู่้วย เช่น 5x = 10 , 5x = y , x2 + y2 = 25 เหล่านี้ เป็นต้น สมการจึงประกอบด้วยจำานวนทาง ขวาและจำานวนทางซ้าย (ในกรณีที่สมการ ของจำานวน 2 จำานวน ในสมการ 2 จำานวน จะประกอบด้วย ตัวแปร และคา่ คงที่ โดยตัวแปรจะมีคา่เปลี่ยนไปได้ใน ขณะที่คา่คงที่จะเปลี่ยนคา่ไม่ได้ ส่วน ตัวเลขที่เปน็ตัวคณูหรือตัวหารของตัวแปร
  • 3. คุณสมบัติของสมการ (1) คุณสมบัติการเท่ากัน ในกรณีที่พจิารณาทีละ 2 จำานวน จำานวนทางซ้ายจะเท่ากันกับจำานวนทาง ขวา และถ้าจำานวนที่ 1 เท่ากับ จำานวน ที่ 2 จำานวนที่ 2 เท่ากับ จำานวนที่ 3 แล้วละก็ จำานวนที่ 1 จะเท่ากับ จำานวน ที่ 3 โดยไม่ต้องพสิูจน์ (เป็น axiom)
  • 4. (2) คุณสมบัติการบวก ถ้าเอาตัวเลขจำานวนเดียวกัน ไปบวกทางซ้ายและทางขวาของสมการ จำานวนเลขของสมการยังคงเท่ากัน (3) คุณสมบัติการลบ ถ้าเอาตัวเลขจำานวนเดียวกันไป ลบทางซา้ยและทางขวาของสมการ จำานวนเลขของสมการยังคงเท่ากัน
  • 5. (4) คุณสมบัติของการคูณ ถ้าเอาตัวเลขจำานวนเดียวกันไปคูณ ทางซ้ายและทางขวาของสมการ จำานวน เลขของสมการยังคงเท่ากัน (5) คุณสมบัติของการหาร ถ้าเอาตัวเลขจำานวนเดียวกันไปหาร ทางซา้ยและทางขวาของสมการ จำานวน เลขของสมการยังคงเท่ากัน
  • 6. การแก้สมการ การแก้สมการ หมายถึง การหา ค่าของตัวแปรในสมการซึ่งแบ่งได้เป็น หลายแบบ คือ (1) การแก้สมการชั้นเดียว หมายถึง การแก้สมการที่มีตัวแปรเพียงตัว เดียว โดยอาศัยคณุสมบตัิของสมการ
  • 7. (2) การแก้สมการกำาลังสอง หมาย ถึง การแก้สมการที่มีตัวแปรตัวเดียว แต่อยใู่นรูปยกกำาลังสอง จากสมการ มาตรฐาน สมการมาตรฐาน : ax2 + bx สามารถแก้สมการกำาลังสองได้ 2 + c = 0 วิธี คือ b b 4ac 2- ± - (1) โดยการแย2 a กตัวประกอบ (2) โดยการใช้สูตร x = จากสมการมาตรฐาน ax2 + bx + c = 0
  • 8. (3) การแก้สมการเชิงเส้น สองตัวแปร หมายถึงสมการที่มี ตัวแปร 2 ตัว โดยเลขชกี้ำาลังของตัวแปร แต่ละตัวเปน็หนึ่ง และจะมี 2 สมการ รูปทั่วไปโดขยอมีงรูสปมทั่วกาไป รเชิคอื งเส้น 2 ตัวแปร ax + by = c ………………….(1) dx + ey = f …………… …….(2)
  • 9. สามารถหาค่าตัวแปร (x, y) ได้ 2 วิธี คือ (1) โดยการเขียนกราฟ ของ สมการทั้งสองลงบนแกนคเู่ดียวกัน จะได้ กราฟเป็นสมการเสน้ตรง 2 เส้น และจุดตัด ของเส้นตรงทั้งสองคือค่าของตัวแปร (2) โดยวิธีทางพีชคณิต ที่ต้อง กำาจัดตัวแปรตัวหนึ่งให้หมดไป และหาคา่ ของตัวแปรทีละตัว โดยอาศัยคุณสมบตัิของ สมการ ค่า
  • 10. (4) การแก้สมการเชิงเส้น 3 ตัวแปร หมายถึง การแก้สมการที่ตัวแปร 3 ตัว ซึ่งแต่ละตัวมีเลขยกกำาลัง 1 เท่านั้น และมักจะมี 3 สมการ โดยมรีูปทั่ว ไป ดังนี้ รแูปลทะมวัั่ไจปะขมอี 3ง สมกกาาร เโชดิงเมสรี้นูท 3ั่ไตปัว ดแัปนรี้ a1x + b1y + c1z = k1 ……………………(1) a2x + b2y + c2z = k2 สามารถแก้สมการได้โดยหาค่าตัวแปรที ……………………(2) ละตัว จากการทำาให้ตัวแปรที่เหลือหมดไป โดยอาศัยคณุสมบตัิของสมการ a3x + b3y + c3z = k3 ……………………(3)
  • 11. 2. อสมการ ความหมาย : อสมการ หมายถึง จำานวนเลข 2 จำานวนขึ้นไป ที่มีคา่มาก น้อยต่างกัน
  • 12. การหาค่าตัวแปรจาก อสมการ (1) การบวกและลบอสมการ สมารถกระทำาได้เช่นเดียวกับสมการ กำาลังหนึ่งทั่วไป โดยย้ายจาก + ไป – หรือ จาก – ไป + (2) การคูณและหาร การย้าย ตัวแปรที่ยังไม่ทราบค่าไปคณูหรือหาร ต้องใช้ตัวแปรกำาลังสองเท่านั้น