SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
อ.สุชีรา ธนาวุฒิ
โปรแกรมวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
 การประกันภัย หมายถึง การสัญญาว่าถ้าภัยเกิด
ขึ้นและมีความเสียหายเกิดขึ้นด้วยนั้น ผู้เอา
ประกันภัยไม่ต้องเผชิญหรือรับภาระความเสียหาย
แต่เพียงผู้เดียว ผู้รับประกันภัยจะชดใช้ค่า
เสียหายให้ตามสัญญาประกันภัยที่ได้ทำากันไว้
 ตัวอย่าง นายกบ ทำาประกันภัยรถยนต์ไว้ ซึ่งไม่
ได้หมายความว่ารถยนต์ของนายกบ จะไม่เกิด
อุบัติเหตุหรือเกิดความเสียหาย การทำาประกันภัย
รถยนต์ของนายกบ เป็นหลักประกันว่าหาก
รถยนต์ของนายกบ ประสบอุบัติเหตุเกิดความเสีย
หายตามเงื่อนไขที่ตกลงตามสัญญาประกันภัยเมื่อ
 ในพระคัมภีร์ไบเบิลเกี่ยวกับโจเซฟและความอดอยาก
ในประเทศอียิปต์ ซึ่งถือว่าเป็นที่มีของการประกันภัย
อันดับต้น ๆ เท่าที่ถูกบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ เล่ากัน
ว่าคืนวันหนึ่งฟาโรห์ทรงพระสุบินว่า มีวัวอ้วนเจ็ดตัว
กำาลังถูกวัวผอมเจ็ดตัวกัดกิน โจเซฟทำานายฝันว่า
ประเทศอียิปต์จะมีพืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์เป็น
เวลาเจ็ดปี และต่อจากนั้นจะเกิดความแห้งแล้ว
ประชาชนจะอดอยากปากแห้งอีกเป็นเวลาเจ็ดปี ดังนั้น
จึงได้ทูลเสนอต่อกษัตริย์ฟาโรห์ให้สะสมธัญญาหารใน
ปีที่สมบูรณ์เอาไว้สำาหรับเลี้ยงประชาชนในปีที่ข้าวยาก
หมากแพง วิธีนี้เรียกได้ว่าเป็นหลักประกันภัยพื้นฐาน
กล่าวคือ มีการเก็บออมตั้งแต่วันนี้เพื่อไว้ใช้ในอนาคต
ซึ่งหาความแน่นอนไม่ได้
มีการมอบหมายให้บุคคลอื่นทำาหน้าที่ในการขนส่ง
“สินค้าหรือวัตถุดิบไปจำาหน่ายแทน ซึ่งเรียกว่า พ่อค้า
”เร่ (Traveling Salesman) และเพื่อเป็นหลัก
ประกันว่าพ่อค้าเร่จะไม่โกงเจ้าของสินค้า พ่อค้าเร่จะ
ต้องมอบทรัพย์สิน ภรรยา บุตรไว้กับเจ้าของสินค้า
เพื่อเป็นหลักประกัน (Guarantee)
 เมื่อพ่อค้าเร่เดินทางกลับมาจากการขายสินค้าแล้ว
พ่อค้าเร่จะต้องแบ่งกำาไรให้กับเจ้าของสินค้าครึ่งหนึ่ง
หากพ่อค้าเร่หนีหรือถูกโจรปล้น บรรดาทรัพย์สิน
ภรรยา และบุตรของพ่อค้าเร่จะต้องตกไปเป็นทาส
ของเจ้าของสินค้า
 เงื่อนไขดังกล่าวทำาให้พ่อค้าเร่ไม่พอใจ จึงได้มีการ
ตกลงเงื่อนไขกันใหม่ว่า หากการสูญเสียสินค้าไม่ได้มี
สาเหตุจากความผิดพลาดของพ่อค้าเร่ และพ่อค้าเร่
 ยุคต่อมา ชาวกรีกได้พัฒนาแนวคิดของชาวบาบิโล
เนียนมาประยุกต์ใช้กับกิจการเดินเรือ เจ้าของเรือผู้
ต้องการจะส่งสินค้าไปขายยังเมืองอีกเมืองหนึ่งแต่
ขาดเงินในในการค้าขายจะนำาเรือของตนมาเป็นหลัก
ประกันเงินกู้ โดยมีเงื่อนไขว่าถ้าเรือสินค้ากลับจาก
การขายสินค้าแล้วจะต้องชดใช้เงินที่กู้ไปทั้งหมด
หากมีการบิดพลิ้วนายทุนเงินกู้จะยึดเรือเพื่อชดใช้เงิน
“ ”กู้ ข้อตกลงนี้เรียกว่า สัญญาบอตตอมรี่
(Bottomry)
 หากผู้กู้ไม่ได้เป็นเจ้าของเรือ แต่มีสินค้าส่งไปขายใน
ลำาเรือ หรือจะซื้อสินค้าและนำากลับมาโดยเรือ ผู้กู้จะ
เอาสินค้าเป็นหลักประกันสำาหรับเงินกู้ได้เช่นเดียวกัน
ข้อตกลงนี้เรียกว่า “สัญญาเรสปอนเดนเทีย”
(Respondentia)
 จากการเกิดขึ้นของข้อตกลงทั้งสอง ถือเป็นจุดเริ่มต้น
ของการประกันภัยทางทะเล ต่อมาได้มีการจัดตั้ง
สถาบันการประกันภัยทางทะเลขึ้นที่กรุงเอเธนส์
 ชาวจีนอาศัยแม่นำ้าแยงซีเกียงเป็นเส้นทางสำาคัญใน
การขนส่งสินค้าไปขายยังต่างเมือง ซึ่งมีความเสี่ยงต่อ
ภัยธรรมชาติ เช่น ลมพายุ ฝนตกหนัก และแม่นำ้าที่
ไหลเชี่ยว พ่อค้าชาวจีนเกรงว่าหากประสบภัยดัง
กล่าวจะเกิดความเสียหายต่อสินค้า จึงได้มีการกระ
จายสินค้าลงไปในเรือลำาอื่น ๆ เพราะหากเรือลำาใด
เกิดความเสียหาย สินค้าก็จะไม่เสียหายทั้งหมด ยังคง
มีสินค้าเหลืออยู่ในเรือลำาอื่น ทำาให้กิจการของพ่อค้า
ไม่ต้องหยุดชะงักหรือล้มละลาย
 หลักการเช่นนี้เป็นการกระจายความเสี่ยง
 ค.ศ.12 ชาวลอมบาร์ด ประเทศอิตาลี ได้อพยพมา
ตั้งถิ่นฐานในกรุงลอนดอน ได้นำาระบบเงินกู้ ได้แก่
สัญญาบอตตอมรี่ (Bottomry Bond) และสัญญาเรส
ปอนเดนเทีย (Respon-Dentia Bond) มาประยุกต์
ใช้โดย กลุ่มพ่อค้าชาวลอมบาร์ดได้คิดระบบกระจาย
ความเสี่ยงภัยที่อาจเกิดขึ้นจากการขนส่งสินค้าทาง
ทะเลโดยไม่ให้กู้เงินในลักษณะการจัดหาเรือและซื้อ
สินค้า แต่จะชำาระเงินให้กรณีเกิดภัยพิบัติทางทะเล
แล้วก่อให้เกิดความเสียหายกับตัวเรือและสินค้าที่
ขนส่งกับเจ้าของเรือและสินค้า แทนวิธีการเรียกเก็บ
ค่าธรรมเนียมหรือเบี้ยประกันภัย (Premium) จาก
เจ้าของเรือหรือสินค้า
 ประเทศอังกฤษ ค.ศ.17 มีการค้าขายทางทะเล
มากกว่าประเทศอื่นในโลก การประกันภัยทางเรือและ
สินค้าในกรุงลอนดอนจึงมีผู้มีความประสงค์เข้ารับ
เสี่ยงภัยจำานวนมาก บรรดาร้านกาแฟเป็นสถานที่
พบปะกันระหว่างพ่อค้า ร้านกาแฟของเอ็ดเวิร์ด ลอยด์
(Edward Lolyd) เป็นร้านกาแฟที่มีพ่อค้ามาพบปะ
เจรจาเป็นจำานวนมาก และยังได้ให้ความช่วยเหลือทั้ง
พ่อค้าและผู้รับประกันภัยเป็นจำานวนมาก นอกจากนี้
ลอยด์ยังได้หาข่าวเกี่ยวกับการเดินเรือ สถิติของเรือ
และความสามารถของเรือแต่ละลำา รวมทั้งข้อมูลของ
กัปตันและลูกเรือมาเสนอพ่อค้าและผู้รับประกันภัย ต่อ
มาลอยด์ได้ออกหนังสือพิมพ์รายวันซึ่งเก่าแก่ที่สุดใน
ลอนดอน และตั้งคณะกรรมการขึ้นมาบริหารธุรกิจ
ประกันภัย
 ในประเทศไทยการประกันภัยเริ่มเข้ามามีบทบาท
ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งได้เริ่มมีการค้าขายกับ
ชาวต่างชาติบ้างแล้ว ประกันภัยประเภทแรกที่เข้ามา
คือ การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง แต่เป็นกรณีที่
ชาวต่างชาติรับประกันภัยเอง
 พ.ศ.2368 สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ 3) ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดจากประเทศ
อังกฤษ และทรงเกรงว่าจะเกิดความเสียหายระหว่าง
การขนส่ง จึงทรงมีพระราชดำารัสรับสั่งให้เอาประกัน
ภัยเครื่องพิมพ์ดีดระหว่างการขนส่งในนามของ
พระองค์เอง
 สมัยรัชกาลที่ 4 มีตัวแทนห้างร้านเข้ามาตั้งห้าง
ค้าขายในประเทศไทย รวมถึงตัวแทนของบริษัท
ประกันภัยต่างประเทศด้วย
 สมัยรัชกาลที่ 5 กิจการประกันภัยยังคงดำาเนินอยู่
นอกจากการรับประกันภัยทางทะเลและอัคคีภัยแล้ว
การประกันชีวิตและการประกันภัยรถยนต์ได้เข้ามามี
บทบาทเพิ่มขึ้น
 กฎหมายฉบับแรกที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยที่มี
หลักฐานปรากฎอย่างชัดเจน คือ พระราชบัญญัติ
ลักษณะเข้าหุ้นส่วนและบริษัท ร.ศ. 130 (พ.ศ.2454)
 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาล
ที่ 7) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราช
บัญญัติควบคุมกิจการค้าขายอันกระทบถึงความ
ปลอดภัยหรือผาสุกแห่งสาธารณชน พ.ศ. 2471 และ
กระทรวงเศรษฐการในสมัยนั้น ได้กำาหนดเงื่อนไข
การประกอบธุรกิจประกันชีวิตและธุรกิจประกัน
วินาศภัยขึ้น
 พ.ศ. 2510 รัฐบาลได้ประกาศใช้พ.ร.บ.ประกัน
วินาศภัย พ.ศ. 2510 ซึ่งห้ามรับประกันภัยผ่านตัวแทน
จึงได้มีบริษัทประกันภัยต่างชาติเข้ามาขอตั้งสาขาใน
ประเทศไทย โดยรัฐบาลจะออกใบอนุญาตให้ ต่อมา
ถูกยกเลิกในปี พ.ศ. 2535
 ประกันภัยในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ
คือ การประกันชีวิต (Life Insurance) และการ
ประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance)
 การประกันภัยบุคคล อาจได้แก่ การประกันชีวิต การ
ประกันอุบัติเหตุ การประกันสุขภาพ
 การประกันทรัพย์สิน อาจได้แก่ การประกันอัคคีภัย
การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
 การประกันภัยรถยนต์ การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
 การประกันภัยความรับผิด หมายถึง ความรับผิดของ
บุคคลหนึ่งต่อบุคคลอื่นที่ได้รับความเสียหายจากผล
การกระทำาของตน อาจได้แก่ ความรับผิดต่อบุคคล
ความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพเฉพาะ ความรับ
ผิดของธุรกิจ
 ผู้รับประกันภัย (Insurer) หมายถึง คู่สัญญาฝ่ายซึ่ง
ตกลงจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือชดใช้เงิน
จำานวนหนึ่งให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภัยที่เกิด
ขึ้น ซึ่งได้แก่ บริษัทประกันชีวิต ที่ได้รับใบอนุญาต
ประกอบธุรกิจประกันชีวิต รวมถึงสาขาของบริษัท
ประกันชีวิตต่างประเทศ ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบ
ธุรกิจประกันชีวิตในราชอาณาจักร
 ผู้เอาประกันภัย (Insured) หมายถึง คู่สัญญาฝ่ายซึ่ง
ตกลงจะส่งเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้รับประกันภัยจน
กระทั่งครบกำาหนดตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญาการ
ประกัน ผู้เอาประกันภัยเป็นบุคคลธรรมดาหรือ
นิติบุคคลก็ได้
 ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary) หมาย
ถึง บุคคลผู้ถูกระบุไว้ในกรมธรรม์การ
ประกันภัย ให้เป็นผู้ได้รับค่าสินไหม
ทดแทน หรือรับจำานวนเงินชดใช้ให้ ซึ่ง
อาจจะเป็นบุคคลคนหนึ่งคนเดียวกับ
ผู้เอาประกันภัยหรือไม่ก็ได้
 กรมการประกันภัย เป็นหน่วยงานของ
รัฐบาลทำาหน้าที่ดูแล กำากับ ควบคุม ส่ง
เสริมบริษัทประกันภัยซึ่งเป็นธุรกิจที่
เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย
ของประชาชนจำานวนมาก เป็นกิจการ
ที่จะดำารงอยู่ได้และเจริญก้าวหน้าเมื่อตั้ง
อยู่บนมาตรฐานของความมั่นคงและความ
เชื่อถือของประชาชน การประกันภัยจึง
เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่รัฐบาลต้อง
ควบคุม ดูแล และให้การส่งเสริม
 สถาบันประกันภัยไทย
สถาบันประกันภัยไทยเป็นอีกองค์กร
หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติงานของ
ธุรกิจประกันภัย ประสิทธิภาพและความ
สำาเร็จของธุรกิจประกันภัยมาจากการ
พัฒนาบุคลากรของตนให้มีความรู้ความ
สามารถและทันสมัย สถาบันประกันภัยมี
ส่วนสำาคัญยิ่งในการพัฒนาและยกระดับ
ความรู้ ความสามารถแก่บุคลากรเหล่า
 สมาคมประกันชีวิตไทย
สมาคมประกันชีวิตไทยเป็นอีกองค์กร
หนึ่งที่จัดตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ของรัฐและ
ธุรกิจประกันภัย มุ่งส่งเสริมกิจการ
ประกันชีวิตให้เกิดความมั่นคง รวมทั้ง
คอยดูแลให้ดำาเนินไปตามกฎหมายอย่าง
เคร่งครัด
 สมาคมประกันวินาศภัย กำากับดูแล
และส่งเสริมผู้ประกอบธุรกิจประกันภัยที่
ไม่อยู่ในมาตรฐานระดับสากล ด้านการ
กำาหนดนโยบายขาดการประสานงานกับ
ภาคการเงินอื่นทำาให้ไม่เป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน และด้านการคุ้มครองผู้บริโภคที่
เป็นไปอย่างล่าช้าขาดประสิทธิภาพ
 การสร้างความเชื่อมั่นต่อธุรกิจประกันชีวิต
 สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันชีวิต
 สร้างศรัทธาให้เกิดแก่อาชีพตัวแทน ตัวแทนประกัน
ชีวิตทุกคนจะต้องพัฒนาตนเองทั้ง
 จรรยาบรรณของตัวแทนประกันชีวิต
 จรรยาบรรณต่อผู้เอาประกันชีวิต
 ซื่อสัตย์ต่อผู้เอาประกันชีวิต
 ให้บริการและรักษาประโยชน์ต่อผู้เอาประกันชีวิต
 รักษาความลับของผู้เอาประกัน โดยเปิดเผยเฉพาะ
ข้อมูลซึ่งเป็นข้อกำาหนดที่ผู้
เอาประกันจะต้องแถลงข้อความจริงเพื่อการพิจารณารับ
ประกันของบริษัทเท่านั้น
 ไม่เสนอขายนอกเงื่อนไขกรมธรรม์
 ไม่สนับสนุนให้สละกรมธรรม์เดิมเพื่อทำาใหม่
 ไม่ลดหรือเสนอที่จะลดค่าบำาเหน็จจากการประกันชีวิตให้
กับผู้เอาประกัน
เพราะผิดจรรยาบรรณและผิดต่อกฏหมาย
จรรยาบรรณต่อบริษัทประกันชีวิต
 ซื่อสัตย์ต่อบริษัท
 รักษาความลับของบริษัทต่อบุคคลภายนอก
เปิดเผยข้อความจริงของผู้เอาประกันชีวิตต่อบริษัทเพื่อ
ประกอบการพิจารณารับประกัน
 ไม่ให้ร้ายทับถมบริษัทอื่น เพื่อรักษาภาพพจน์ที่ดีของ
ธุรกิจ
 จรรยาบรรณต่อเพื่อนร่วมอาชีพ
 ซื่อสัตย์ต่อเพื่อนร่วมอาชีพ
 ไม่ให้ร้ายทับถมซึ่งกันและกัน
 เป็นผู้ที่หมั่นศึกษาเพิ่มเติมอย่างสมำ่าเสมอ
 ธำารงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและคุณธรรมแห่งอาชีวะปฏิญาณ
ประพฤติตนอยู่ใน
ศีลธรรมประเพณีอันดีงาม
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การประกันชีวิตคืออะไร
การประกันชีวิตคืออะไรการประกันชีวิตคืออะไร
การประกันชีวิตคืออะไรKruPor Sirirat Namthai
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยคิง เกอร์
 
การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์KruPor Sirirat Namthai
 
การประกันภัย
การประกันภัยการประกันภัย
การประกันภัยBank Kitsana
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยonchuda
 

Was ist angesagt? (7)

การประกันชีวิตคืออะไร
การประกันชีวิตคืออะไรการประกันชีวิตคืออะไร
การประกันชีวิตคืออะไร
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
 
การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์
 
Nissan deller(update06 03-56)
Nissan deller(update06 03-56)Nissan deller(update06 03-56)
Nissan deller(update06 03-56)
 
การประกันภัย
การประกันภัยการประกันภัย
การประกันภัย
 
Mazda(update26 03-56)
Mazda(update26 03-56)Mazda(update26 03-56)
Mazda(update26 03-56)
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัย
 

Mehr von Rungnapa Rungnapa

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 

Mehr von Rungnapa Rungnapa (20)

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch10
 
Ch9
Ch9Ch9
Ch9
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch7
Ch7Ch7
Ch7
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 

บทที่ 1 การจัดการประกันภัย

  • 2.  การประกันภัย หมายถึง การสัญญาว่าถ้าภัยเกิด ขึ้นและมีความเสียหายเกิดขึ้นด้วยนั้น ผู้เอา ประกันภัยไม่ต้องเผชิญหรือรับภาระความเสียหาย แต่เพียงผู้เดียว ผู้รับประกันภัยจะชดใช้ค่า เสียหายให้ตามสัญญาประกันภัยที่ได้ทำากันไว้  ตัวอย่าง นายกบ ทำาประกันภัยรถยนต์ไว้ ซึ่งไม่ ได้หมายความว่ารถยนต์ของนายกบ จะไม่เกิด อุบัติเหตุหรือเกิดความเสียหาย การทำาประกันภัย รถยนต์ของนายกบ เป็นหลักประกันว่าหาก รถยนต์ของนายกบ ประสบอุบัติเหตุเกิดความเสีย หายตามเงื่อนไขที่ตกลงตามสัญญาประกันภัยเมื่อ
  • 3.  ในพระคัมภีร์ไบเบิลเกี่ยวกับโจเซฟและความอดอยาก ในประเทศอียิปต์ ซึ่งถือว่าเป็นที่มีของการประกันภัย อันดับต้น ๆ เท่าที่ถูกบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ เล่ากัน ว่าคืนวันหนึ่งฟาโรห์ทรงพระสุบินว่า มีวัวอ้วนเจ็ดตัว กำาลังถูกวัวผอมเจ็ดตัวกัดกิน โจเซฟทำานายฝันว่า ประเทศอียิปต์จะมีพืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์เป็น เวลาเจ็ดปี และต่อจากนั้นจะเกิดความแห้งแล้ว ประชาชนจะอดอยากปากแห้งอีกเป็นเวลาเจ็ดปี ดังนั้น จึงได้ทูลเสนอต่อกษัตริย์ฟาโรห์ให้สะสมธัญญาหารใน ปีที่สมบูรณ์เอาไว้สำาหรับเลี้ยงประชาชนในปีที่ข้าวยาก หมากแพง วิธีนี้เรียกได้ว่าเป็นหลักประกันภัยพื้นฐาน กล่าวคือ มีการเก็บออมตั้งแต่วันนี้เพื่อไว้ใช้ในอนาคต ซึ่งหาความแน่นอนไม่ได้
  • 4. มีการมอบหมายให้บุคคลอื่นทำาหน้าที่ในการขนส่ง “สินค้าหรือวัตถุดิบไปจำาหน่ายแทน ซึ่งเรียกว่า พ่อค้า ”เร่ (Traveling Salesman) และเพื่อเป็นหลัก ประกันว่าพ่อค้าเร่จะไม่โกงเจ้าของสินค้า พ่อค้าเร่จะ ต้องมอบทรัพย์สิน ภรรยา บุตรไว้กับเจ้าของสินค้า เพื่อเป็นหลักประกัน (Guarantee)  เมื่อพ่อค้าเร่เดินทางกลับมาจากการขายสินค้าแล้ว พ่อค้าเร่จะต้องแบ่งกำาไรให้กับเจ้าของสินค้าครึ่งหนึ่ง หากพ่อค้าเร่หนีหรือถูกโจรปล้น บรรดาทรัพย์สิน ภรรยา และบุตรของพ่อค้าเร่จะต้องตกไปเป็นทาส ของเจ้าของสินค้า  เงื่อนไขดังกล่าวทำาให้พ่อค้าเร่ไม่พอใจ จึงได้มีการ ตกลงเงื่อนไขกันใหม่ว่า หากการสูญเสียสินค้าไม่ได้มี สาเหตุจากความผิดพลาดของพ่อค้าเร่ และพ่อค้าเร่
  • 5.  ยุคต่อมา ชาวกรีกได้พัฒนาแนวคิดของชาวบาบิโล เนียนมาประยุกต์ใช้กับกิจการเดินเรือ เจ้าของเรือผู้ ต้องการจะส่งสินค้าไปขายยังเมืองอีกเมืองหนึ่งแต่ ขาดเงินในในการค้าขายจะนำาเรือของตนมาเป็นหลัก ประกันเงินกู้ โดยมีเงื่อนไขว่าถ้าเรือสินค้ากลับจาก การขายสินค้าแล้วจะต้องชดใช้เงินที่กู้ไปทั้งหมด หากมีการบิดพลิ้วนายทุนเงินกู้จะยึดเรือเพื่อชดใช้เงิน “ ”กู้ ข้อตกลงนี้เรียกว่า สัญญาบอตตอมรี่ (Bottomry)
  • 6.  หากผู้กู้ไม่ได้เป็นเจ้าของเรือ แต่มีสินค้าส่งไปขายใน ลำาเรือ หรือจะซื้อสินค้าและนำากลับมาโดยเรือ ผู้กู้จะ เอาสินค้าเป็นหลักประกันสำาหรับเงินกู้ได้เช่นเดียวกัน ข้อตกลงนี้เรียกว่า “สัญญาเรสปอนเดนเทีย” (Respondentia)  จากการเกิดขึ้นของข้อตกลงทั้งสอง ถือเป็นจุดเริ่มต้น ของการประกันภัยทางทะเล ต่อมาได้มีการจัดตั้ง สถาบันการประกันภัยทางทะเลขึ้นที่กรุงเอเธนส์
  • 7.  ชาวจีนอาศัยแม่นำ้าแยงซีเกียงเป็นเส้นทางสำาคัญใน การขนส่งสินค้าไปขายยังต่างเมือง ซึ่งมีความเสี่ยงต่อ ภัยธรรมชาติ เช่น ลมพายุ ฝนตกหนัก และแม่นำ้าที่ ไหลเชี่ยว พ่อค้าชาวจีนเกรงว่าหากประสบภัยดัง กล่าวจะเกิดความเสียหายต่อสินค้า จึงได้มีการกระ จายสินค้าลงไปในเรือลำาอื่น ๆ เพราะหากเรือลำาใด เกิดความเสียหาย สินค้าก็จะไม่เสียหายทั้งหมด ยังคง มีสินค้าเหลืออยู่ในเรือลำาอื่น ทำาให้กิจการของพ่อค้า ไม่ต้องหยุดชะงักหรือล้มละลาย  หลักการเช่นนี้เป็นการกระจายความเสี่ยง
  • 8.  ค.ศ.12 ชาวลอมบาร์ด ประเทศอิตาลี ได้อพยพมา ตั้งถิ่นฐานในกรุงลอนดอน ได้นำาระบบเงินกู้ ได้แก่ สัญญาบอตตอมรี่ (Bottomry Bond) และสัญญาเรส ปอนเดนเทีย (Respon-Dentia Bond) มาประยุกต์ ใช้โดย กลุ่มพ่อค้าชาวลอมบาร์ดได้คิดระบบกระจาย ความเสี่ยงภัยที่อาจเกิดขึ้นจากการขนส่งสินค้าทาง ทะเลโดยไม่ให้กู้เงินในลักษณะการจัดหาเรือและซื้อ สินค้า แต่จะชำาระเงินให้กรณีเกิดภัยพิบัติทางทะเล แล้วก่อให้เกิดความเสียหายกับตัวเรือและสินค้าที่ ขนส่งกับเจ้าของเรือและสินค้า แทนวิธีการเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมหรือเบี้ยประกันภัย (Premium) จาก เจ้าของเรือหรือสินค้า
  • 9.  ประเทศอังกฤษ ค.ศ.17 มีการค้าขายทางทะเล มากกว่าประเทศอื่นในโลก การประกันภัยทางเรือและ สินค้าในกรุงลอนดอนจึงมีผู้มีความประสงค์เข้ารับ เสี่ยงภัยจำานวนมาก บรรดาร้านกาแฟเป็นสถานที่ พบปะกันระหว่างพ่อค้า ร้านกาแฟของเอ็ดเวิร์ด ลอยด์ (Edward Lolyd) เป็นร้านกาแฟที่มีพ่อค้ามาพบปะ เจรจาเป็นจำานวนมาก และยังได้ให้ความช่วยเหลือทั้ง พ่อค้าและผู้รับประกันภัยเป็นจำานวนมาก นอกจากนี้ ลอยด์ยังได้หาข่าวเกี่ยวกับการเดินเรือ สถิติของเรือ และความสามารถของเรือแต่ละลำา รวมทั้งข้อมูลของ กัปตันและลูกเรือมาเสนอพ่อค้าและผู้รับประกันภัย ต่อ มาลอยด์ได้ออกหนังสือพิมพ์รายวันซึ่งเก่าแก่ที่สุดใน ลอนดอน และตั้งคณะกรรมการขึ้นมาบริหารธุรกิจ ประกันภัย
  • 10.  ในประเทศไทยการประกันภัยเริ่มเข้ามามีบทบาท ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งได้เริ่มมีการค้าขายกับ ชาวต่างชาติบ้างแล้ว ประกันภัยประเภทแรกที่เข้ามา คือ การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง แต่เป็นกรณีที่ ชาวต่างชาติรับประกันภัยเอง  พ.ศ.2368 สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดจากประเทศ อังกฤษ และทรงเกรงว่าจะเกิดความเสียหายระหว่าง การขนส่ง จึงทรงมีพระราชดำารัสรับสั่งให้เอาประกัน ภัยเครื่องพิมพ์ดีดระหว่างการขนส่งในนามของ พระองค์เอง
  • 11.  สมัยรัชกาลที่ 4 มีตัวแทนห้างร้านเข้ามาตั้งห้าง ค้าขายในประเทศไทย รวมถึงตัวแทนของบริษัท ประกันภัยต่างประเทศด้วย  สมัยรัชกาลที่ 5 กิจการประกันภัยยังคงดำาเนินอยู่ นอกจากการรับประกันภัยทางทะเลและอัคคีภัยแล้ว การประกันชีวิตและการประกันภัยรถยนต์ได้เข้ามามี บทบาทเพิ่มขึ้น  กฎหมายฉบับแรกที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยที่มี หลักฐานปรากฎอย่างชัดเจน คือ พระราชบัญญัติ ลักษณะเข้าหุ้นส่วนและบริษัท ร.ศ. 130 (พ.ศ.2454)
  • 12.  ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาล ที่ 7) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราช บัญญัติควบคุมกิจการค้าขายอันกระทบถึงความ ปลอดภัยหรือผาสุกแห่งสาธารณชน พ.ศ. 2471 และ กระทรวงเศรษฐการในสมัยนั้น ได้กำาหนดเงื่อนไข การประกอบธุรกิจประกันชีวิตและธุรกิจประกัน วินาศภัยขึ้น  พ.ศ. 2510 รัฐบาลได้ประกาศใช้พ.ร.บ.ประกัน วินาศภัย พ.ศ. 2510 ซึ่งห้ามรับประกันภัยผ่านตัวแทน จึงได้มีบริษัทประกันภัยต่างชาติเข้ามาขอตั้งสาขาใน ประเทศไทย โดยรัฐบาลจะออกใบอนุญาตให้ ต่อมา ถูกยกเลิกในปี พ.ศ. 2535
  • 13.  ประกันภัยในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ การประกันชีวิต (Life Insurance) และการ ประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance)  การประกันภัยบุคคล อาจได้แก่ การประกันชีวิต การ ประกันอุบัติเหตุ การประกันสุขภาพ  การประกันทรัพย์สิน อาจได้แก่ การประกันอัคคีภัย การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง  การประกันภัยรถยนต์ การประกันภัยเบ็ดเตล็ด  การประกันภัยความรับผิด หมายถึง ความรับผิดของ บุคคลหนึ่งต่อบุคคลอื่นที่ได้รับความเสียหายจากผล การกระทำาของตน อาจได้แก่ ความรับผิดต่อบุคคล ความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพเฉพาะ ความรับ ผิดของธุรกิจ
  • 14.  ผู้รับประกันภัย (Insurer) หมายถึง คู่สัญญาฝ่ายซึ่ง ตกลงจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือชดใช้เงิน จำานวนหนึ่งให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภัยที่เกิด ขึ้น ซึ่งได้แก่ บริษัทประกันชีวิต ที่ได้รับใบอนุญาต ประกอบธุรกิจประกันชีวิต รวมถึงสาขาของบริษัท ประกันชีวิตต่างประเทศ ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบ ธุรกิจประกันชีวิตในราชอาณาจักร  ผู้เอาประกันภัย (Insured) หมายถึง คู่สัญญาฝ่ายซึ่ง ตกลงจะส่งเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้รับประกันภัยจน กระทั่งครบกำาหนดตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญาการ ประกัน ผู้เอาประกันภัยเป็นบุคคลธรรมดาหรือ นิติบุคคลก็ได้
  • 15.  ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary) หมาย ถึง บุคคลผู้ถูกระบุไว้ในกรมธรรม์การ ประกันภัย ให้เป็นผู้ได้รับค่าสินไหม ทดแทน หรือรับจำานวนเงินชดใช้ให้ ซึ่ง อาจจะเป็นบุคคลคนหนึ่งคนเดียวกับ ผู้เอาประกันภัยหรือไม่ก็ได้
  • 16.  กรมการประกันภัย เป็นหน่วยงานของ รัฐบาลทำาหน้าที่ดูแล กำากับ ควบคุม ส่ง เสริมบริษัทประกันภัยซึ่งเป็นธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย ของประชาชนจำานวนมาก เป็นกิจการ ที่จะดำารงอยู่ได้และเจริญก้าวหน้าเมื่อตั้ง อยู่บนมาตรฐานของความมั่นคงและความ เชื่อถือของประชาชน การประกันภัยจึง เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่รัฐบาลต้อง ควบคุม ดูแล และให้การส่งเสริม
  • 17.  สถาบันประกันภัยไทย สถาบันประกันภัยไทยเป็นอีกองค์กร หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติงานของ ธุรกิจประกันภัย ประสิทธิภาพและความ สำาเร็จของธุรกิจประกันภัยมาจากการ พัฒนาบุคลากรของตนให้มีความรู้ความ สามารถและทันสมัย สถาบันประกันภัยมี ส่วนสำาคัญยิ่งในการพัฒนาและยกระดับ ความรู้ ความสามารถแก่บุคลากรเหล่า
  • 19.  สมาคมประกันวินาศภัย กำากับดูแล และส่งเสริมผู้ประกอบธุรกิจประกันภัยที่ ไม่อยู่ในมาตรฐานระดับสากล ด้านการ กำาหนดนโยบายขาดการประสานงานกับ ภาคการเงินอื่นทำาให้ไม่เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน และด้านการคุ้มครองผู้บริโภคที่ เป็นไปอย่างล่าช้าขาดประสิทธิภาพ
  • 20.  การสร้างความเชื่อมั่นต่อธุรกิจประกันชีวิต  สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันชีวิต  สร้างศรัทธาให้เกิดแก่อาชีพตัวแทน ตัวแทนประกัน ชีวิตทุกคนจะต้องพัฒนาตนเองทั้ง  จรรยาบรรณของตัวแทนประกันชีวิต  จรรยาบรรณต่อผู้เอาประกันชีวิต  ซื่อสัตย์ต่อผู้เอาประกันชีวิต  ให้บริการและรักษาประโยชน์ต่อผู้เอาประกันชีวิต  รักษาความลับของผู้เอาประกัน โดยเปิดเผยเฉพาะ ข้อมูลซึ่งเป็นข้อกำาหนดที่ผู้ เอาประกันจะต้องแถลงข้อความจริงเพื่อการพิจารณารับ ประกันของบริษัทเท่านั้น
  • 21.  ไม่เสนอขายนอกเงื่อนไขกรมธรรม์  ไม่สนับสนุนให้สละกรมธรรม์เดิมเพื่อทำาใหม่  ไม่ลดหรือเสนอที่จะลดค่าบำาเหน็จจากการประกันชีวิตให้ กับผู้เอาประกัน เพราะผิดจรรยาบรรณและผิดต่อกฏหมาย จรรยาบรรณต่อบริษัทประกันชีวิต  ซื่อสัตย์ต่อบริษัท  รักษาความลับของบริษัทต่อบุคคลภายนอก เปิดเผยข้อความจริงของผู้เอาประกันชีวิตต่อบริษัทเพื่อ ประกอบการพิจารณารับประกัน  ไม่ให้ร้ายทับถมบริษัทอื่น เพื่อรักษาภาพพจน์ที่ดีของ ธุรกิจ
  • 22.  จรรยาบรรณต่อเพื่อนร่วมอาชีพ  ซื่อสัตย์ต่อเพื่อนร่วมอาชีพ  ไม่ให้ร้ายทับถมซึ่งกันและกัน  เป็นผู้ที่หมั่นศึกษาเพิ่มเติมอย่างสมำ่าเสมอ  ธำารงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและคุณธรรมแห่งอาชีวะปฏิญาณ ประพฤติตนอยู่ใน ศีลธรรมประเพณีอันดีงาม